The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารเดือนตุลาคม ปีที่ 5 ฉบับที่ 38 พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารเดือนตุลาคม 2564

วารสารเดือนตุลาคม ปีที่ 5 ฉบับที่ 38 พ.ศ.2564

http://irrigation.rid.go.th/rid14/
https://www.facebook.com/rio14news/
http://irrigation.rid.go.th/rid14/journal2017/index.html

ในเดือนตุลาคมเป็นช่วงเปล่ียนจากฤดูฝนเข้าสู่ฤดูหนาว ในช่วงต้นและกลางเดือนบริเวณ
ประเทศไทยตอนบนลกั ษณะอากาศจะแปรปรวน โดยยังคงมีฝนฟ้าคะนองในหลายพื้นท่ี ประกอบ
กับมีอากาศหนาวเย็นในตอนเช้าเป็นระยะๆ โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จากน้ัน ฝนจะลดลงและมีอากาศหนาวเย็นมากข้ึน ส่วนภาคใต้ยังคงมีฝนตกชุก หนาแน่น
เกือบทั่วไป ประกอบกับมีฝนหนักหลายพ้ืนท่ีและหนักมากในบางแห่ง สาหรับคลื่นลมท้ังทะเลอัน
ดามันและอ่าวไทยยังคงมีกาลังแรง เน่ืองจาก บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนเริ่มแผ่
ลงมาปกคลุมภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นระยะๆ ประกอบกับมรสุมตะวันตก
เฉียงใต้ที่พัดปกคลุมบริเวณประเทศไทย จะเร่ิมเปล่ียนเป็นมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุม
แทน นอกจากน้ี ในบางช่วงจะมีร่องมรสุมพาดผ่านบริเวณภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวันออก
และภาคใต้ตอนบน สานักงานชลประทานท่ี 14 ได้ดาเนินการตามแผนการปลูกพืชท่ีจัดเตรียมไว้
โดยมอบหมายให้โครงการลงพื้นที่ตรวจเย่ียมเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งเตรียมรับมือ
สถานการณ์อุทกภัย ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยให้ท่ัวถึง
พัฒนาแหล่งน้าเดิมที่มีอยู่ โดยการเพ่ิมพ้ืนท่ีกักเก็บน้า ขุดลอกคูคลองและสิ่งกีดขวางทางน้า
เพือ่ ช่วยเหลือประชาชนให้ทวั่ ถึงมากท่สี ดุ

วารสารข่าวประจาเดือนตุลาคม 2564 นี้ นาเสนอภาพเก่ียวโครงการในพระราชดาริ
มาให้รับชมก็คือ โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเน่ืองมาจาก
พ ร ะ ร า ช ด า ริ พ ร้ อ ม กั น น้ี ไ ด้ น า เ ส น อ ข่ า ว ก า ร ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า
ดา้ นนา้ ตลอดช่วงเดือนตลุ าคมในการช่วยเหลือเกษตรกรและประชาชน ส่งท้ายด้วยสาระน่ารู้เร่ือง
น้าด่ืมมีวันหมดอายุจริงหรือไม่ จากผลวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์จากอังกฤษและรายงานวิจัย
จาก Harvard School of Public Health (HSPH)

โครงการในพระราชดาริแนะนา “โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาส่ิงแวดล้อม 3
แหลมผักเบ้ีย อันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ” 8
ขา่ วประชาสมั พันธ์ สานักงานชลประทานท่ี 14 15
ขา่ วกิจกรรม สานักงานชลประทานที่ 14 17
ขา่ วรอบรัว้ สานกั งานชลประทานท่ี 14 25
สาระน่ารู้ “น้าดม่ื มีวันหมดอายุจริงหรอื ไม”่

ขอขอบคณุ ภาพจาก มลู นธิ ิชัยพฒั นา

พระราชดาริ
ปัญหาสาคัญ คือ เร่ืองสิ่งแวดล้อม เรื่องน้าเสียกับขยะ ได้ศึกษามาแล้วเหมือนกัน ทาไม่ยาก

นัก ในทางเทคโนโลยีทาได้ ในเมืองไทยเองก็ทาได้ หาเทคโนโลยีจากต่างประเทศมาแล้วในเมืองไทย
เองก็ทาได้หรอื จะจ้าง บริษัทตา่ งประเทศมากท็ าได้ นแ่ี หละปัญหาเดยี วกัน เดยี๋ วน้กี าลังคิดจะทาแตต่ ดิ
อยู่ที่ทจี่ ะทา
วตั ถปุ ระสงค์โครงการ

1.เพ่ือศึกษาวิจัยเทคโนโลยีการกาจัดขยะและการบาบัดน้าเสียชุมชนและนาผลไปพัฒนา
เทคโนโลยีการกาจัดขยะและบาบัดน้าเสียพร้อมทั้งสร้างรูปแบบการใช้ประโยชน์จากปุ๋ยหมัก
จากการกาจดั ขยะและนา้ เสียท่บี าบัดแล้วรวมทง้ั ผลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้ จากโครงการฯ

2.เพื่อศึกษาวิจัยทางด้านสังคม อันได้แก่ รูปแบบของสังคมการประชาสัมพันธ์และ
ส่ิงแวดล้อมศึกษาของโครงการฯ และนาผลไปประยุกต์ใช้สร้างแบบจาลองทางสังคม
การประชาสัมพนั ธ์ และส่งิ แวดล้อมศกึ ษา ในแยกขยะกอ่ นทิ้งและการบาบัดน้าเสียขั้นต้น ก่อนระบาย
ลงสูท่ ่อระบายนา้

3.เพื่อสร้างคู่มือและส่ือเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ในการเผยแพร่เทคโนโลยีท่ีได้จาก
การศึกษาวิจัยวิทยาศาสตร์การกาจัดขยะและการบาบัดน้าเสียชุมชน และการจัดอบรม ประชุม
สัมมนา ใหค้ วามรแู้ ก่ประชาชนและชุมชนอยา่ งตอ่ เน่อื ง

ขอขอบคณุ ภาพจาก มูลนธิ ชิ ัยพฒั นา

กจิ กรรมภายในโครงการ / แผนงานบรกิ ารเพอ่ื สังคม
1. โครงการถา่ ยทอดความรสู้ ู่สาธารณชน
วัตถุประสงค์
- เพ่ือการถ่ายทอดความรู้สู่สาธารณชนผ่านกิจกรรมการศึกษาดูงานและการฝึกอบรมให้ความรู้ด้าน
ก า ร จั ด ก า ร สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ต า ม แ น ว พ ร ะ ร า ช ด า ริ ผ่ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ศึ ก ษ า
และกจิ กรรมทโี่ ครงการฯ ไดด้ าเนินการขน้ึ
สาระสาคัญ และกจิ กรรม
- การฝึกอบรม
- การให้บริการศกึ ษาดงู าน
2. โครงการประชาสัมพนั ธโ์ ครงการ
วัตถปุ ระสงค์
- เพ่อื เผยแพรค่ วามรสู้ ู่สาธารณชนผ่านเทคโนโลยกี ารถา่ ยทอดความรสู้ ูก่ ลุม่ เปา้ หมายตา่ งๆ
สาระสาคัญ และกจิ กรรม
- การพัฒนาและประเมนิ สอ่ื
- การจดั นทิ รรศการ / road show
- การจดั งาน event / ตลาดนดั ชมุ ชน

ขอขอบคณุ ภาพจาก มูลนิธชิ ัยพฒั นา

3. โครงการเครือขา่ ยสิง่ แวดลอ้ ม
วัตถุประสงค์
- เพอ่ื สรา้ งเครอื ขา่ ยส่ิงแวดล้อมในการใหบ้ ริการวิชาการและถ่ายทอดความรู้ให้แก่ชุมชนตามภูมิสังคม
ตา่ งๆ ทัว่ ประเทศ
สาระสาคัญ และกจิ กรรม
- เครอื ข่ายชุมชนตน้ แบบแหลมผกั เบี้ย
- ศนู ยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยฯี ตามแนวพระราชดาริ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
- ศนู ย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยีฯ ตามแนวพระราชดาริ ภาคตะวันออก
- ศนู ย์ถ่ายทอดเทคโนโลยฯี ตามแนวพระราชดาริ ภาคตะวนั ตก
- ศูนย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยฯี ตามแนวพระราชดาริ ภาคใต้
4. โครงการการใหบ้ รกิ ารวิชาการ
วัตถุประสงค์
- ให้บริการวิชาการคาปรึกษาด้านส่ิงแวดล้อม การออกแบบระบบบาบัดน้าเสียและกาจัด ขยะ
เพื่อแกไ้ ขปญั หาส่งิ แวดล้อมใหแ้ กส่ าธารณชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ
สาระสาคญั และกจิ กรรม
- การใหค้ าปรึกษาดา้ นส่ิงแวดล้อม
- การขยายผลโครงการ

ขอขอบคุณภาพจาก มูลนิธิชัยพฒั นา

5. โครงการความรับผดิ ชอบต่อสังคม
วตั ถปุ ระสงค์
- เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนโดยรอบโครงการฯ ผ่านกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์ และร้านค้า
ชมุ ชน
สาระสาคญั และกจิ กรรม
- ร้านจาหนา่ ยของท่ีระลกึ โครงการ
- ร้านคา้ ชมุ ชน
- มวลชนสมั พันธ์
6. โครงการวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีธรรมชาติ
วตั ถปุ ระสงค์
- เพื่อสร้างองค์ความรู้วิทยาศาสตร์ด้านขยะและน้าเสีย ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติในการ
แก้ปัญหาสิง่ แวดล้อมชุมชน
สาระสาคญั และกิจกรรม
- การวจิ ัยเทคโนโลยีการกาจดั ขยะ
- การวิจัยดา้ นบ่อผงึ่ บาบัดน้าเสยี
- การวจิ ัยดา้ นพชื บาบัด
- การวิจัยดา้ นการใชป้ ระโยชนจ์ ากตะกอน ป๋ยุ จากขยะ และน้าเสีย
- การวจิ ัยด้านผลกระทบสิง่ แวดล้อมและภัยพิบตั ิ
- การวจิ ัยด้านสังคมและส่งิ แวดล้อมศกึ ษา
- การจดั หา/ ซอ่ มบารงุ เคร่อื งมอื วทิ ยาศาสตร์

ขอขอบคณุ ภาพจาก มูลนิธชิ ยั พัฒนา

7. โครงการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั สู่สาธารณชน
วตั ถุประสงค์
- เผยแพร่ความรู้ท่ีได้จากงานวิจัยเพ่ือใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม ท้องถ่ิน
และพฒั นาตอ่ ยอดเชิงพาณชิ ย์ และใหเ้ ป็นท่ยี อมรบั ทง้ั ในระดับชาติและนานาชาติ
สาระสาคญั และกิจกรรม
- การนาเสนอผลงานวิจัยในท่ีประชุมระดับชาติและนานาชาติ
- การตีพมิ พผ์ ลงานวจิ ัยในวารสารระดับชาติและนานาชาติ
- การเผยแพร่ผลงานวจิ ยั ผา่ นสอ่ื เผยแพร่
8. โครงการแกไ้ ขปญั หาส่ิงแวดลอ้ มเฉพาะ
วัตถปุ ระสงค์
- การวิจยั เพ่อื แก้ไขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เฉพาะ
สาระสาคัญ และกิจกรรม
- การประเมินกระบวนการธรรมชาติตามแนวพระราชดาริ ด้วยวิธีการสังเคราะห์แสงเทอร์โมไซฟอน
และเทอร์โมออสโมซิสต่อการผลิตออกซิเจนที่เป็นพลังงานให้แบคทีเรียเพ่ือใช้ในการย่อยสลาย
สารอนิ ทรยี ์ในน้าเสยี ชุมชน
- ศักยภาพน้าไหลจากเขื่อนเก็บกักน้าสิริกิต์ิในการบาบัดน้าเสียชุมชนด้วยกระบวนการเจือ จาง
หลงั ผลติ กระแสไฟฟา้ และก่อนทดน้าปลูกข้าวในประเทศไทย
- ความช้ืนเหมาะสมของซากพืชท่ีเอื้อต่อการเกิดกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ท่ีการปลดปล่อย
ความร้อนและก๊าซตดิ ไฟทเ่ี ป็นปัจจยั จาเปน็ ของการเกิดไฟป่าพรภุ าคใต้ประเทศไทย

สานักงานชลประทานท่ี 14 ลงพ้ืนที่ติดตามการจัดเก็บวัชพืช และส่ิงกีดขวาง
ทางน้า

วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ดร.ชิตชนก สมประเสรฐิ ผอู้ านวยการสานักงานชลประทานที่ 14
พร้อมด้วยนายสุกฤษฏิ์ อยู่ดี หัวหน้าฝ่ายส่งน้าและบารุงรักษาท่ี 3 โครงการสง่ นา้ และบารุงรักษา
เพชรบุรี และเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้อง ลงพื้นท่ีติดตามการจัดเก็บวัชพืช และส่ิงกีดขวางทางน้า
บริเวณคลองส่งนา้ สายใหญ่ฝ่ังซา้ ย กม.29+800 โดยใช้รถแบคโฮ บูมยาว จากส่วนเคร่ืองจักรกล
สานักงานชลประทานท่ี 14 เข้าดาเนินการ เพื่อเปิดทางน้าและเร่งระบายน้าที่ท่วมขังในพ้ืนที่
พร้อมท้ังให้สัมภาษณ์กับนายกัมปนาท ขันตระกูล ผู้ส่ือข่าวแอดมินเพจเมืองเพชร ผ่านเพจ
ขา่ วเมืองเพชร, สถานวี ิทยุโทรทัศน์กองทัพบก, สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส, ช่อง Workpoint TV
ช่องทรูโฟร์ยู ผ่านช่อง 16 และ 24 เก่ียวกับการส่งเคร่ืองจักรลงพ้ืนที่ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร
และประชาชนในพ้นื ที่ ณ อาเภอบา้ นแหลม จงั หวดั เพชรบุรี

สานักงานชลประทานท่ี 14 เข้าร่วมประชุมกองอานวยการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยจังหวดั เพชรบุรี ครัง้ ที่ 2/2564

วันท่ี 6 ตุลาคม 2564 เวลา 17.00 น. ดร.ชิตชนก สมประเสริฐ ผู้อานวยการสานักงาน
ชลประทานที่ 14 พร้อมด้วยนายบุญลือ คงชอบ รองผู้อานวยการสานักงานชลประทานที่ 14
นายจิรยุทธ จตุรภัทร ผู้อานวยการส่วนบริหารจัดการน้าและบารุงรักษา, นายสมเกียรติ
แจ่มจันทร์ ผู้อานวยการโครงการชลประทานเพชรบุรี, นายสันต์ จรเจริญ ผู้อานวยการโครงการ
ส่งน้าและบารุงรักษาเพชรบุรี, นายมีชัย ปฏิยุทธ ผู้อานวยการโครงการส่งน้าและบารุงรักษา
แก่งกระจาน และเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมกองอานวยการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยจังหวัดเพชรบุรี ครั้งท่ี 2/2564 โดยมี นายณัฐวุฒิ เพ็ชรพรหมศร รองผู้ว่าราชการ
จังหวัดเพชรบุรี เป็นประธานในการประชุม เพื่อติดตามสถานการณ์, การเตรียมความพร้อม
ในการป้องกัน และการแก้ไขปัญหาน้าหลาก รวมถึงดินถล่มท่ีอาจเกิดข้ึน ณ ห้องประชุม
ศาลากลางจังหวดั เพชรบรุ ี (หลงั เก่า) ชน้ั 1 อาเภอเมือง จงั หวัดเพชรบุรี

สานักงานชลประทานที่ 14 เข้าร่วมประชุมการตรวจติดตามการเตรียมการ
รบั สถานการณ์อุทกภัยบางสะพาน

วันที่ 7 ตุลาคม 2564 เวลา 10.00 น. ดร.ชิตชนก สมประเสริฐ ผู้อานวยการสานักงาน
ชลประทานท่ี 14 พร้อมด้วยนายบุญลือ คงชอบ รองผู้อานวยการสานักงานชลประทานที่ 14
นายจิรยุทธ จตุรภัทร ผู้อานวยการส่วนบริหารจัดการน้าและบารุงรักษา, นายยงยุทธ จุลานนท์
ผู้อานวยการโครงการชลประทานประจวบคีรีขันธ์ และเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้อง เข้าร่วมประชุม
การตรวจติดตามการเตรียมการรับสถานการณ์อุทกภัยบางสะพาน โดยมี ดร.เสถียร เจริญเหรียญ
ผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นประธานในการประชุม เพื่อติดตาม สถานการณ์
และการเตรียมความพร้อมในการป้องกันสถานการณ์อุทกภัยบางสะพาน ณ ห้องประชุมอาเภอ
บางสะพาน ชนั้ 3 จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์

ส่วนเคร่ืองจกั รกล สานักงานชลประทานท่ี 14 ลงพืน้ ที่แกไ้ ขน้าทว่ มขังรอระบาย

วันที่ 6 ตุลาคม 2564 นายอานาจ ถี่ถ้วน ผู้อานวยการส่วนเคร่ืองจักรกล สานักงาน
ชลประทานท่ี 14 พร้อมด้วยสิบเอกธนกร บุญวิเศษ หัวหน้าฝ่ายซ่อมสร้างและบารุงรักษา ปฏิบัติ
หน้าที่หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการสูบน้า และเจ้าหน้าที่ในสังกัด ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีโครงการชลประทาน
เพชรบุรี และโครงการส่งน้าและบารุงรักษาเพชรบุรี ลงพื้นที่แก้ไขน้าท่วมขังรอระบาย เนื่องจาก
มีร่องมรสุมพาดผ่าน โดยมี ดร.ชิตชนก สมประเสริฐ ผู้อานวยการสานักงานชลประทานท่ี 14
ใหค้ าแนะนาในการชว่ ยเหลอื ณ อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี

ส่วนเคร่ืองจักรกล สานักงานชลประทานท่ี 14 ลงพื้นท่ีติดตั้งเคร่ืองสูบน้า ตาบล
ยางหย่อง

วันที่ 10 ตุลาคม 2564 นายอานาจ ถี่ถ้วน ผู้อานวยการส่วนเคร่ืองจักรกล สานักงาน
ชลประทานที่ 14 มอบหมายให้สบิ เอกธนกร บุญวเิ ศษ หัวหนา้ ฝ่ายซ่อมสรา้ งและบารงุ รกั ษา ปฏิบัติ
หน้าท่ีหัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการสูบน้า และเจ้าหน้าที่ในสังกัด ลงพื้นที่ติดตั้งเคร่ืองสูบน้าเคลื่อนท่ี
ขนาด 8 น้ิว จานวน 2 เครื่อง ทาการสูบน้าท่วมขังในพื้นที่บ้านเรือน และพื้นที่เกษตรกรรม
ตามคาร้องขอจากโครงการชลประทานเพชรบุรี เน่ืองจากได้รับผลกระทบจากร่องมรสุมพาดผ่าน
เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎร และเกษตรกรในพ้ืนท่ี ณ บริเวณตาบลหนองจอก อาเภอ
ท่ายาง จงั หวดั เพชรบุรี และบรเิ วณตาบลปกึ เตยี น อาเภอท่ายาง จังหวดั เพชรบุรี

สานักงานชลประทานท่ี 14 ให้การต้อนรับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ลงพ้ืนท่ีตรวจเย่ียมและติดตามการบริหารการจัดการน้าอ่างเก็บน้า
ปราณบุรี

วันที่ 23 ตุลาคม 2564 เวลา 16.00 น. ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ และคณะ ได้เดินทางมาตรวจเยี่ยมและติดตามการบริหารการจัดการน้า
อ่างเก็บน้าปราณบุรี ในการนี้ ดร.ชิตชนก สมประเสริฐ ผู้อานวยการสานักงานชลประทานท่ี 14
พร้อมด้วยนายประจักษ์ อ้ันจุกฉุน ผู้อานวยการโครงการส่งน้าและบารุงรักษาปราณ บุรี
นายประภาศ โต้ตอบ ผู้อานวยการโครงการชลประทานระนอง, หัวหน้าฝ่าย และเจ้าหน้าที่
ท่ีเกี่ยวข้อง ร่วมให้การต้อนรับและรายงานสถานการณ์น้าอ่างเก็บน้าปราณบุรี โดยในปัจจุบัน
มีปริมาณน้า 333.52 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็น 85.30% จากระดับกักเก็บที่จานวน 391.00
ล้านลูกบาศก์เมตร ยังคงรับน้าได้อีก 57.48 ล้านลูกบาศก์เมตร (14.70%) และโครงการส่งน้า
และบารุงรักษาปราณบุรี มีแผนพร่องน้าโดยระบายน้าลงสู่แม่น้าปราณบุรี ในอัตรา 80 ลูกบาศก์
เมตรต่อวินาที โดยเริ่มตั้งแต่วันท่ี 22 ตุลาคม 2564 เพ่ือเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์
ท่ีอาจจะเกิดฝนตกหนัก ทั้งนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีความห่วงใย
สถานการณ์น้า โดยได้ให้นโยบายการบริหารจัดการน้าไม่ให้เกิดอุทกภัยในพื้นที่ ตลอดจนกักเก็บ
น้าให้ประชาชนมีน้าใช้อย่างเพียงพอตลอดปี 2565 ณ อ่างเก็บน้าปราณบุรี โครงการส่งน้า
และบารุงรักษาปราณบุรี ตาบลหนองตาแตม้ อาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ส่วนเครื่องจักรกล สานักงานชลประทานที่ 14 ลงพื้นที่ติดตามการสูบน้าช่วยเหลือ
ราษฎร และเกษตรกรในพื้นทท่ี ีม่ ีนา้ ทว่ มขัง

วันท่ี 25 ตุลาคม 2564 นายอานาจ ถ่ีถ้วน ผู้อานวยการส่วนเคร่ืองจักรกล สานักงาน
ชลประทานที่ 14 มอบหมายให้สิบเอกธนกร บุญวิเศษ หัวหน้าฝ่ายซ่อมสร้างและบารุงรักษา
ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการสูบน้า และเจ้าหน้าที่ในสังกัด ลงพ้ืนท่ีติดตามการสูบน้า
ชว่ ยเหลือราษฎร และเกษตรกรในพ้ืนท่ที ม่ี นี า้ ท่วมขงั เน่ืองจากร่องมรสุมพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี
ณ บริเวณตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอหนองหญ้าปล้อง, บริเวณมัสยิดบางครก ตาบลบ้านกุ่ม
อาเภอเมือง, บริเวณพ้ืนท่ีฝ่ังซ้ายแม่น้าเพชรบุรี หมู่ 10 ตาบลบ้านกุ่ม อาเภอเมือง, บริเวณบ้าน
พลอยเพชร หมู่ 12 ตาบลบ้านกุ่ม อาเภอเมือง และบริเวณท่าไม้รวก หมู่ 4 ตาบลท่ายาง จังหวัด
เพชรบุรี เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนในพ้ืนที่ และเร่งสูบน้าท่วมขังออกจากพ้ืนที่ ดังกล่าว
อย่างต่อเนื่อง

สานักงานชลประทานที่ 14 ร่วมจัดพิธีน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เน่ืองใน
วันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร 13 ตุลาคม 2564

วันท่ี 13 ตลุ าคม 2564 เวลา 08.30 น. ดร.ชิตชนก สมประเสริฐ ผู้อานวยการสานักงาน
ชลประทานที่ 14 นาคณะผู้บริหารสานักงานชลประทานที่ 14 และข้าราชการ ร่วมจัดพิธีน้อม
ราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 13 ตุลาคม 2564 ในการนี้ ดร.ชิตชนก สมประเสรฐิ
ผู้อานวยการสานักงานชลประทานท่ี 14 เป็นประธานในพิธีทาการวางพวงมาลา เบ้ืองหน้า
พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร พร้อมกล่าวนอ้ มราลกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ และนาผ้เู ขา้ ร่วมพธิ รี ว่ มใจยนื สงบน่ิง
เพ่ือร่วมกันแสดงออกถึงความจงรักภักดีและน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาสุด มิได้
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชนชาวไทยตราบกาลนิรันดร์ ณ ห้องโถง อาคาร
ศูนย์เรยี นรูเ้ กษตรชลประทาน สานกั งานชลประทานท่ี 14

สานักงานชลประทานที่ 14 ร่วมโครงการ “Plus 1 เพ่ิมจานวนคร้ัง เพ่ิมโลหิต
เพม่ิ ชีวิต (ปี 2)”

วันที่ 19 ตุลาคม 2564 เวลา 09.00 น. สานักงานชลประทานท่ี 14 ร่วมโครงการ
“Plus 1 เพมิ่ จานวนครัง้ เพ่ิมโลหติ เพิม่ ชวี ติ (ปี 2)” สภากาชาดไทย โดยโครงการมีวัตถุประสงค์
เพื่อจัดหาโลหิตนาไปช่วยชีวิตผู้เจ็บป่วยตามโรงพยาบาลต่าง ๆ ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
และจังหวัดใกล้เคียงจากผู้มีจิตศรัทธา ณ ห้องนันทนาการ อาคารศูนย์เรียนรู้เกษตรชลประทาน
สานกั งานชลประทานท่ี 14

โครงการส่งน้าและบารุงรักษาแก่งกระจาน สานักงานชลประทานที่ 14 กาจัดวัชพืช
บริเวณด้านหน้าจุดตดิ ตัง้ เคร่อื งสูบน้าท่อลอดแมน่ า้ เพชรบรุ สี ายเก่า

วันท่ี 4 ตุลาคม 2564 นายมีชัย ปฏิยุทธ ผู้อานวยการโครงการส่งน้าและบารุงรักษา
แก่งกระจาน มอบหมายให้นางสาวสุนทรี สมทบ หัวหน้าฝ่ายส่งน้าและบารุงรักษาที่ 2
และเจ้าหน้าท่ีในสังกัด ติดตามการทางานเคร่ืองจักรในการกาจัดวัชพืช บริเวณด้านหน้าจุดติดต้ัง
เคร่ืองสูบน้าท่อลอดแม่น้าเพชรบุรีสายเก่า หมู่ 7 บ้านไร่หลวง ตาบลท่าไม้รวก อาเภอท่ายาง
จังหวดั เพชรบรุ ี ทัง้ นี้หากดาเนินการแล้วเสร็จจะทาใหส้ ามารถระบายน้าในบริเวณดงั กล่าวได้ดีข้นึ

โครงการก่อสร้าง สานักงานชลประทานที่ 14 ลงพื้นท่ีตรวจสอบปัญหาตัวอาคาร
กักเก็บน้า โครงการบงั คับนา้ ห้วยวงั พงศ์

วนั ท่ี 5 ตลุ าคม 2564 เวลา 14.00 น. นายพมิ ล สกลุ ดษิ ฐ ผู้อานวยการโครงการก่อสร้าง
สานักงานชลประทานที่ 14 มอบหมายให้นายธาดา เศษขาว นายช่างชลประทานปฏิบัติงาน
และเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง ลงพื้นท่ีตรวจสอบปัญหาตัวอาคารกักเก็บน้า โครงการบังคับน้า
ห้วยวังพงศ์ เพื่อแก้ไขปัญญาและดูความเหมาะสมให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของ โครงการ
และความตอ้ งการของราษฎรในพื้นที่ ณ หมูท่ ่ี 5 ตาบลทะเลทรพั ย์ อาเภอปะทิว จังหวัดชมุ พร

โครงการชลประทานชุมพร สานักงานชลประทานท่ี 14 ลงพื้นท่ีติดตาม
ความก้าวหน้าการก่อสร้างสะพาน สาย 41 ข้ามคลองผันน้าคลองชุมพร เพ่ือเตรียม
ความพร้อมรับสถานการณ์อุทกภัยลมุ่ นา้ คลองชมุ พร

วันท่ี 6 ตุลาคม 2564 เวลา 09.00 น. นายนพดล มีวิเศษ ผู้อานวยการโครงการ
ชลประทานชุมพร มอบหมายให้นายชาญศักด์ิ อนันต์วีร์วิวัฒน์ หัวหน้าฝ่ายจัดสรรน้าและปรับปรุง
ระบบชลประทาน โครงการชลประทานชุมพร ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าการก่อสร้างสะพาน
สาย 41 ข้ามคลองผันน้าคลองชุมพร เพื่อเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์อุทกภัยลุ่ม น้า
คลองชมุ พร รว่ มกับนายสมพร ปัจฉิมเพ็ชร รองผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร และหัวหน้าส่วนราชการ
จังหวดั ชุมพร

โครงการชลประทานประจวบคีรีขันธ์ สานักงานชลประทานท่ี 14 ลงพื้นท่ีติดตาม
และตรวจสอบการระบายนา้ ของอา่ งเกบ็ น้าหว้ ยมงคล อันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ

วันท่ี 6 ตุลาคม 2564 นายยงยุทธ จุลานนท์ ผู้อานวยการโครงการชลประทาน
ประจวบคีรีขันธ์ มอบหมายให้นายภควัต เสรีรักษ์ หัวหน้าฝ่ายส่งน้าและบารุงรักษาที่ 2 ลงพ้ืนที่
ติดตามและตรวจสอบการระบายน้าของอ่างเก็บน้าห้วยมงคล อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบล
ทับใต้ อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อเร่งการระบายน้าให้อยู่ในเกณฑ์ ควบคุม
โดยไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ดา้ นทา้ ยนา้

โครงการส่งน้าและบารุงรักษาปราณบุรี สานักงานชลประทานท่ี 14 เพ่ิมแผน
การระบายน้าอา่ งเก็บน้าปราณบรุ ี เพอ่ื เตรียมความพร้อมรับสถานการณฝ์ นตกหนกั

วันท่ี 6 ตุลาคม 2564 จากสถานการณ์น้าในอ่างเก็บน้าปราณบุรี ณ เวลา 16.00 น.
มีปริมาณน้า ในอ่างเก็บน้าปราณบุรี 304.13 ล้านลูกบาศก์เมตร ที่ระดับน้า +54.70 เมตร (รทก.)
อัตราการไหลของนา้ เขา้ อ่างปราณบรุ ี ประมาณ 91 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที จากแนวโนม้ สถานการณ์
น้าไหลลงอ่างท่ีมากขึ้น เพ่ือให้การบริหารจัดการน้าอยู่ในเกณฑ์ควบคุม และเป็นการ เตรียม
ความพร้อมรับภาวะฝนตกหนักตามการคาดการณ์ของกรมอุตุนิยมวิทยา โครงการส่ง น้า
และบารงุ รักษาปราณบุรี มแี ผนเพมิ่ การระบายนา้ ออกจากอา่ งฯ ดังน้ี
วันที่ 6 ตุลาคม 2564
เวลา 17.00 ระบายน้าลงแม่น้าปราณบุรี ( Service Spillway ) = 20 ลบ.ม./วินาที (1.728 ล้าน
ลบ.ม./วนั )
เวลา 17.00 ระบายนา้ ออกทาง คลองสง่ นา้ สายใหญ่ = 20 ลบ.ม./วนิ าที (1.728 ล้านลบ.ม./วัน)

รวมอัตราการระบาย = 40 ลบ.ม./วินาที (3.456 ล้านลบ.ม./วัน)
วนั ท่ี 7 ตลุ าคม 2564
เวลา 07.00 ระบายน้าลงแม่น้าปราณบุรี ( Service Spillway ) = 50 ลบ.ม./วินาที (4.320 ล้าน
ลบ.ม./วัน)
เวลา 07.00 ระบายน้าออกทาง คลองส่งน้าสายใหญ่ = 30 ลบ.ม./วนิ าที (2.592 ลา้ นลบ.ม./วัน)

รวมอัตราการระบาย = 80 ลบ.ม./วนิ าที (6.912 ล้านลบ.ม./วนั )
ทั้งน้ีหากมีฝนตกหนักในลุ่มน้าห้วยมงคล, ลุ่มน้าห้วยสามพันนาม โครงการส่งน้า

และบารุงรักษาปราณบุรี จะลดการระบายน้าลง เพื่อให้มวลน้าท้ังสองลุ่มน้าไหลออกทะเลไปก่อน
โดยอ่างเก็บน้าปราณบุรีจะทาหน้าที่หน่วงน้าไว้ เป็นการจัดการจราจรทางน้าเพ่ือลดผลกระทบ
จากน้าท่วมท่ีอาจจะเกิดข้ึนในแม่น้าปราณบุรี ช่วงท้ายเขื่อนปราณบุรี ซ่ึงการระบายน้าลงแม่น้า
ปราณบุรีในอัตรา 50 ลบ.ม./วินาที (4.320 ล้านลบ.ม./วัน) ไม่ส่งผลกระทบต่อพ้ืนท่ีลุ่มต่าหากไม่มี
ฝนตกหนกั ในพนื้ ทีล่ ่มุ น้าด้านท้ายอ่างเก็บนา้ ปราณบุรี

โครงการชลประทานเพชรบุรี สานักงานชลประทานท่ี 14 ร่วมหารือแนวทาง
การแกไ้ ขปญั หานา้ ท่วมขัง บริเวณถนนเพชรเกษม เขตอาเภอชะอา จังหวดั เพชรบรุ ี

วันท่ี 7 ตุลาคม 2564 เวลา 09.00 น. นายสมเกียรติ แจ่มจันทร์ ผู้อานวยการโครงการ
ชลประทานเพชรบุรี ร่วมกับเทศบาลตาบลนายาง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วม หารือ
แนวทางแก้ไขปญั หาน้าท่วมขัง บรเิ วณถนนเพชรเกษม 2 จุด (Santorini & หว้ ยทรายใต้) พร้อมนา
เคร่ืองจักรเครื่องมือ เข้าแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี ณ เทศบาลตาบลนายาง อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบรุ ี

โครงการชลประทานระนอง สานักงานชลประทานท่ี 14 ลงพื้นที่ดาเนินการสูบน้า
เพื่อเตรยี มความพรอ้ มรองรบั สถานการณ์ในช่วงฤดูฝน ปี 2564

วันที่ 8 ตุลาคม 2564 เวลา 09.30 น. นายประภาศ โต้ตอบ ผู้อานวยการโครงการ
ชลประทานระนองมอบหมายให้ เจ้าหน้าท่ีโครงการชลประทานระนอง ลงพื้นท่ีดาเนินการสูบน้า
เน่ืองจากเกิดฝนตกหนักในพ้ืนที่ ตั้งแต่ช่วงค่าวันท่ี 7 ตุลาคม 2564 ท่ีผ่านมา วัดปริมาณฝน
12 ช่ัวโมง ที่สถานีบ้านหินใหญ่ ตาบลน้าจืดได้ 105.0 มม. และจะมีน้าทะเลหนุนสูงสุด
เวลา 11.44 น. ระดับน้า 4.05 ม. เพื่อป้องกันและบรรเทาการเกิดอุทกภัยในพื้นท่ี หมู่ที่ 2 ตาบล
น้าจดื อาเภอกระบรุ ี จงั หวัดระนอง

โครงการสง่ น้าและบารุงรักษาเพชรบุรี สานักงานชลประทานที่ 14 ลงพื้นท่ีซ่อมแซม
คลองชกั นา้ ระหว่างคลองส่งน้าสายใหญ่ 2 และคลองสง่ น้าสายใหญ่ 3

วันที่ 22 ตุลาคม 2564 เวลา 09.00 น. นายสันต์ จรเจริญ ผู้อานวยการโครงการส่งน้า
และบารุงรักษาเพชรบุรี มอบหมายให้นายธนบดี โชติช่วง หัวหน้าฝ่ายส่งน้าและบารุงรักษาที่ 4,
นายวษิ ณุ ดาเพ็ง หัวหน้าฝ่ายสง่ น้าและบารุงรักษาที่ 1, นายปัญญา เครื่องทิพย์ หัวหน้าฝ่ายช่างกล
และเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้อง ลงพื้นท่ีร่วมกันซ่อมแซมคลองชักน้าระหว่างคลองส่งน้าสายใหญ่ 2
และคลองส่งน้าสายใหญ่ 3 โดยทาการวางเรียงกระสอบทราย big bag เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการส่งน้าให้กลุ่มเกษตรกรช่วงต้นคลองส่งน้าสายใหญ่ 2 และกลุ่มเกษตรกรบ้านหนองศาลา
อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบุรี



http://irrigation.rid.go.th/rid14/
https://www.facebook.com/rio14news/
http://irrigation.rid.go.th/rid14/journal2017/index.html


Click to View FlipBook Version