The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาครูและวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anocha7293, 2020-04-28 04:43:38

การพัฒนาครูและวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21

การพัฒนาครูและวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21

Keywords: INTRO GRAPHIC

เรอื งที 7 การ
พัฒนาครูและ
วิชาชีพครูใน
ศตวรรษที 21

ค ว า ม นาํ ท่ามกลางการเปลียนแปลงบริบทสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ
ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง
วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและการส่อืสารปจัจุบนั บนโลกไร้พรมแดนที
เปนไปอย่างต่อเนือง รวดเร็วและ
รุนแรง การศึกษายังคงเปนกลไกส าคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ม นุ ษ ย์ แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ที
เชือมโยงกันทัวโลก ให้สามารถด ารงชีวิตท่ามกลางการเปลียนแปลงนี
ได้อย่างยังยืน ทังทีเปนการศึกษา
ในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย รวมทังการศึกษาตลอดชีวิต การ
จั ด ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ที ส น อ ง ต อ บ
ความต้องการของบุคคล สังคม และประเทศชาติ
ห ม า ย ถึ ง ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร เ ร ีย น รู ้ข อ ง
ผู้เรียนให้มีศักยภาพเพิมขึนเพียงนัน บุคคลส าคัญทีสุดใน
ก ร ะ บ ว น ก า ร พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร
พัฒนาการเรียนรู้ ก็คือ “ครู” ครยูงัคงเปนผทู้ มี่คีวามหมายและ
ปจัจยัส าคญั มากท่สีุดในห้องเรียน และ
เปนผู้ทีมีความส าคัญต่อคุณภาพการศึกษา ครูเปนปจัจยัส าคญั ใน
ร ะ ด บั
โรงเรียนทีส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมากทีสุด จากการทดสอบ
ระดับนานาชาติ ประเทศทีมี
ผลสัมฤทธิทางการเรียนรู้สูง จะมีแนวโน้มการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง
กว่า ขณะเดียวกันประเทศทีมี
ป ร ะ ช า ก ร มี ก า ร ศึ ก ษ า ดี มี คุ ณ ภ า พ จ ะ มี ค ว า ม เ ป น ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ ล ะ
เ ส ถี ย ร ภ า พ ท า ง ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ สั ง ค ม

บ ดร.ไพฑูรย์ สินลา


บ รตั น์ ได้ให้มุมมอง


ท เกียวกับเรอื งนีไว้ว่า



ง ครูไทยในยุคศตวรรษที 21 จะต้องกลับมาดู

รู การศึกษาโดยรวมของเราได้ปฏิรูปการศึกษาที

ใ เน้นทักษะ เพือนาํ ไปสู่การมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆทีมี

ศ คุณภาพ เพราะขณะทีโลกตอนนีมีการพัฒนาด้วย

ต ไอเดียความคิดสรา้ งสรรค์และนวตั กรรมใหม่ๆ

ว ฉะนันมันถึงเวลาแล้วทีจะต้องเปลียนวฒั นธรรม
ร การเรยี นรูข้ องเด็กไทยเสียใหม่ ใหร้ ูจ้ ักการ

ษ สรา้ งสรรค์ รว่ มกันวางแผน รูจ้ ักแยกแยะ รูจ้ ัก

ที ประยุกต์ วจิ ัยค้นควา้ สรา้ งผลงาน วางแผนและ

2 ประมวลผลเปน ซงึ ตัวแปรทีสาํ คัญในเรอื งนีก็คือ
1 ครู

ความสาํ คัญและสภาพปญหา

โลกมีการเปลียนแปลงตลอดเวลา สังคมแห่งการเรียนรู้ไม่มีวันหยุดนิง สังคม
โลกกลายเปนสังคมความรู้ (KNOWLEDGE SOCIETY) หรือสังคมแห่งการเรียนรู้
(LEARNING SOCIETY)  องค์กรทางการศึกษา จึงต้องปรับตัวให้เปนองค์กรแห่ง
การเรียนรู้ (LEARNING ORGANIZATION)  โดยพึงตระหนักว่าคุณภาพการศึกษา
ขึ น อ ยู่ กั บ คุ ณ ภ า พ ค รู เ ป น ห ลั ก

จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที 11 มีนโยบายมุ่งเน้นแนวทางการพัฒนาโดย
ยึดคนเปนศูนย์กลาง เพือใหเ้ กิดการพัฒนาทียังยืนภายใต้การเปลียนแปลง ทังภายในและภายนอก
ประเทศนอกจากนียังมีนโยบายส่งเสรมิ การศึกษาใหส้ อดคล้องกับความต้องการของผู้เรยี น และ
สรา้ งสังคมการเรยี นรูท้ ีมีคุณภาพอันก่อใหเ้ กิดการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต

ความสาํ คัญ โ ด ย ผู้ เ ร ีย น จ ะ เ ร ีย น ด้ ว ย เ ท ค โ น โ ล ยี
และ สารสนเทศและการสือสารทีทันสมัย และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
ได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนียังมีปญั หาท่ีสบื
สภาพปญหา เนืองมาจากจ านวนนักเรียนทีเพิมขึนต่อห้องเรียน จนทําให้วิธีการ
ของเทคโนโลยี สอนแบบเดิมๆ ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ สือ
ทีแสดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอส าหรับ ผู้เรียนทีอยู่หลังห้อง
และ
สือ เมือเปนเชน่ นี ครูจึงต้องพรอ้ มทีจะปรบั ตัวและพัฒนาตนเองใหเ้ ท่าทัน
สารการศึกษา เทคโนโลยี
อยู่เสมอ และต้องมีความกระตือรอื รน้ ทีจะพัฒนาทักษะและวิทยาการใหท้ ัน
สมัย เพือใหเ้ กิดการเรยี นรู้
เทคนิควิธกี ารเรยี นการสอนแบบใหม่ๆ

แนวทางการพฒันา ICT เพือการศึกษา ดังน

1) การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุ ปกรณ์เพือการเรียนการสอนของสถานศึกษา ทัง
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์
ประจ าห้องปฏิบัติการ
2) การพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมเพือการศึกษาขันพืนฐาน
3) การพัฒนาสืออิเล็กทรอนิกส์ (Digital Contents) ในรูปแบบสือออนไลน์ผ่านเว็บไซต์
e-Book หรือ Applications ต่างๆ

การยกระดับและ 1. การผลิตครู
การพัฒนาครู คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ค รู ที ต้ อ ง ก า ร ค ว ร เ ป น ค รู ที มี จิ ต วิ ญ ญ า ณ ข อ ง
ปจจุบัน ความ
เปนครูและผู้ให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการ
จัดการเรียนรู้ ผู้อ านวยความสะดวก นวัตกร
ผู้สร้างแรงบันดาลใจ ตามทันเทคโนโลยี มีคุณธรรม มีความ
ภาคภูมิใจในความเปนไทย รู้และเข้าใจอัต
ลักษณ์ของความเปนพลเมืองและพลโลก สอดคล้องกับการ
เปลียนแปลงในศตวรรษที 21

2. การพัฒนา
การพัฒนาครูเปนหน้าทีของต้นสังกัด และมีองค์กรกลางด้าน
นโยบายและ
ส่งเสรมิ การพัฒนาครโดยเฉพาะทักษะการจัดการเรยี นรูท้ ี
สอดคล้องกับสถานการณ์และผู้เรยี น ใน
ศตวรรษที 21 เชน่ เชน่ การท าหอ้ งเรยี นใหเ้ ปนหอ้ งท างาน ทักษะ
ปฏิสัมพันธร์ ะหว่างครูกับศิษย์ ทักษะ
การตังค าถาม ทักษะการออกแบบการเรยี นรูแ้ บบ active learning
ทักษะการจัดกิจกรรม ทักษะการให้
ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรยี นและเพือนครู ทักษะการเรยี นรูเ้ ปนทีม
ทักษะการพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปนผู้เรยี น
แบบรูจ้ รงิ ทักษะการพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปนผู้ก ากับการเรยี นรูข้ อง
ตนเองได้

การยกระดับและ 3. การใช้ครู
การพัฒนาครู ( ก า ร บ ร ิห า ร จ ดั ก า ร ค ร )ู มี อ ง ค์ ก ร บ ร ิห า ร จั ด ก า ร ค รู
ปจจุบัน โ ด ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ข้ า ร า ช ก า ร
ครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) องค์กร
วิชาชีพครูโดยคุรุสภา ท าหน้าทีควบคุมและส่งเสริม
มาตรฐานวิชาชีพครู พบว่าต้องการครูทีสอดคล้อง
กั บ ค ว า ม ข า ด แ ค ล น เ ชิ ง ป ร ิม า ณ แ ล ะ คุ ณ ภ า พ แ ล ะ

4. สามารถก าหนดความต้องการได้เอง

สรุปได้ว่า การผลิต การพัฒนาและการใช้ครู ล้วน
ต้องการการปรับปรุงและพัฒนาทีน าไปสู่การ
ยกระดบัครเูพ่อืคุณภาพของผเู้รยีนทงัสนิ ้ แมว้า่
ปจัจุบนัจะมขีอ้เสนอนโยบายการพฒั นาครูจาก
อ ง ค์ ก ร
นโยบายทีเกียวข้องมาแล้วอย่างต่อเนืองก็ตาม แต่
ก็ยังต้องการการเติมเต็มในระบบและน าไปสู่การ
ปฏิบัติให้มากขึนอย่างเปนรูปธรรม ทังด้านการผลิต
การพัฒนา และการใช้ครูในโอกาสต่อไป

คุณลักษณะสาํ คัญ 7 ประการ ของ

ครูใน ศตวรรษที 21 ที ดร.ไพฑูรย์

สินลารตั น์ ได้ให้มุมมองไว้ มีดังนี

1. สร้างและบูรณาการความรู้ได้ ครูจะต้องสามารถบูรณาการความรู้
ต่างๆทีมี มาใช้ในการสร้างสรรค์และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ
2. มีความคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์ ครูจะต้องสอนให้เด็กมีทักษะ
กระบวนการคิด โดยสามารถคิดวิเคราะห์ในเรืองต่างๆ และมีความคิด
ส ร ้า ง ส ร ร ค์ ที เ ป น ป ร ะ โ ย ช น์
3. มีวิสัยทัศน์และตกผลึกทางความคิดเพือแลกเปลียนความคิดเห็นกับ
ผู้เรียน ครูจะต้องเปนคนมีวิสัยทัศน์ เน้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้ เพือให้
เด็กตกผลึกทางความคิดได้ด้วยตัวเอง และมีโอกาสแลกเปลียนความ
คิ ด เ ห็ น ร ะ ห ว่ า ง กั น

4. ครูต้องรูแ้ ละเข้าใจเทคโนโลยีใหม่ มีทักษะใหม่ๆ พรอ้ มทังชีแนะข้อดีข้อเสียให้ผู้เรยี นได้
ครูจะต้องสามารถใช้เทคโนโลยีส่งเสรมิ การศึกษาได้หลากหลาย และสามารถชีให้เด็กเห็น
ถึงข้อดีข้อเสีย และการใช้เทคโนโลยีต่างๆอย่างเหมาะสม
5. มีทักษะการสอนเด็กให้เติบโตเต็มศักยภาพและสรา้ งผลงานใหม่ๆ ครูจะต้องส่งเสรมิ
การเรยี นรูใ้ ห้เด็กตามวัยและให้เด็กพัฒนาอย่างเต็มทีตามศักยภาพของเด็กและเน้นให้เด็ก
เปลียนจากเปนผู้รบั กลายเปนผู้พัฒนาและสรา้ งสรรค์สิงใหม่
6. ต้องเข้มแข็งในจรรยาบรรณ คุณธรรม จรยิ ธรรม และชักชวนให้คนอืนๆทําเพือสังคม
ครูจะต้องยึดมันในจรรยาบรรณวิชาชีพ รกั ษาคุณธรรมจรยิ ธรรมและเปนบุคคลหนึงใน
สังคมทีช่วยให้สมาชิกในสังคมนันๆมีแนวทางในการปฏิบัติตนต่อตนเองแปละสังคมที
เหมาะสม              
7. มีบทบาทนาํ ด้านการสอนและวิชาชีพ พัฒนาคุณภาพของโรงเรยี นและในวิชาชีพรว่ มกับ
ผู้บรหิ ารมากขึน ครูจะต้องมีบทบาทต่อการส่งเสรมิ พัฒนา และประเมินผลการเรยี นรูแ้ ละ
วิชาชีพในโรงเรยี นรว่ มกับบุคลากร ผู้บรหิ ารและชุมชน

ปจจัยทีเปนอุ ปสรรคของการทํา 1) ภาระงานอืนนอกเหนือจากการสอน
ห น้ า ที ค รู   ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย 2) จาํ นวนครูไม่เพียงพอ สอนไม่ตรงกับวุฒิ
3) ขาดทักษะทางด้านไอซที ี โดยครูจาํ นวนมากยัง

ขาดทักษะด้านนี
4) ครูรุน่ ใหม่ขาดความเชยี วชาญในการสอนทัง

ทางวชิ าการและคุณลักษณะความเปนครู
5) ครูสอนหนักส่งผลใหเ้ ด็กเรยี นมากขึน
6) ขาดอิสระในการจัดการ

ป จ จั ย ส่ ง เ ส ร ิม ก า ร ทํา ห น้ า ที ข อ ง ค รู 1) การอบรม แลกเปลียน และสรา้ งเครอื ข่ายความ
ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
รู้
2) การพัฒนาตนเองในเรอื งไอซที ี
3) การเพิมฝายธุรการ จะชว่ ยใหค้ รูมีเวลาในการ

เอาใจใส่ต่องานวชิ าการ หรอื นักเรยี นมากขึน
5) ลดชวั โมงการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น พือ

เปดโอกาสใหน้ ักเรยี นค้นควา้ ในสิงทีนักเรยี นสนใจ

แนว ด้ า น น โ ย บ า ย
ทาง
และ 1. ในอดีต การพัฒนาครูยังมีทิศทางทีไม่ชดั เจน และไม่ค่อยใหค้ วามสาํ คัญอย่างจรงิ จัง หาก
ความ ต้องการใหเ้ กิดผลลัพธท์ ีดีต่อเด็กแล้ว ควรจะมีการกําหนดนโยบายเพือเปนกรอบในการพัฒนา
เปน ครูใหต้ รงจุด เพือสนองตอบต่อปญหาทีเกิดขึนในปจจุบัน โดยควรมีการกําหนดหน่วยงานการ
ไป พัฒนาครูอย่างทัวถึงทุกพืนที ไม่ใชก่ ําหนดอํานาจการพัฒนาครูไว้ทีส่วนกลางอย่างเดียว
ได้ใน 2. ควรมีการกําหนดมาตรฐานอาชพี ครู โดยเฉพาะความรูค้ วามสามารถด้านมาตรฐานการ
การ ปฏิบัติงานของครู ซงึ มาตรฐานเหล่านีสามารถใชเ้ ปนเกณฑ์วัดความเปนครูและเปนเครอื งมือ
พัฒนา ตรวจสอบกลันกรองผู้ประกอบวิชาชพี ครูได้อย่างชดั เจนและมีคุณภาพ
ครูใน 3. ควรมีการพัฒนาระบบการผลิตครูออกสู่ตลาดการศึกษา รวมทังหลักสูตรครูทีทันต่อ
ศตวรรษที เปลียนแปลงไปของสังคมโลก
 21

แนว 4. ควรมีการให้ความรู้และปรับแนวคิดของครูให้เข้าใจวิธีการเรียน
ทาง รู้ในยุคสมัยใหม่ ทีผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง จาก
และ การสืบค้น การลงมือปฏิบัติ มีอิสระในการเรียนรู้ โดยมีครูคอย
ความ ชี แ น ะ ใ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ผู้ ใ ห้ คํา ป ร ึก ษ า
เปน 5. ควรอาศัยประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือให้ผู้เรียนเข้า
ไป ถึงข้อมูล ความรู้ได้แบบไม่มีขีดจาํ กัดเฉพาะในห้องเรียน หรือจาก
ไ ด้ ใ น ค รู เ ท่ า นั น
การ 6. ควรถ่ายทอดแนวคิดและการปฏิบัติในการจัดการเรียนรู้ เพือ
พั ฒ น า สร้างผู้เรียนให้รู้จักคิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุมีผล มีจิตวิจัย ใช้ข้อมูล
ค รู ใ น เ พื อ ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ แ ก้ ป ญ ห า
ศ ต ว ร ร ษ ที
21

สรุปได้ว่า

นโยบายทีชัดเจนจะก่อให้เกิดการพัฒนาครูอย่างทัวถึง การ
กําหนดมาตรฐานวิชาชีพและการนาํ เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ก็เปน
ส่วนสาํ คัญในการกระตุ้นให้ครูมีการพัฒนาตนเอง โดย
เปลียนแปลงทังทัศนคติ วิธีสอน และบทบาท ทังยังส่งผลให้เกิด
การแลกเปลียนเรยี นรู้ และประสบการณ์ทีหลายหลาย จนกลาย
เปนองค์ความรูใ้ หม่ทีสามารถนาํ มาปรบั ใช้ภายใต้บรบิ ทของ
ตนเอง นอกจากนีครูต้องเปน C-Teacher ประกอบด้วยทักษะ 8
ประการ ดังกล่าวข้างต้น เพือถ่ายทอดและเสรมิ สรา้ งความรูใ้ ห้ผู้
เรยี นคิดเปน แก้ปญหาเปน ตลอดจนส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมี
คุณธรรม จรยิ ธรรม มีทักษะชีวิตและวิชาชีพตามคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ของชาติและนานาชาติต่อไป

ด้ า น ก า ร พั ฒ น า ต น เ อ ง ข อ ง ค รู 2) ทักษะการจัดการเรียนรู้แบบสืบ
เสาะ
ผู้ทีได้ชอื ว่า “ครู” เปนบุคคลสาํ คัญยิงต่อภารกิจในการพัฒนา
เยาวชนของชาติ โดยนอกจากครูจะต้องมีจิตวิญญาณความเปนครู สอนใหเ้ ด็กหาความรูด้ ้วยตัวเองจากการลงมือปฏิบัติ
แล้ว ยังต้องเปนผู้ทรงความรูใ้ นเนือหาทีจะถ่ายทอดสู่ผู้เรยี น และครู
ยังต้องจัดการเรยี นการสอนได้อย่างเปนระบบและมีประสิทธภิ าพ 3) ทักษะในการคัดเลือกความรู้
นอกจากนียังต้องพัฒนาศิษย์ใหม้ ีทักษะการเรยี นรูแ้ หง่ ศตวรรษที
21 ด้วย ซงึ สิงทีครูไทยในศตวรรษที 21 จาํ เปนต้องพัฒนามีดังนี เปนทักษะทีสอนใหผ้ ู้เรยี นสามารถจาํ แนกแยกแยะ
แหล่งข้อมูลทีน่าเชอื ถือและไม่น่าเชอื ถือ รวมถึงการคิด
1) ทักษะในการตังคําถาม อย่างมีวจิ ารณญาณเพือกลันกรองข้อมูลความรูก้ ่อน
นาํ ข้อมูลนันมาเปนความรูห้ รอื นาํ เสนอ
การตังคําถามเปนการกระตุ้นความสนใจอยากรูข้ องผู้
เรยี น นักเรยี นจะได้ฝกคิด และค้นหาคําตอบด้วย
ตนเอง

4) ทักษะในการประเมินผลตาม 5) ทักษะการสอนคิด
สภาพจริง
ครูต้องสามารถจัดการเรยี นรูท้ ีสนับสนุนใหน้ ักเรยี น
ครูต้องใหค้ วามสาํ คัญต่อกระบวนการเรยี นรูข้ อง ฝกฝนการคิด  หรอื ตกผลึกทางความคิด ออกแบบการ
นักเรยี นควบคู่ไปกับความรูท้ ีนักเรยี นได้รบั ดังนันครู เรยี นรูใ้ หเ้ หมาะสมกับระดับพัฒนาการของเด็ก
ต้องกําหนดเกณฑ์การประเมินกระบวนการเรยี นรู้
เกณฑ์การทดสอบความรู้ รวมถึงเจตคติของนักเรยี น 7) ทักษะในการประเมินผล
ทีชดั เจนและเปนรูปธรรม
เนืองจากนักเรยี นมีความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เพราะ
6) ทักษะการบูรณาการการสอน ฉะนัน ครูจึงต้องออกแบบการประเมินผลการเรยี นรูใ้ ห้
เหมาะสมกับธรรมชาติของวชิ า และใหเ้ หมาะสมกับตาม
ครูต้องสามารถจัดการเรยี นการสอนทีเชอื มโยงความรู้ ความต่างนันๆ
หลายแขนงไวด้ ้วยกัน เพราะในชวี ติ จรงิ นักเรยี นต้อง
ประยุกต์ใชค้ วามรูท้ ีหลากหลายในการดาํ เนินชวี ติ และ
แก้ไข้ปญหาทีเกิดขึน

8) มีจิตวิญญาณความเปนครู 10) เปดใจรับการเปลียนแปลง

ครูไม่ได้มีหน้าทีเฉพาะถ่ายทอดวชิ าความรูห้ รอื จัดการ ทักษะการปรบั ตัวใหเ้ ท่าทันการเปลียนแปลง เปนสิง
เรยี นการสอนใหก้ ับนักเรยี นเท่านัน แต่ครูยังมีบทบาท สาํ คัญทีทังครูและนักเรยี นพึงมี หลายสิงรอบ ๆ ตัวเกิด
ในการอบรมสังสอนคุณธรรมจรยิ ธรรม ประคับ การเปลียนแปลง ครูต้องเปดใจยอมรบั และรูจ้ ักปรบั ตัว
ประคองใหจ้ บการศึกษาออกไปเปนพลเมืองทีดีมี เพือทําหน้าทีครูและดาํ เนินชวี ติ อย่างมีความสุข
คุณภาพของประเทศ
11) เปนแบบอย่างด้านคุณธรรม
9) ต้องเรียนรู้สิงใหม่ๆ
คุณธรรมจรยิ ธรรมสาํ คัญไม่แพ้จิตวญิ ญาณความเปน
ข้อมูลข่าวสารเปลียนแปลงอย่างรวดเรว็ ความรูม้ ีอยู่ ครู ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนใหเ้ ปนแบบอย่างทีดีแก่
มากมายรอบตัวใหแ้ สวงหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ นักเรยี น โดยเฉพาะอย่างยิงในปจจุบันทีกระแสข้อมูล
ทีก้าวหน้า ครูจึงไม่อาจหยุดนิงทีจะแสวงหาความรู้ ข่าวสารถาโถมเข้าสู่ตัวนักเรยี น
เพิมเติมเพือพัฒนาตนเองอยู่เสมอ

12) เปนทีปรึกษาทีดีให้กับนักเรียน 13) มีความคิดสร้างสรรค์

ครูต้องเปนทังผู้ถ่ายทอดวชิ าความรูแ้ ละผู้ใหค้ ําปรกึ ษา เปนหนึงในทักษะสาํ คัญของครู ทีได้รบั การกําหนดให้
แก่นักเรยี นได้ทุกเรอื ง เปนทักษะทีจาํ เปนจะต้องนาํ ไปใช้ ในกระบวนการพัฒนา
ผู้เรยี นในชว่ งศตวรรษที 21

14) ครูต้องทําตนให้ศิษย์รัก 15) ยึดหลักแห่งความพอเพียง

การปฏิบัติต่อนักเรยี นอย่างกัลยานมิตร จะทําให้ ครูต้องไม่ใชจ้ ่ายเกินตัว ไม่ฟุงเฟอตามสังคมรอบข้าง
นักเรยี นไม่เกิดความกลัวและวติ กกังวล ซงึ เปนอุป เปนแบบอย่างทีดีใหก้ ับนักเรยี น
สรรค์ต่อการเรยี นรู้

การ การพัฒนาครูในศตวรรษที 21 นัน จะต้องมีการ
พั ฒ น า กําหนดนโยบายทีชัดเจน มีระบบสนับสนุนการ
อบรมพัฒนาและการจัดการเรยี นการสอน รวม
ค รู ถึงการนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยใน
ใน การพัฒนา แต่อย่างไรก็ตาม ไม่เพียงแต่การ
ศตวรรษ สนับสนุนจากภายนอกเท่านัน ตัวครูเองจะต้อง
ที 21 พัฒนาตนเองไปสู่ครูในศตวรรษที 21 ด้วย
ต้องเปดใจรบั การเปลียนแปลง อีกทังต้องมี
ทักษะและความสามารถรอบด้านทีตังอยู่บนม
โนธรรม และความอดทน เพือส่งเสรมิ ให้ศิษย์มี
ความคิดสรา้ งสรรค์ สามารถสรา้ งองค์ความรู้
จากการหาคําตอบด้วยตนเอง รวมทังต้อง
สรา้ งศิษย์ให้มีทักษะชีวิตและการทํางานตาม
สภาพแวดล้อมทีเหมาะสมอีกด้วย

หัวใจ 1. การให้คําปรกึ ษาแก่ชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ
สาํ คัญ ครูทีเพิงผ่านการฝกอบรมจะต้องเผชิญกับท้าทายมากมายในการนาํ ความรู้
3ประการ ทีได้ไปปรบั ใช้ในห้องเรยี นจรงิ แต่เนืองด้วยงบประมาณทีจาํ กัด โครงการฝก
เ พื อ อบรม ฯ ส่วนใหญ่จึงไม่มีการติดตามผลอย่างต่อเนือง และมุ่งสรา้ งพัฒนา
พั ฒ น า ค รู ครูโดยเน้นจาํ นวนครูทีเข้ารบั การฝกอบรม มากกว่าสัมฤทธิการเรยี นรู้
ต้ น แ บ บ สาํ หรบั นักเรยี นอันแสดงถึงผลลัพธ์ในระยะยาว
แห่ง
ศตวรรษ 2. การจัดหาสือการเรยี นการสอนทีมีคุณภาพ
ที 21 หลังจบหลักสูตรฝกอบรม ครูผู้สอนต่างอยากนาํ ความรูแ้ ละวิธีการกลับไป
ถ่ายทอดแก่เด็กนักเรยี นของตน

3.เนือหาสอดคล้องกับหลักสูตรในชันเรยี นจรงิ
สิงทีสาํ คัญทีสุดคือ เราต้องสามารถนาํ สิงเหล่านีมาปรบั ใช้ให้เข้ากับบรบิ ท
หลักสูตรการศึกษาไทยให้ได้ ครูควรได้รบั การฝกอบรมในรูปแบบเดียวกับ
หลักสูตรทีสอนในชันเรยี นจรงิ

ครูไทยในอนาคต

นอกจากนีครูยังต้องปรบั เปลียนวิธีการสอนและต้องพัฒนาทักษะทีจ าเปนส าห
รบั การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที 21
ของตนเอง ดังที รศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรสั แสง [16] ได้เสนอทักษะทีจ าเปน
สาํ หรบั ครูไทยในอนาคต (CTeacher) ไว้อย่างน่าสนใจ 8 ประการคือ

1. Content 2. Computer 3.Constructionist 4.Connectivity
(ICT) Integration
ครูต้องมีความรูแ้ ละ ครูผู้สอนต้องเข้าใจแนวคิด ครูต้องสามารถจัด
ทักษะในเรอื งทีสอนเปน ครูต้องมีทักษะในการใช้ ทีวา่ ผู้เรยี นสามารถสรา้ ง กิจกรรมใหเ้ ชอื มโยง
อย่างดี หากไม่รูจ้ รงิ ใน เทคโนโลยีเข้ามาชว่ ยในการ องค์ความรูไ้ ด้ด้วยตัวเอง ระหว่างผู้เรยี นด้วยกัน ให้
เรอื งทีสอนแล้ว ก็ จัดการเรยี นการสอน ดังนันครูจึงควรน าแนวคิด นักเรยี นได้ลงมือปฏิบัติ
ยากทีนักเรยี นจะมี เนืองจากกิจกรรมการเรยี น นีไปพัฒนา อันจะก่อใหเ้ กิด
ความรูค้ วามเข้าใจใน การสอนทีใชเ้ ทคโนโลยีจะ วางแผนการจัดกิจกรรม ประสบการณ์ตรงกับ
เนือหานัน ๆ ชว่ ยกระตุ้นความสนใจใหก้ ับ การเรยี นรูเ้ พือใหน้ ักเรยี น นักเรยี น
นักเรยี น เกิดความรูท้ ีคงทนและเกิด
ทักษะทีต้องการ

5.Collaboration 6.Communicatio 7. Creativity 8. Caring
n
ครูมีบทบาทในการจัด ครูต้องออกแบบ ครูต้องมีมุทิตาจิตต่อ
กิจกรรมการเรยี นรูใ้ น ครูต้องมีทักษะการสือสาร สรา้ งสรรค์กิจกรรมการ นักเรยี น ต้องแสดงออกถึง
ลักษณะการเรยี นรูแ้ บบ ทังการบรรยาย การยก เรยี นรู้ จัดสภาพแวดล้อม ความรกั ความหว่ งใยอย่าง
รว่ มมือ ตัวอย่าง การเลือกใชส้ ือ ใหเ้ อือต่อการ จรงิ ใจต่อนักเรยี น เพือให้
ระหว่างนักเรยี นกับครู และการน าเสนอ รวมถึงการ เรยี นรูด้ ้วยตนเองของผู้ นักเรยี นเกิดความเชอื ใจ ส่ง
และนักเรยี นกับนักเรยี น จัดสภาพแวดล้อมใหเ้ อือต่อ เรยี นมากกว่าการเปนผู้ ผลใหเ้ กิดสภาพการเรยี นรู้
ด้วยกัน เพือฝกทักษะการ การเรยี นรู้ เพือถ่ายทอด ถ่ายทอดความรูห้ น้าหอ้ ง ตืนตัวแบบผ่อนคลาย ซงึ
ท างานเปนทีม ความรูใ้ หก้ ับนักเรยี นได้อย่าง เพียงอย่างเดียว เปนสภาพทีนักเรยี นจะเรยี นรู้
เหมาะสม ได้ดีทีสุด

การยกระดับ ข้ อ เ ส น อ ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ค รู ใ น
คุณภาพครู ศตวรรษที 21
เ พื อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ
ค รู ไ ท ย ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ขั น พื น ฐ า น ที
สามารถปฏิบัติได้จริง เปน
ครูทีมีคุณภาพ สมควรก าหนด
คุณลักษณะครูทีมีคุณภาพ ภายใต้
แนวคิด หลักการ วิสัยทัศน์
เปาประสงค์ยทุ ธศาสตร์มาตรการ
และแนวทาง

คุณ แ น ว คิ ด
ลักษณะ ครูเปนบุคคลสาํ คัญทีสุดในกระบวนการเรียนรู้ทีต้องได้รับการยกระดับคุณภาพทัง
ร ะ บ บ แ ล ะ ต่ อ เ นื อ ง ทั ง ด้ า น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ค รู อั น จ ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ คุ ณ ภ า พ
ครู ข อ ง ผู้ เ ร ีย น ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ใ น ที สุ ด ห ลั ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ค รู ทั ง
ที ระบบ ทีสามารถปฏิบัติได้จริงทังระยะสันและระยะยาว
มี
คุณ วิ ส ยั ท ศั น์
ภาพ ยกระดับครูไทยให้มีความรอบรู้ ทักษะการจัดการเรียนรู้ เปยมด้วยคุณธรรม
เปาประสงค์เพือให้ครูไทยระดับการศึกษาขันพืนฐานเปนแบบอย่างทีดีของศิษย์ มี
ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ ร ีย น รู ้เ ป น ค รู แ น ว ใ ห ม่ เ พื อ ศิ ษ ย์ ที มี คุ ณ ภ า พ

ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์

เพือให้สอดคล้องกับคุณลักษณะLคiรaูทnีมdีคrุณa ภOาaพkแeนsวคิด หลักกMารaวrิสaัยทTัศraนn์

เปาประสงค์จึงควรกําหนดยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย มาตรการ แนวทางและผู้รับผิด
ชอบ

บทสรุป

ในยุคศตวรรษที 21 หรือยุคดิจิตอลนี เทคโนโลยีสารสนเทศเปน
เครืองมือสาํ คัญในการนาํ มาประยุกต์ใช้ ทังด้านการพัฒนาครูและ
การจัดการเรียนการสอน ครูจึงควรมีทักษะทัง 8 ด้าน ตามแนวคิด
C-Teacher นอกจากนี ปญหาอุ ปสรรคต่าง ๆ ทีขัดขวางการพัฒนา
ค รู แ ล ะ ก า ร เ ร ีย น ก า ร ส อ น ต้ อ ง ไ ด้ ร ับ ก า ร แ ก้ ไ ข ใ ห้ ถู ก จุ ด แ ล ะ ค ร อ บ ค ลุ ม
แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า ค รู ต้ อ ง ทํา ค ว บ คู่ กั น ไ ป ทั ง ด้ า น น โ ย บ า ย ที ม า
สนับสนุน และการพัฒนาตนเองของครู ซึงต้องอาศัยความตระหนัก
และความร่วมมือจากทุกภาคส่วน รวมถึงการเปดใจรับสิงใหม่และ
ก า ร ป ร ับ ตั ว ข อ ง ค รู ด้ ว ย

เรอื งที 7 การพัฒนาครูและวิชาชีพครูในศตวรรษที 21

-ความสาํ คัญและสภาพปญหา
-ความสาํ คัญและสภาพปญหาของเทคโนโลยและสือสารการศึกษา
-การยกระดับและการพัฒนาครูปจจุบัน
-คุณลักษณะสาํ คัญ 7 ประการ ของครูใน ศตวรรษที 21 
-ปจจัยทีเปนอุปสรรคของการทําหน้าทีครู ประกอบด้วย
-ปจจัยส่งเสรมิ การทําหน้าทีของครูใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ
-ด้านการพัฒนาตนเองของครู
-หวั ใจสาํ คัญ3ประการ เพือพัฒนาครูต้นแบบแหง่ ศตวรรษที 21
-ครูไทยในอนาคต
-การยกระดับคุณภาพครู
-คุณลักษณะครูทีมีคุณภาพ
-บทสรุป

ผู้สอน ผศ.ดร.ภูมิภควธั จ์ ภูมพงค์คชคร


Click to View FlipBook Version