คำนำ ตามที่ กศน.ตำบลลำปางหลวง ได้ดำเนินงานโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ ตำบลลำปางหลวงมีความรู้ประสบการณ์และทักษะด้านการทำปุ๋ยน้ำสับปะรดสามารถนำความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้ ข้าพเจ้าหวังการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการ ทำปุ๋ยน้ำสับปะรดเล่มนี้คงมีประโยชน์แก่ผู้อ่าน เพื่อเป็นแนวทางให้กับผู้ที่สนใจ กศน.ตำบลลำปางหลวง
สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนำ 1 บทที่ 2 ผลการดำเนินงาน 6 บทที่ 3 การประเมินผลการดำเนินงาน 12 ภาคผนวก 1. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ขออนุมัติเปิดสอนหลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 3. แบบขออนุญาตจัดสอนวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น 4. แผนการจัดการเรียนรู้การทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 5. หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 6. คำสั่งแต่งตั้งวิทยากร 7. ใบความรู้ 8. ใบสมัครผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง 9. แบบประเมินความพึงพอใจ 10. บัญชีลงเวลาผู้เรียน
1 บทที่ 1 บทนำ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาด้านอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพ ประกอบด้วย อาชีพด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม ด้านพาณิชยกรรม ด้านความคิดสร้างสรรค์ และด้านอำนวยการและอาชีพเฉพาะ ทาง โดยมุ่งให้กลุ่มเป้าหมายผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้านอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง และสร้างรายได้ที่มั่นคง อาชีพด้านเกษตรกรรม นับเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรของประเทศ และผลผลิตทางการ เกษตรส่วนใหญ่ใช้ปุ๋ยเคมีเป็นหลัก เนื่องจากหาซื้อง่าย ใช้แล้วเห็นผลรวดเร็ว แต่ในระยะยาวส่งผลให้ ดินเสื่อมโทรม รวมทั้งผลกระทบด้านสารตกค้างในผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพ ของผู้บริโภค การใช้ปุ๋ยหมักบำรุงพืช ซึ่งผลิตจากสารธรรมชาติ เป็นทางเลือกหนึ่งในการแก้ปัญหา ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ปุ๋ยเคมี การใช้หมักบำรุงพืชนอกจากจะช่วยบำรุงพืชผักแล้วยังช่วยทำให้ ดินร่วนซุย ไม่แข็งจนเกินไป กศน.ตำบลลำปางหลวง ได้เห็นความสำคัญดังกลาวจึงได้จัดทํา โครงการอบรมเรื่อง “การทำ ปุ๋ยน้ำสับปะรด” ขึ้น เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีความรูและความเขาใจในการทำปุ๋ยน้ำสับปะรดและ สามารถทำปุ๋ยน้ำสับปะรดใช้ในชีวิตประจำวันได้ หลักการของหลักสูตร 1. เป็นหลักสูตรที่มุ่งตอบสนองความสนใจและความต้องการในเรื่องของ การทำปุ๋ยน้ำ สับปะรด 2. เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 1. เพื่อใหผูเขารับการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 2. เพื่อใหผู้เขาอบรมสามารถถ่ายทอดความรู้ เกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 3. เพื่อใหผู้เขาอบรมสามารถทำปุ๋ยน้ำสับปะรด แล้วนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เป้าหมายการดำเนินงาน เชิงปริมาณ - จำนวนผู้ร่วมกิจกรรม 15 คน ชาย หญิง 2 13
2 วิธีดำเนินงาน ขั้นตอน/กิจกรรม งบประมาณ เป้าหมาย ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1. วางแผนการจัดทำโครงการ - 1 ส.ค.66 นางสาวสุทธิดา มาละเงิน 2. เสนอโครงการต่อผู้บริหารเพื่อขอ อนุมัติ/ประสานผู้เกี่ยวข้อง - 7 ส.ค.66 3. การดำเนินกิจกรรม - การทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 2,000 - 15 11 ส.ค.66 4. สรุป/รายงานผลการจัดกิจกรรม - 12 ส.ค.66 1.ชื่อโครงการ : โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไตรมาส 4 2. ความสอดคล้องกับนโยบาย 2.1 สอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561- 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (2) การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็ง ยั่งยืน และ ส่งเสริม เกษตรกรรายย่อยสู่เกษตรยั่งยืนเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (3) การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะ ผู้ประกอบการ ยกระดับผลิต ภาพแรงงานและพัฒนา SMEs สู่สากล 2.2 สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) กลยุทธ์ที่ 3 การขยายผลรูปแบบเกษตรยั่งยืนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีมูลค่าเพิ่มสูง จาก แบบอย่างความสำเร็จในประเทศ เช่น เกษตรตามโมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสี เขียว เกษตรปลอดภัยวนเกษตร เกษตรอินทรีย์ ท่องเที่ยวเกษตร ประมงพื้นบ้าน การทา ประมงถูกกฎหมาย และการปฏิบัติต่อแรงงานที่ถูกต้อง เป็นต้น กลยุทธ์ย่อยที่ 3.1 ส่งเสริมการทาเกษตรยั่งยืนที่ตระหนักถึงผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและ การพัฒนาที่อาศัยธรรมชาติเป็นพื้นฐาน ผ่านการดาเนินการปกป้อง จัดการอย่าง ยั่งยืน และฟื้นฟูธรรมชาติหรือ ระบบนิเวศที่เปลี่ยนไป เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย์ และเป็น ประโยชน์ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ อาทิ การปลูกป่าเศรษฐกิจ การทาวนเกษตร การลดการ เผาตอซัง การทาประมงถูกกฎหมาย การปฏิบัติต่อ แรงงานที่ถูกต้อง กลยุทธ์ย่อยที่ 3.2 สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จาเป็น เพื่อให้เกิดการขยายผลรูปแบบ เกษตรกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีมูลค่าเพิ่มสูง อาทิ สารชีวภัณฑ์ ปุ๋ยชีวภาพ พร้อมทั้งให้มี การจัดเก็บ ข้อมูลปริมาณการผลิตและการใช้สารชีวภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ย่อยที่ 3.3 จัดให้มีการบริหาร อนุรักษ์ เพาะพันธุ์ เพาะเลี้ยง พันธุ์พืช เฉพาะถิ่น สัตว์ น้า และปศุสัตว์ เพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตทางการเกษตรตามธรรมชาติ
3 กลยุทธ์ย่อยที่ 3.4 ขยายผลแบบอย่างความสาเร็จในการบริหารจัดการเพื่อผลิต สินค้าเกษตร ให้สอดคล้องกับทรัพยากรของชุมชนที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ 2.3 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 2.4 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2566 ของ สำนักงาน กศน. 4. การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.6 เพิ่มบทบาทการอาชีวศึกษาในการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการและกำลัง แรงงาน ในภาคเกษตร โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) และกลุ่มยุวเกษตรกร อัจฉริยะ (Young Smart Farmer) ที่สามารถรองรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ 2.3 สอดคล้องกับ มาตรฐาน กศน. มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ประเด็นการพิจารณาที่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และ หรือทักษะ และ หรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์ การ จบหลักสูตร ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วม ของสังคม ประเด็นการพิจารณาที่ 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้จน เห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอย่างที่ดี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง ประเด็นการพิจารณาที่ 2.1 หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ ประเด็นการพิจารณาที่ 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรการศึกษา ต่อเนื่อง ประเด็นการพิจารณาที่ 2.3 สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ประเด็นการพิจารณาที่ 2.4 การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ประเด็นการพิจารณาที่ 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องที่มี คุณภาพ
4 3. หลักการและเหตุผล สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สอดคล้องตาม ตามยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยด้าน การส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็น กิจกรรมที่ชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบ แนวคิดที่ชี้แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนที่ควร อยู่โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของ สังคมไทยและเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตน ได้ทุกระดับ โดยเน้นทางสาย กลาง การพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล รวมถึง ความจำเป็นที่ต้องมี ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบและความระมัดระวัง อย่างยิ่งในการ นำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินงานทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะต้อง เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริตและมีความรอบรู้ที่ เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน มีความเพียรพยายาม มีสติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้ สมดุลและพร้อมต่อ การรองรับกับความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้านวัตถุ สังคม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอก กศน.ตำบลลำปางหลวง ได้จัดทำโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เนื่องจากสังคมปัจจุบันต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม เพื่อให้รอดพ้นจาก ความเดือดร้อนและสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ แก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนได้ โดย การน้อมนำแนวทางการ พัฒนาระบบการจัดการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสามารถ พัฒนาและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใน การดำเนินชีวิตได้อย่างต่อเนื่อง และรู้จักการคิด วิเคราะห์ การ ใช้จ่ายของตนเอง โดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการนำความรู้มาประยุกต์ตามแนวทางการดำเนินชีวิตตามแนว ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 ประชาชนในตำบลลำปางหลวง จำนวน 15 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียง 6. ระยะเวลา ก.ค.-ส.ค.2566
5 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุทธิดา มาละเงิน ครูกศน. ตำบลลำปางหลวง 10. เครือข่าย 10.1 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเกาะคา 10.2 เทศบาลตำบลลำปางหลวง 10.3 กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ตำบลลำปางหลวง
6 บทที่ 2 ผลการดำเนินงาน 1. การใช้จ่ายงบประมาณ (ความก้าวหน้าของการใช้จ่ายงบประมาณคิดเป็นร้อยละของจำนวน งบประมาณที่งาน/โครงการได้รับการจัดสรร) หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง ตามโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ กศน.ตำบล ลำปางหลวง หมู่ที่ 8 ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง โดยเบิกจ่ายจากงบประมาณ ประจำปี 2566 แผนงาน : พื้นฐานการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ผลผลิตที่4 : ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ (งบดำเนินงาน) เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย ในการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัส งบประมาณ 20002350004002000000 รหัสกิจกรรมหลัก 20002660082400000 แหล่งของเงิน 6611200 จำนวนเงิน 2,000 บาท (สองพันบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้ 1. ค่าตอบแทนวิทยากร 200 บาท x 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 600 บาท 2. ค่าวัสดุฝึกอบรม เป็นเงิน 950 บาท 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 15 คน เป็นเงิน 450 บาท งบประมาณที่ได้รับ 2,000 บาท ใช้ไปแล้ว........0.......บาท ใช้ครั้งนี้......2,000.....บาท คงเหลือ......0....... บาท 2. กิจกรรมที่ดำเนินงาน + ผลผลิตของการดำเนินงาน/โครงการ (เชิงปริมาณและ คุณภาพ) 1) ประชุม/วางแผนการดำเนินงาน/โครงการ กศน.ตำบลลำปางหลวง ได้ดำเนินการประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการจัด กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2566 2) การดำเนินงาน 2.1ระยะเวลา 11 สิงหาคม 2566 2.2 สถานที่ ณ กศน.ตำบลลำปางหลวง หมู่ที่ 8 ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
7 2.3 กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในพื้นที่ตำบลลำปางหลวง จำนวนผู้ร่วมกิจกรรม 15 คน เพศ อายุ ต่ำกว่า รวม 15 ปี 15-29 ปี 30-39 ปี 40-49 ปี 50-59 60 ปี ขึ้นไป ชาย - - 1 - - 1 2 หญิง - - - - 2 11 13 รวม - - 1 - 2 12 15 จำนวนผู้จบกิจกรรม จำนวน 15 คน 2.4 วิทยากร นายพรภิรมณ์ จารุจารีต วุฒิการศึกษา ปริญญาโท 2.5 หลักสูตร หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด ดังนี้ ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง 1. การทำปุ๋ยน้ำสับปะรด - ประโยชน์ วิธีการใช้ และการเก็บรักษาปุ๋ยน้ำสับปะรด (ทฤษฎี 1 ชั่วโมง) - การทำปุ๋ยน้ำสับปะรด (ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง) หลักสูตร : หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด วันที่ดำเนินการ : วันที่ 11 สิงหาคม 2566 สถานที่ : กศน.ตำบลลำปางหลวง หมู่ที่ 8ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง วิทยากร : นายพรภิรมณ์ จารุจารีต สาระสำคัญ : การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาด้านอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพ ประกอบด้วย อาชีพด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม ด้านพาณิชยกรรม ด้านความคิดสร้างสรรค์ และด้านอำนวยการและอาชีพเฉพาะ ทาง โดยมุ่งให้กลุ่มเป้าหมายผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้านอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง และสร้างรายได้ที่มั่นคง อาชีพด้านเกษตรกรรม นับเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรของประเทศ และผลผลิตทางการ เกษตรส่วนใหญ่ใช้ปุ๋ยเคมีเป็นหลัก เนื่องจากหาซื้อง่าย ใช้แล้วเห็นผลรวดเร็ว แต่ในระยะยาวส่งผลให้ ดินเสื่อมโทรม รวมทั้งผลกระทบด้านสารตกค้างในผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพ ของผู้บริโภค การใช้ปุ๋ยหมักบำรุงพืช ซึ่งผลิตจากสารธรรมชาติ เป็นทางเลือกหนึ่งในการแก้ปัญหา ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ปุ๋ยเคมี การใช้หมักบำรุงพืชนอกจากจะช่วยบำรุงพืชผักแล้วยังช่วยทำให้ ดินร่วนซุย ไม่แข็งจนเกินไป
8 กศน.ตำบลลำปางหลวง ได้เห็นความสำคัญดังกลาวจึงได้จัดทํา โครงการอบรมเรื่อง “การทำ ปุ๋ยน้ำสับปะรด” ขึ้น เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีความรูและความเขาใจในการทำปุ๋ยน้ำสับปะรดและ สามารถทำปุ๋ยน้ำสับปะรดใช้ในชีวิตประจำวันได้ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อใหผูเขารับการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 2. เพื่อใหผู้เขาอบรมสามารถถ่ายทอดความรู้ เกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 3. เพื่อใหผู้เขาอบรมสามารถทำปุ๋ยน้ำสับปะรด แล้วนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ด้านกระบวนการ : 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้ารับการอบรมในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลลำปางหลวง อำเภอ เกาะคา จังหวัดลำปาง ในวันที่ 1 สิงหาคม 2566 2. ประสานวิทยากร กำหนดเนื้อหาการอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติกำหนดโครงการ/ กิจกรรม : การทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 3. ดำเนินการจัดอบรมหลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรดดังนี้ 1. รับลงทะเบียน และชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ โดย นางสาวสุทธิดา มาละเงิน ครู กศน.ตำบลลำปางหลวง ได้มีการชี้แจงวัตถุประสงค์ และได้มีนายอรรถพงษ์ เหียดใส ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน กองหาญ เป็นประธานกล่าวเปิดการดำเนินกิจกรรม และแนะนำวิทยากร คือ นายพรภิรมณ์ จารุ จารีต 2. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ ดังนี้ วันที่ 11 สิงหาคม 2566 การทำปุ๋ยน้ำสับปะรด - ประโยชน์ วิธีการใช้ และการเก็บรักษาปุ๋ยน้ำสับปะรด - การทำปุ๋ยน้ำสับปะรด
9 3. วิทยากรสาธิตทำปุ๋ยน้ำสับปะรดและให้ผู้เรียนฝึกทำปุ๋ยน้ำสับปะรดจนสำเร็จ การนิเทศ/ติดตาม การนิเทศติดตาม - การปรับปรุงแก้ไข/การดำเนินงาน หลังจากเสร็จสิ้นโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง กศน. ตำบลลำปางหลวง ได้มีการประชุมเพื่อสรุปผล การดำเนินงานและนำผลการดำเนินงานที่พบปัญหามาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนางานเพื่อหาข้อ ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ และได้นำมาแก้ไขในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
10 ผลผลิตของการดำเนินงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ประสบการณ์ และทักษะด้านการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด งสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และกิจกรรม ดังกล่าวบรรลุตามจุดประสงค์ที่วางไว้
11 รายชื่อผู้ผ่านหลักสูตร โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง 1. วิชาชีพที่เปิดสอน หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง 2. สถานที่ดำเนิน กศน.ตำบลลำปางหลวง หมู่ที่ 8 ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง 3. ประเภทพื้นที่ ( ✓ ) ในเขตเทศบาล ( ) นอกเขตเทศบาล 4. ระยะเวลาดำเนินการ ในวันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 น. ถึง 12.00 น. 5. วิทยากรผู้สอน นายพรภิรมณ์ จารุจารีต ที่ ชื่อ – สกุล ผลการประเมิน หมายเหตุ ผ่าน ไม่ผ่าน 1 นางสมพร คำหนัก ✓ 2 นางสาวอุบล สุนันทะ ✓ 3 นางสุทัน ไชยไพร ✓ 4 นางสมจิตต์ แสงมณี ✓ 5 นางอารีย์ วรรณโวหาร ✓ 6 นางทองศรี เรืองสิริกุล ✓ 7 นางอุสา กลใจ ✓ 8 นายกิตติศักดิ์ แสงสว่าง ✓ 9 นางสาวจันทร์สม สุนันทะ ✓ 10 นางจันทร์ โชติ ✓ 11 นางสุวิน ไชยการ ✓ 12 นางลาไม ขัตินนท์ ✓ 13 นางมาลี ตุงใย ✓ 14 นายมนัส จันทร์ทิพย์ ✓ 15 นางสาวกัลยา จุมป๋าคำ ✓ รวม 15
12 บทที่ 3 ประเมินผลการดำเงินงาน วิธีการดำเนินการศึกษา การศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง วันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ กศน.ตำบลลำปางหลวง หมู่ที่ 8 ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ประซาชนในพื้นที่ตำบลลำปางหลวงโครงการจัด กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง วันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ กศน.ตำบลลำปางหลวง หมู่ที่ 8 ตำบลลำปางหลวง อำเภอ เกาะคา จังหวัดลำปาง โดยศึกษาความพึงพอใจต่อการร่วมกิจกรรม สรุปได้ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใหผูเขารับการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 2. เพื่อใหผู้เขาอบรมสามารถถ่ายทอดความรู้ เกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด 3. เพื่อใหผู้เขาอบรมสามารถทำปุ๋ยน้ำสับปะรด แล้วนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. วิธีดำเนินการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 15 คน 2.1 แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 15 คน โดยมีผู้ร่วมตอบแบบสอบถาม จำนวน 15 ชุด ได้กลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ 2.1.1 เพศชาย จำนวน 2 คน 2.1.2 เพศหญิง จำนวน 13 คน 3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 สถานภาพทั่วไป ส่วนที่ 2 ระดับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมการฝึกอบรมโครงการแบ่งออกเป็น 5 ตอน ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร
13 ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก ตอนที่ 5 ความพึงพอใจด้านการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ส่วนที่ 3 การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ 4. วิธีการสร้างเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล สร้างขึ้นจากการศึกษา สำรวจ วิเคราะห์เอกสาร และ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง เพื่อให้ เหมาะสมกับการนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 5. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งใช้เครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล ช่วงเวลาที่เก็บรวบรวมข้อมูล วันที่ 11 สิงหาคม 2566 โดยแจกแบบสอบถามประเมิน ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 15 ชุด ได้รับคืน จำนวน 15 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 วิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้ โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง วันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ กศน.ตำบลลำปางหลวง หมู่ที่ 8 ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 15 คน N = 100 ส่วนที่ 1 สถานภาพทั่วไป ตารางที่ 1 เพศ เพศ จำนวน (N = 100) คิดเป็นร้อยละ เพศชาย 2 13.33 เพศหญิง 13 86.67 รวม 15 100.00 จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 86.67 ตารางที่ 2 อายุ อายุ จำนวน (N = 100) คิดเป็นร้อยละ ต่ำกว่า 15 ปี - - 15 - 29 ปี - - 30 - 39 ปี 1 6.67 40 - 49 ปี - - 50 - 59 ปี 2 13.33
14 อายุ จำนวน (N = 100) คิดเป็นร้อยละ 60 ปีขึ้นไป 12 80.00 รวม 15 100.00 จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 80.00 และมี อายุ 50 - 59 ปีร้อยละ 13.33 ตามลำดับ ตารางที่ 3 ระดับการศึกษา การศึกษา จำนวน (N = 100) คิดเป็นร้อยละ ต่ำกว่าปริญญาตรี 14 93.33 ปริญญาตรี - - สูงกว่าปริญญาตรี 1 6.67 รวม 15 100.00 จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 100 ตารางที่ 4 อาชีพ อาชีพ จำนวน (N = 100) คิดเป็นร้อยละ เกษตรกร 7 46.67 รับจ้าง 1 6.67 ค้าขาย 1 6.67 ไม่มีอาชีพ - - อื่น ๆ ระบุ แม่บ้าน 6 40.00 รวม 15 100.00 จากตารางที่ 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ มีอาชีพเกษตรกร ร้อยละ 46.67 รองลงมา มี อาชีพอื่น ๆ ระบุ แม่บ้าน ร้อยละ 40.00 และสุดท้ายมีอาชีพรับจ้างและค้าขาย ร้อยละ 6.67
15 ส่วนที่ 2 ระดับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมการฝึกอบรมโครงการ ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 6 คน ร้อยละ 40.00 6 คน ร้อยละ 40.00 3 คน ร้อยละ 20.00 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 8 คน ร้อยละ 53.33 7 คน ร้อยละ 46.67 0 คน ร้อยละ 0.00 3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย 5 คน ร้อยละ 33.33 5 คน ร้อยละ 33.33 5 คน ร้อยละ 33.33 4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการ นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต 7 คน ร้อยละ 46.67 7 คน ร้อยละ 46.67 1 คน ร้อยละ 6.67 รวม 43.33 41.67 15.00 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 5 คน ร้อยละ 33.33 8 คน ร้อยละ 53.33 2 คน ร้อยละ 13.33 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสม กับวัตถุประสงค์ 5 คน ร้อยละ 33.33 10 คน ร้อยละ 66.67 0 คน ร้อยละ 0.00 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับ เวลา 5 คน ร้อยละ 33.33 3 คน ร้อยละ 20.00 7 คน ร้อยละ 46.67 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย 9 คน ร้อยละ 60.00 4 คน ร้อยละ 26.67 2 คน ร้อยละ 13.33
16 ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 9 วิธีการวัดผล/ประเมินผล เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4 คน ร้อยละ 26.67 10 คน ร้อยละ 66.67 1 คน ร้อยละ 6.67 รวม 37.33 46.67 16.00 ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถ ในเรื่องที่ถ่ายทอด 10 คน ร้อยละ 66.67 5 คน ร้อยละ 33.33 0 คน ร้อยละ 0.00 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้ สื่อเหมาะสม 4 คน ร้อยละ 26.67 8 คน ร้อยละ 53.33 3 คน ร้อยละ 20.00 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม และซักถาม 6 คน ร้อยละ 40.00 9 คน ร้อยละ 60.00 0 คน ร้อยละ 0.00 รวม 44.44 48.89 6.67 ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่ง อำนวยความสะดวก 6 คน ร้อยละ 40.00 6 คน ร้อยละ 40.00 3 คน ร้อยละ 20.00 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 8 คน ร้อยละ 53.33 5 คน ร้อยละ 33.33 2 คน ร้อยละ 13.33 15 การบริการ การช่วยเหลือและ การแก้ปัญญา 7 คน ร้อยละ 46.67 6 คน ร้อยละ 40.00 2 คน ร้อยละ 13.33 รวม 46.67 37.78 15.56 ตอนที่ 5 ความพึงพอใจด้านการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 16 เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรง ความต้องการของท่านได้ 8 คน ร้อยละ 53.33 4 คน ร้อยละ 26.67 3 คน ร้อยละ 20.00
17 ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 17 ได้รับความรู้และสามารถฝึก ทักษะได้ตามความหวัง 3 คน ร้อยละ 20.00 10 คน ร้อยละ 66.67 2 คน ร้อยละ 13.33 18 ความรู้และทักษะที่ได้รับ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ ประกอบอาชีพ และดำเนิน ชีวิตประจำวันได้ 7 คน ร้อยละ 46.67 8 คน ร้อยละ 53.33 รวม 40.00 46.67 13.33 ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมการฝึกอบรมโครงการคิดเป็นร้อยละ 100.00 จากตาราง ระดับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความพึงพอใจ ดังนี้ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา ระดับมาก ร้อยละ 43.33 และรองลงมาระดับมากที่สุด ร้อยละ 41.67 และระดับปานกลาง ร้อยละ 15.00 ตามลำดับ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ระดับมาก ร้อยละ 37.33 และ รองลงมาระดับมากที่สุด ร้อยละ 46.67 และระดับปานกลาง ร้อยละ 16.00 ตามลำดับ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร ระดับมากที่สุด ร้อยละ 44.44 และรองลงมาระดับมาก ร้อยละ 48.89 และระดับปานกลาง ร้อยละ 6.67 ตามลำดับ ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความ ระดับมาก ร้อยละ 46.67 และรองลงมาระดับมากที่สุด ร้อยละ 37.78 และระดับปานกลาง ร้อยละ 15.56 ตามลำดับ ตอนที่ 5 ความพึงพอใจด้านการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ระดับมาก ร้อยละ 40.00 และรองลงมา ระดับมากที่สุด ร้อยละ 46.67 และระดับปานกลาง ร้อยละ 13.33 ตามลำดับ
18 ส่วนที่3 การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ผู้ผ่านการฝึกอบรมที่สามารถนำความรู้ไปใช้เพื่อ ต่อยอดอาชีพ สร้างรายได้เสริม ประกอบอาชีพใหม่ นำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันเพื่อลด รายจ่าย - - - 15 คน ร้อยละ 100 จากตารางดังกล่าวผู้ผ่านการฝึกอบรมที่สามารถนำความรู้ไปใช้มากที่สุด เพื่อนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อลดรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปผลการประเมิน ตัวชี้วัดความสำเร็จหลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง ตัวชี้วัดความสำเร็จ เกณฑ์การ ประเมิน คิดเป็น ร้อยละ เป้าหมายการบรรลุ โครงการ หมายเหตุ บรรลุ ไม่บรรลุ จำนวนผู้ที่เข้าร่วม กิจกรรม/โครงการ ร้อยละ 80 100.00 ความพึงพอใจของ ผู้เข้าร่วมโครงการใน ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 80 100.00 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ จากการดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงหลักสูตรการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด จำนวน 3 ชั่วโมง การเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ มีความรู้ ประสบการณ์และทักษะด้านการทำปุ๋ยน้ำสับปะรด สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้และ กิจกรรมดังกล่าวบรรลุตามจุดประสงค์ที่วางไว้
19 ผู้จัดทำ ที่ปรึกษา นางจิดาภา สนนิคม ผู้อำนวยการ สกร.อำเภอเกาะคา คณะทำงาน 1. นางสาวนาตยา วุฒิธนูทอง ครู ชำนาญการ 2. นางสาวชนิดา ยาลังกา ครูอาสาสมัคร กศน. 3.นางสาวสุทธิดา มาละเงิน ครู กศน. ตำบลลำปางหลวง รวบรวม/เรียบเรียง นางสาวสุทธิดา มาละเงิน ครู กศน. ตำบลลำปางหลวง ออกแบบปก นางสาวสุทธิดา มาละเงิน ครู กศน. ตำบลลำปางหลวง รูปเล่ม นางสาวสุทธิดา มาละเงิน ครู กศน. ตำบลลำปางหลวง บรรณาธิการ 1. นางจิดาภา สนนิคม ผู้อำนวยการ สกร.อำเภอเกาะคา 2. นางสาวสุทธิดา มาละเงิน ครู กศน. ตำบลลำปางหลวง
20