The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กฎหมายใกล้ตัว

กฎหมายใกล้ตัว

กฎหมายใกลต้ วั

K W L
คณุ รูอ้ ะไรเกย่ี วกบั กฎหมาย คณุ อยากรูอ้ ะไรเกย่ี วกบั กฎหมาย หลงั จากเรยี นคณุ รูอ้ ะไร

-
-
-
-



ความหมายของกฎหมาย

พจนานุกรมศพั ทก์ ฎหมายไทยฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานอธบิ ายความหมาย
กฎหมายไวว้ า่

“ กฎทสี่ ถาบนั หรือผูม้ อี านาจสูงสุดในรฐั ตราข้นึ หรือเกดิ จากจารีตประเพณีอนั
เป็น ทยี่ อมรบั นบั ถอื เพอื่ ใชใ้ นการบริหารประเทศ เพอื่ ใชบ้ งั คบั บคุ คลให้
ปฏบิ ตั ติ ามหรือเพอื่ กาหนดระเบยี บแหง่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลกบั รฐั ”

ความสาคญั ของกฎหมาย

 กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ กฎระเบยี บใชบ้ งั คบั และควบคุมความประพฤตขิ องคน

ในสงั คม ใหอ้ ยู่ร่วมกนั อย่างมคี วามสุข กฎหมายจงึ มคี วามสาคญั ต่อประชาชน

และประเทศชาติ ดงั น้ี
 1) กฎหมายเป็นเครอ่ื งมอื ในการบรหิ ารประเทศ
 2) กฎหมายเป็นเคร่อื งมอื ในการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยของสงั คมและ

ประเทศชาติ
 3) กฎหมายก่อใหเ้กดิ ความเป็นธรรมในสงั คม
 4) กฎหมายเป็นหลกั ในการจดั ระเบยี บการดาเนนิ ชวี ติ ใหแ้ ก่ประชาชน
 5) กฎหมายเป็นหลกั สาคญั ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ขิ องมนุษย์

ลกั ษณะทวั่ ไปของกฎหมาย

 1) กฎหมายตอ้ งมลี กั ษณะเป็นคาสงั่ หรอื ขอ้ บงั คบั
 2) กฎหมายตอ้ กาหนดความประพฤตทิ ม่ี าจากรฏั ฐาธปิ ตั ย์
 3) กฎหมายตอ้ งกาหนดความประพฤตขิ องบคุ คล
 4) กฎหมายเป็นขอ้ บงั คบั ทใ่ี ชไ้ ดท้ วั่ ไป
 5) กฎหมายตอ้ งมสี ภาพบงั คบั

2.1) กฎหมายสารบญั ญตั ิ คือ กฎหมายทม่ี ลี กั ษณะเป็นเน้ือแทข้ อง
กฎหมายกาหนดสทิ ธิและหนา้ ทข่ี องบคุ คลไว้ เช่น ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ หรอื เป็นกฎหมาย ทก่ี าหนดการกระทา

 2.2) กฎหมายวธิ สี บญั ญตั ิ คอื กฎหมายทม่ี ลี กั ษณะกาหนดวธิ ีการ
ดาเนินการ ทท่ี าใหข้ อ้ หา้ มขอ้ บงั คบั ทบ่ี ญั ตั ไิ วใ้ นกฎหมายดาเนินไป
ดว้ ยความเรยี บรอ้ ย กลา่ วคือ จะเป็นบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายท่ี
กลา่ วถงึ ในสว่ นของกระบวนการทจ่ี ะบงั คบั การใหเ้ป็นไปตาม
กฎหมายสารบญั ญตั ิ

1.1) กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายทก่ี าหนด
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั กบั พลเมอื งของรฐั ในฐานะทร่ี ฐั
มอี านาจเหนือพลเมอื ง

1.2) กฎหมายเอกชน กฎหมายเอกชนเป็นกฎหมายซง่ึ
รฐั ไดบ้ ญั ญตั ขิ ้นึ เพอ่ื กาหนดความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอกชน
ดว้ ยกนั

กฎหมายใกลต้ วั ทน่ี กั เรยี นควรรู้
กฎหมายคุม้ ครองเดก็ : พ.ร.บ. คุม้ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖
กฎหมายการศึกษา : พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
กฎหมายเก่ยี วการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค
กฎหมายเก่ยี วกบั ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา
กฎหมายลขิ สทิ ธ์ิ

กฎหมายคุม้ ครองเดก็ : พ.ร.บ. คุม้ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖

เดก็ คอื บคุ คลซง่ึ มอี ายุตา่ กว่าสบิ แปดปีบรบิ รู ณ์ แต่ไมร่ วมผูท้ บ่ี รรลนุ ิติ
ภาวะดว้ ยการสมรส

กฎหมายคุม้ ครองเด็ก : พ.ร.บ. คุม้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มีประเด็น
สาคญั โดยสรุป ดงั น้ี

1. หลกั การสาคญั ๆ เก่ยี วกบั สทิ ธเิ ดก็
1) หลกั การเพอ่ื ประโยชนส์ ูงสุดของเดก็ และไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ
2) หลกั การยอมรบั นบั ถอื อานาจปกครองของบดิ ามารดา
3) หลกั การแทรกแซงอานาจปกครองของบดิ ามารดาโดยอานาจรฐั

2. บทบาทหนา้ ที่ท่ีพึงปฏิบตั ิต่อเดก็

ผูป้ กครอง

1. ใหก้ ารอปุ การะเล้ยี งดู อบรมสงั่ สอน และพฒั นา
2. การอปุ การะเล้ยี งดูตอ้ งไม่ตา่ กว่าท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
3. คุม้ ครองสวสั ดิภาพเด็กท่ีอยูใ่ นความปกครองดูแล
4. ไม่ทอดท้ิงเด็กไวใ้ นสถานรบั เล้ยี งเด็กหรือไวก้ บั บคุ ลท่รี บั จา้ งเล้ยี งเด็ก หรือท่ีสาธารณะ หรือ

สถานท่ีใด โดยเจตนาท่จี ะไม่รบั เด็กกลบั คืน
5. ไม่ละท้ิงเด็กไว้ ณ สถานท่ใี ดๆ โดยไม่มีการเล้ยี งดูใหเ้ หมาะสม
6. ไม่จงใจหรือละเลยไม่ใหส้ ่งิ ท่ีจาเป็ นแกก่ ารดารงชีวิตหรือสขุ ภาพอนามยั จนน่าจะเกดิ อนั ตรายแก่

ร่ายการหรือจติ ใจของเด็ก
7. ไม่ปฏบิ ตั ิต่อเด็กในลกั ษณะท่เี ป็ นการขดั ขวางการเจรญิ เติบโตหรือพฒั นาการเด็ก
8. ไม่ปฏิบตั ติ ่อเด็กในลกั ษณะท่ีเป็ นการเล้ยี งดูโดยมิชอบ

รฐั

1. คมุ้ ครองสวสั ดภิ าพท่อี ยู่ในเขตพ้นื ทร่ี บั ผิดชอบ ไม่วา่ จะมีผูป้ กครองหรอื ไม่กต็ าม
2. ดูแลและตรวจสอบสถานรบั เล้ยี งเดก็ สถานแรกรบั สถานสงเคราะห์ สถาน

คมุ้ ครองสวสั ดภิ าพ สถานพฒั นาฟ้ื นฟู และสถานพนิ ิจทต่ี ง้ั อยู่ในเขตพ้นื ท่ที ่ี
รบั ผิดชอบ

เดก็ ท่คี วรไดร้ บั การคมุ้ ครองตามกฏหมาย

1. ผูป้ กครองตกอยูใ่ นสภาพไมอ่ าจใหก้ ารอปุ การะเล้ยี งดู
2. ผูป้ กครองกระทาการใดอนั น่าจะเกดิ อนั ตรายตอ่ สวสั ดิภาพหรอื ขดั ขวางตอ่ ความเจริญหรอื

พฒั นาการของเด็ก
3. ผูป้ กครองเล้ยี งดูเด็กโดยมชิ อบ
4. มเี หตจุ าเป็นใหป้ ้ องกนั เดก็ มิใหไ้ ดร้ บั อนั ตรายหรอื ถกู เลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไม่เป็นธรรม

ประเภทของเด็กทพ่ี งึ ไดร้ บั การสงเคราะห์

1. เด็กเรร่ อ่ น
2. เด็กท่ีถกู ทอดท้ิง
3. เด็กท่ีผูป้ กครองไม่สามารถเล้ยี งดูได้
4. เด็กท่ผี ูป้ กครองประกอบอาชีพไม่เหมาะสมอาจสง่ ผลใหก้ ระทบต่อพฒั นาการทางดา้ นร่างกายและ

จติ ใจของเด็ก
5. เด็กท่ีไดร้ บั การเล้ยี งดูโดยมิชอบ
6. เด็กพกิ าร
7. เด็กท่อี ยูใ่ นสภาพยากลาบาก
8. เด็กท่อี ยูใ่ ยสภาพจาตอ้ งไดร้ บั การสงเคราะหต์ ามท่กี าหนดในกฎกระทรวง

เด็กท่พี งึ ไดร้ บั การคมุ้ ครองสวสั ดิภาพ

1. เดก็ ทถ่ี กู ทารุณกรรม
2. เดก็ ทเ่ี สย่ี งตอ่ การกระทาความผิด
3. เด็กท่อี ยูใ่ นสภาพท่จี าเป็นตอ้ งไดร้ บั การคมุ้ ครองสวสั ดิภาพตามท่กี าหนดใน

กฎกระทรวง

มาตรากรสง่ เสรมิ ความประพฤตนิ กั เรยี นและนกั ศึกษา

1. เป็นหนา้ ท่ขี องโรงเรยี นและสถานศึกษาทจ่ี ะตอ้ งจดั ใหม้ ีการระบบงานและกจิ กรรม
ในการแนะแนวศึกษาและฝึ กอบรมแกน่ กั เรียน นกั ศึกษาและผูป้ กครอง เพ่อื
สง่ เสรมิ ความประพฤตทิ เ่ี หมาะสม ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและตอ่ สงั คม และ
ความปลอดภยั แกน่ กั เยนและนกั ศึกษา

2. เป็นทข่ี องนกั เรียน นกั ศึกษาจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ โรงเรยี นหรอื
สถานศึกษา หากฝ่ าฝื น มอบอานาจใหผ้ ูบ้ รหิ ารโรงเรยี นหรอื สถานศึกษาเพ่อื สอบถาม
และอบรมสงั่ สอนหรอื ลงโทษตามระเบยี บ แลว้ แจง้ ผูป้ กครองใหว้ า่ กลา่ วตกั เตอื น
หรอื สงั่ สอนเดก็ อกี ชน้ั หน่ึง

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพิม่ เติม
ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2546)มีสาระสาคญั ดงั น้ี

1) ความมงุ่ หมายและหลกั การ

ในการจดั การศึกษาตอ้ งเป็นไปเพอ่ื พฒั นาคนไทย ใหเ้ป็นมนุษยท์ ส่ี มบรู ณ์
ทงั้ ร่างกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา ความรูแ้ ละคณุ ธรรม มจี รยิ ธรรมและวฒั นธรรมใน
การดาเนินชวี ติ สามารถอยู่ร่วมกนั อย่างมคี วามสขุ
 การจดั การศึกษาใหย้ ดึ หลกั การศึกษาตลอดชวี ติ สาหรบั ประชาชน ใหส้ งั คมมี
ส่วนรวมในการจดั การศึกษา มกี ารพฒั นาสาระและกระบวนการเรยี นรูใ้ หเ้ป็นไปอย่าง
ต่อเน่ือง

2) สทิ ธแิ ละหนา้ ทท่ี างการศกึ ษา ไดแ้ ก่
 2.1) สทิ ธแิ ละหนา้ ท่ขี องรฐั

1) รฐั ตอ้ งจดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานไม่นอ้ ยกว่าสบิ สองปี

2) รฐั ตอ้ งจดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานเป็นพเิ ศษสาหรบั บุคคลท่ีมคี วาม
บกพรอ่ งทางรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา อารมณ์ สงั คม การสอ่ื สารและการ
เรยี นรู้

2.2) สทิ ธิและหนา้ ทข่ี องบดิ ามารดา หรอื ผูป้ กครอง
 (1) หนา้ ทจ่ี ดั ใหบ้ ตุ รหรอื บคุ คลซง่ึ อยู่ในความดูแบไดร้ บั การศึกษาภาคบงั คบั

จานวนเกา้ ปี โดยใหเ้ดก็ ซง่ึ มอี ายุย่างเขา้ ปีท่เี จด็ เขา้ เรยี นในสถานศึกษาขน้ั
พ้นื ฐานจาอายุยา่ งเขา้ ปีทส่ี บิ หก เวน้ แต่สอบไดช้ น้ั ปีทเ่ี กา้ ของการศึกษาภาคบงั คบั
ตลอดจนใหไ้ ดร้ บั การศึกษานอกเหนือจากการศึกษาภาคบงั คบั ตามความพรอ้ ม
ของครอบครวั

2.3) สทิ ธปิ ระโยชนจ์ ากรฐั ไดแ้ ก่
 (1) การสนบั สนุนจากรฐั ใหม้ ีความรูค้ วามสามารถในการอบรมเล้ยี งดูและใหก้ ารศึกษาแก่

บตุ ร หรอื บคุ คลซ่ึงอยูใ่ นความดูแล
 (2) เงนิ อดุ หนุนจากรฐั สาหรบั การจดั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานของบตุ รหรอื บคุ คลซ่ึงอยูใ่ นความ

ดูแลท่คี รอบครวั จดั ใหต้ ามทก่ี าหมายกาหนด
 (3) การลดหยอ่ นหรอื ยกเวน้ ภาษีสาหรบั คา่ ใชจ้ า่ ยการศึกษาตามท่กี ฎหมายกาหนด

3) ระบบการศกึ ษา การจดั การศึกษามี 3 รูปแบบ ดงั น้ี

การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาทก่ี าหนดจดุ มงุ่ หมาย วธิ กี ารศึกษา หลกั สูตรระยะเวลา
ของการศึกษา การวดั และประเมนิ ผล ซง่ึ เป็นเงอ่ื นไขของการสาเรจ็ การศึกษาท่แี น่นอน

การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาทม่ี คี วามยดื หย่นุ ในการกาหนดจดุ ม่งุ หมาย รูปแบบ
วธิ กี ารจดั การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวดั และประเมนิ ผล ซง่ึ เป็นเงอ่ื นไขสาคญั
ของการสาเร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลกั สูตรจะตอ้ งมคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั
สภาพปญั หาและความตอ้ งการของบคุ คล แต่ละกลมุ่

การศึกษาตามอธั ยาศยั เป็นการศึกษาทใ่ี หผ้ ูเ้รยี นรูด้ ว้ ยตนเองตามความสนใจ ศกั ยภาพ
ความพรอ้ มและโอกาส โดยศึกษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สงั คม สภาพแวดลอ้ ม สอ่ื หรอื
แหลงความรูอ้ น่ื ๆ

4) แนวการจดั การศึกษา
 ในการจดั การศึกษานน้ั จะตอ้ งยดึ หลกั วา่ ผูเ้รยี น ทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรูแ้ ละพฒั นา

ตนเองได้ และถอื วา่ ผูเ้รยี นมคี วามสาคญั ทส่ี ดุ กระบวนการจดั การศึกษาตอ้ งส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้รยี น
สามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ศกั ยภาพ
 การจดั การศึกษาทงั้ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั
ตอ้ งเนน้ ความสาคญั ทงั้ ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรยี นรูแ้ ละบรู ณาการตามความเหมาะสม

ของแต่ละระดบั การศึกษา
 ในพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาตฉิ บบั น้ี ไดก้ าหนดใหร้ ฐั มหี นา้ ท่ใี นการสง่ เสรมิ การ

ดาเนนิ งานและจดั ตงั้ แหลง่ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ทกุ รูปแบบ

พระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค พ.ศ. 2522
และพระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค (ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2541)

 ผูบ้ รโิ ภค หมายความถงึ ผูซ้ ้อื หรอื ผูท้ ไ่ี ดร้ บั บรกิ ารจากผูป้ ระกอบธุรกจิ
หรอื ผูไ้ ดร้ บั การเสนอ หรอื การชกั ชวนจากผูป้ ระกอบธุรกจิ เพ่อื ใหซ้ ้อื
สนิ คา้ หรอื รบั บรกิ าร และหมายรวมถงึ ผูใ้ ชส้ นิ คา้ หรอื ผูไ้ ดร้ บั บรกิ ารจาก
ผูป้ ระกอบธุรกจิ โดยชอบแมไ้ มไ่ ดเ้ป็นผูเ้สยี ค่าตอบแทนก็ตาม

1) สทิ ธขิ องผูบ้ รโิ ภค

1. สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ทราบขา่ วสารรวมทง้ั คาพรรณาคุณภาพทถ่ี ูกตอ้ งและเพยี งพอ
2. สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ความปลอดภยั จากการเลอื กซ้อื สนิ คา้ หรอื บรกิ าร
3. สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ความปลอดภยั จากการใชส้ นิ คา้ หรอื บรกิ าร
4. สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ความเป็นทาในการทาสญั ญา
5. สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั การพจิ ารณาและชดเชยความเสยี หาย









อานาจและหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค

 1. พิจารณาเร่ืองราวร้องทุกขจ์ ากผบู้ ริโภคท่ีไดร้ ับความเดือดร้อนหรือเสียหายอนั
เน่ืองมาจากการกระทาของผปู้ ระกอบธุรกิจ

 2. ดาเนินการเก่ียวกบั สินคา้ ท่ีอาจเป็นอนั ตรายแก่ผบู้ ริโภคตามกาหมาย
 3. แจง้ หรือโฆษณาข่าวสารเก่ียวกบั สินคา้ หรือบริการท่ีอาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือ

เส่ือมเสียแก่สิทธิของผบู้ ริโภค ในการน้ีจะระบุชื่อสินคา้ หรือบริการหรือช่ือของผู้
ประกอบธุรกิจดว้ ยก็ได้
 4. ดาเนินคดีเกี่ยวกบั การละเมิดสิทธิของผบู้ ริโภคที่คณะกรรมการเห็นสมควร

หน่วยงานท่คี มุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค

1) ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นเก่ยี วกบั อาหารและยาหรอื เครอ่ื งสาอางคเ์ ป็นหนา้ ทข่ี อง
คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณะ ทต่ี อ้ งเขา้ มาดูแล

2) ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นเก่ยี วกบั มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม กระทรวง
อตุ สาหกรรมทต่ี อ้ งเขา้ มาดูแล

3) ไดร้ บั ความเดอื นรอ้ นเก่ยี วกบั เจา้ ของกจิ การธุรกจิ จดั สรรทด่ี ิน อาคารชดุ ก็
เป็นหนา้ ทข่ี องกรมทด่ี นิ กระทรวงมหาดไทย

4) ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นเกย่ี วกบั การประกนั ภยั หรอื ประกนั ชวี ติ เป็นหนา้ ทข่ี อง
กรมการประกนั ภยั กระทรวงพานิชย์

กลไกการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภคในดา้ นต่างๆ

 ดา้ นการโฆษณา ไดแ้ ก่
 1. ในการโฆษณาจะตอ้ งไมใ่ ชข้ อ้ ความทเ่ี ป็นการไมเ่ ป็นธรรมต่อผูบ้ รโิ ภคหรือใชข้ อ้ ความ

ทอ่ี าจก่อใหเ้กดิ ผลเสยี ต่อส่วนรวม
 2. ในการโฆษณาจะตอ้ งไมก่ ระทาดว้ ยวธิ กี ารอนั อาจเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพ ร่างกาย

หรอื จติ ใจ หรืออาจก่อใหเ้กิดความราคาญแก่ผูบ้ รโิ ภคตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง
 3. ในกรณีทค่ี ณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณาเหน็ ว่าสนิ คา้ ใดอาจเป็นอนั ตรายแก่

ผูบ้ ริโภคและคณะกรรมการว่าดว้ ยฉลากไดก้ าหนดใหส้ นิ คา้ นนั้ เป็นสนิ คา้ ท่คี วบคมุ ฉลาก
ตามกฎหมาย









ดา้ นฉลาก ไดแ้ ก่
 1. ใหส้ นิ คา้ ทผ่ี ลติ เพอ่ื ขายโดยโรงงานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงงานและสนิ คา้ ทส่ี งั่

หรอื นาเขา้ มาในราชอาณาจกั ร เพอ่ื ขายเป็นสนิ คา้ ทค่ี วบคมุ ฉลาก
 2. ฉลากของสนิ คา้ ทค่ี วบคุมจะตอ้ งใชข้ อ้ ความทต่ี รงต่อความเป็นจริง ไมม่ ี

ขอ้ ความทอ่ี าจก่อใหเ้กดิ ความเขา้ ใจผดิ ในสาระสาคญั เกย่ี วกบั สนิ คา้ และตอ้ งระบชุ ่อื
หรอื เคร่อื งหมายการคา้ ของผูผ้ ลติ หรอื ของผูน้ าเขา้ สถานทผ่ี ลติ หรือสถานประกอบ
ธุรกจิ นาเขา้ ระบรุ าคา ปรมิ าณ วธิ ใี ช้ ขอ้ แนะนา คาเตอื น วนั เดือน ปี ทห่ี มดอายุ







ดา้ นสญั ญา

สญั ญา หมายความว่า ความตกลงกนั ระหวา่ งผูบ้ รโิ ภคและ
ประกอบธุรกจิ เพอ่ื ซ้อื และขายสนิ คา้ หรอื ใหแ้ ละรบั บรกิ าร

ถา้ สญั ญาซ้อื ขายหรอื สญั ญาใหบ้ รกิ ารนนั้ มกี ฎหมายกาหนดให้
ตอ้ งทาเป็นหนงั สอื หรอื ทต่ี ามปกตปิ ระเพณีทาเป็นหนงั สอื


Click to View FlipBook Version