The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติข้อมูลท้องถิ่นตำบลป่าตาล อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สนธยา ศรีดี, 2022-11-15 23:34:59

ประวัติข้อมูลท้องถิ่นตำบลป่าตาล

ประวัติข้อมูลท้องถิ่นตำบลป่าตาล อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

Keywords: เทศบาลตำบลป่าตาล

ประวตั ขิ อ้ มลู ท้องถิ่นตำบลป่าตาล

ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมอื งลพบรุ ี จังหวดั ลพบุรี

ตำบลป่าตาลเป็นตำบลหนึ่งในจำนวน 24 ตำบลของอำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ต้ังอยู่ห่าง
จากอำเภอเมืองลพบุรี ประมาณ 5 กิโลเมตร มีพ้ืนท่ีประมาณ 14.60 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
9,125 ไร่ เป็นที่ราบลุ่มมีลักษณะคล้ายแอ่งกระทะ มีคลองชลประทานชัยนาท – ป่าสัก ไหลผ่าน
ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจ้างท่ัวไป ค้าขาย และอาชีพรับราชการ การขนส่งและการ
คมนาคมทางบกมเี สน้ ทางสายหลักเช่ือมตอ่ กบั พื้นท่ีตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างสะดวก

ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับ อาณาเขต
ทิศใต้ ติดตอ่ กับ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลทะเลชบุ ศร เทศบาลเมืองลพบุรี จังหวดั ลพบรุ ี
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลกกโก ตำบลโคกลำพาน อำเภอเมืองลพบรุ ี จังหวัดลพบุรี
ตำบลท่าศาลา ตำบลกกโก อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
ตำบลโพธ์เิ กา้ ต้น อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี

แผนทีต่ ำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบุรี จงั หวัดลพบรุ ี

การปกครอง

แบง่ ออกเป็น 8 หมบู่ ้าน โดยมชี ื่อหมู่บ้าน จำนวนประชากร และจำนวนครัวเรือน ดังนี้

หม่ทู ี่ ชอ่ื บา้ น จำนวนประชากร จำนวนครวั เรือน
(คน)
1 บ้านห้วยเปย่ี ม 3,167 1,490
2 บ้านห้วยเปี่ยม 2,119 1,235
3 บ้านกกมะเกลือ 3,008 1,697
4 บา้ นป่าตาล 409 162
5 บ้านปา่ ตาล 480 145
6 บ้านปา่ หวายเก่า 2,123 1,281
7 บา้ นป่าหวายทุ่ง 445 156
8 บ้านพรมน้ำอบ 1,221 529
6,677
รวมทั้งสนิ้ 8 หมบู่ า้ น 12,972

ข้อมลู ณ เดือน กรกฎาคม 2565

ประวัตคิ วามเปน็ มาของตำบลปา่ ตาล

ท่ีมาของช่ือ “ตำบลป่าตาล” นี้ จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่เล่าขานสืบต่อกันมาว่าพ้ืนท่ีแห่งน้ีมี
“ต้นตาลโตนด” ข้ึนอยู่เป็นป่าทึบอย่างหนาแน่นโดยเฉพาะในบริเวณพื้นที่บ้านป่าตาลหมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 5
ในปัจจุบัน แต่บางกระแสก็เล่าขานสืบต่อกันมาว่าในอดีตและกระท่ังปัจจุบันน้ีคนส่วนใหญ่จะรู้จักและเรียก
ขานพ้ืนที่ตำบลป่าตาลว่า “บ้านป่าหวาย” เน่ืองจากในพื้นท่ีตำบลป่าตาลก็มีต้นหวายข้ึนอยู่อย่างหนาแน่น
เช่นเดียวกันโดยเฉพาะบริเวณวัดป่าหวายทุ่ง และบ้านป่าหวายเก่า หมู่ที่ 6 บ้านป่าหวายทุ่ง หมู่ที่ 7 ใน
ปัจจุบัน ประกอบกับเป็นที่ตั้งของค่ายวชิราลงกรณ์ หรือ เรียกอีกช่ือหน่ึงว่า “ค่ายป่าหวาย” เพราะเรียก
ตามชื่อบา้ นป่าหวายเก่า หมู่ท่ี 6 โดยผเู้ ฒ่าผู้แกบ่ างสว่ นเล่าว่าการที่ได้ช่ือวา่ “ตำบลป่าตาล” นนั้ เพราะใน
พื้นท่ีนี้มีต้นตาลโตนดข้ึนอยู่อย่างหนาแน่น หรืออาจเกิดจากในขณะท่ีทางราชการได้ให้มีการจัดตั้งช่ือตำบลข้ึน
นั้น กำนนั ตำบลปา่ ตาลคนแรกในขณะนน้ั ช่ือกำนนั มา เป็นคนหมู่บา้ นปา่ หวายเก่าแต่ไปแตง่ งานมคี รอบครัว
อยทู่ ี่หมู่บ้านป่าตาล ซ่งึ ในขณะนั้นหมู่บ้านป่าตาลมีความเจรญิ มากกวา่ หม่บู ้านอืน่ ๆ อาจเป็นสาเหตใุ นการต้ัง
ช่อื ตำบลปา่ ตาลตามสภาพพน้ื ท่ีอยอู่ าศยั ของผู้นำในขณะนัน้ ก็อาจเปน็ ได้เชน่ กัน

ประวัติความเปน็ มาของหม่บู ้านและวิถีชุมชน

ตำบลป่าตาล มีพนื้ ท่ีการปกครองแบง่ ออกเป็น 8 หมู่บา้ น โดย หมูท่ ่ี 1 – 7 ชาวบ้านด้ังเดมิ มภี าษา
ท้องถ่ิน คือภาษาลาวเวียง โดย “ลาวเวียงบ้านป่าตาล” มีชื่อเรียกมาจากคำว่า “ลาวเวียง” ได้แก่ ลาว
เวียงบ้านห้วยเป่ียม หมู่ 1 และหมู่ 2 ลาวเวียงบ้านกกมะเกลือ หมู่ 3 ลาวเวียงบ้านป่าตาล หมู่ 4
และหมู่ 5 ลาวเวยี งบา้ นป่าหวายเกา่ หมู่ 6 และลาวเวียงบา้ นปา่ หวายทุง่ หมู่ 7 สำหรับคำว่า “บ้านป่า
ตาล” มาจากคำว่า ตำบลป่าตาล สำหรับหมทู่ ี่ 8 บ้านพรมน้ำอบ นั้น เป็นชาวบ้านด้ังเดิมอยทู่ ่ีจังหวัดลพบุรี
บางสว่ นมาจากตำบลโพธ์เิ ก้าตน้ ไม่มภี าษาทอ้ งถ่ินเหมอื นหม่บู า้ นอื่น ๆ

เนื่องจากบรรพบุรุษด้ังเดิมของชาวบ้านในพื้นท่ีตำบลป่าตาลได้อพยพมาจากนครเวียงจันทน์ ดังนั้น
จงึ มีภาษาท้องถิ่นท่ีใช้พดู คุยติดต่อส่ือสารกันในกล่มุ ชาตพิ ันธุค์ อื ภาษาลาวเวียง ซงึ่ ปัจจุบันน้ีชาวบ้านในพ้นื ที่
บางส่วนยังคงใช้ภาษาลาวเวียงพูดคุยส่ือสารกันแต่นับวันจะลดน้อยลงเนื่องจากขาดการสืบทอดสู่ลูกหลาน
นน่ั เอง

การต้ังถิ่นฐานบ้านเรือน ในอดีตชาวตำบลป่าตาลมักต้ังบ้านเรือนอยู่บริเวณริมแม่น้ำลำคลอง ห้วย
หนอง คลอง บึง แต่บางส่วนก็ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณป่ารกทึบ โดยการถางป่าเพ่ือปลูกสร้างท่ีอยู่อาศัยและ
ทำการเกษตรกรรม เล้ียงสัตว์ โดยบ้านเรือนที่ปลูกสร้างในสมัยนั้นเป็นบ้านไม้ใต้ถุนสูงไว้สำหรับเลี้ยงสัตว์ใต้
ถนุ บา้ น และสำหรับพักผอ่ นหรอื ทำกิจกรรมตา่ ง ๆ

ประวัติและความเป็นมาของบา้ นห้วยเปย่ี ม หมู่ที่ 1

จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่บ้านห้วยเปี่ยม หมู่ท่ี 1 เล่าว่า ชาวบ้านท้องถิ่นด้ังเดิมอพยพมาจาก
เวียงจันทน์ เดิมทีมีช่ือบ้าน คือ “บ้านห้วยแล้ง” เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินสูงกว่าพ้ืนที่อื่น ๆ
น้ำไม่ท่วมและมีสภาพอากาศที่แห้งแล้ง มีป่าขึ้นรกทึบ และมีลำห้วยอยู่บริเวณ “สะพานขาว” ซ่ึงปัจจุบัน
เปน็ ถนนพระปิยะตงั้ อยบู่ ริเวณหมู่บ้านสวัสดิการทหารบกและคา่ ยวชิราลงกรณ์ ลำห้วยน้ีในช่วงหน้าแล้งน้ำจะ
แห้งมาก จึงเรียกว่า “ห้วยแล้ง” ต่อมาได้เปลี่ยนช่ือเป็น “บ้านห้วยเป่ียม” และเคยมีบ่อน้ำซึมท่ีชาวบ้าน
เรียกวันว่า “บ่อน้ำสร้างแก้ว” บ่อน้ำดังกล่าวมีน้ำซึมออกมาตลอดเวลาไม่แห้งซึ่งเดิมตั้งอยู่ท่ีบริเวณหมู่บ้าน
สวัสดิการทหารบก บา้ นห้วยเป่ียม หมู่ที่ 1 ปัจจุบันมีพื้นท่ีติดกับบ้านห้วยเป่ียม หมู่ท่ี 2 แต่ ด้วยลักษณะ
ของการปลูกสร้างบ้านอยู่รวมกันเป็นกลุ่มบ้านน้ัน บ้านห้วยเปี่ยม หมู่ที่ 1 จะมีช่ือเรียกขานเป็นท่ีรู้กันใน
ระหวา่ งสองหมู่บ้านนเี้ ป็นอกี หลายกลุ่มบ้าน คอื กลุ่มโคกกร่าง กลุม่ กกหวา้ และกลมุ่ หนองปลาดุก

กลุ่มโคกกร่าง เป็นช่ือเรยี กตามตน้ ไม้ใหญ่คือ ต้นกร่าง ท่ีข้ึนอยู่บริเวณทางเข้าของกลุ่มบ้านปัจจุบัน
นี้ต้นกร่างไดถ้ ูกโค่นไปหมดแลว้ เพอ่ื ใชพ้ ้ืนที่ในการปลูกทีอ่ ยู่อาศัยของชาวบ้านท่ีมปี รมิ าณเพ่ิมข้นึ อย่างต่อเน่ือง

กลมุ่ กกหว้า เป็นช่ือเรียกตามต้นไม้ใหญค่ ือ ต้นหวา้ ทีข่ ึ้นอยู่บริเวณทางเข้าและบริเวณของกลมุ่ บ้าน
ลักษณะท่ีเด่นและสะดุดตาของต้นหว้าคือ โคนต้นท่ีมีขนาดใหญ่ ประกอบกับ คำว่า โคนต้น ภาษาท้องถ่ิน
หรือ ภาษาลาวเวียง หมายถึง กก จึงเรยี กชอ่ื กลมุ่ บ้านนีว้ ่า “กกหวา้ ” หรอื โคนต้นหว้านน่ั เอง

กลุ่มหนองปลาดุก กลุ่มบ้านน้ีอยู่ติดต่อกับกลุ่มกกหว้าและบางส่วนอยู่บริเวณท่ีราบลุ่ม จากความ
เชอื่ ทเี่ ล่าต่อกนั มาว่าบรเิ วณน้มี หี นองน้ำและมปี ลาดกุ ชุกชมุ จงึ เรยี กว่า “กลมุ่ หนองปลาดุก”

ประวัตแิ ละความเป็นมาของบา้ นห้วยเปี่ยม หมู่ท่ี 2

ชาวบ้านทอ้ งถ่ินด้ังเดิมอพยพมาจากเวียงจันทน์ เชน่ เดยี วกบั บา้ นห้วยเปยี่ มหมู่ท่ี 1 โดยมีตระกูลของ
นายจันทร์ ชัยดา เป็นตระกูลแรกๆ ท่ีเร่ิมเข้ามาตั้งถ่ินฐานอยู่ เดิมทีมีช่ือบ้าน คือ “บ้านห้วยแล้ง”
เน่ืองจากลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินสูงกว่าพื้นท่ีอ่ืน ๆ น้ำไม่ท่วมและมีสภาพอากาศที่แห้งแล้ง ในช่วง
หน้าแล้งน้ำจะแห้งมาก จึงเรียกว่า “ห้วยแล้ง” ต่อมาได้เปล่ียนชื่อเป็น “บ้านห้วยเปี่ยม” มีพ้ืนท่ีติดกับ
บา้ นห้วยเป่ียม หมู่ท่ี 1 แต่ด้วยลกั ษณะของการปลูกสร้างบ้านอย่รู วมกันเป็นกลุ่มบ้านน้ัน และเรียกชื่อกลุ่ม
บ้านตามท่ีตั้งตามทิศทางต่าง ๆ นั้น บ้านห้วยเปี่ยม หมู่ที่ 2 จะมีช่ือเรียกขานเป็นที่รู้กันในระหว่างสอง

หมู่บ้านนี้เป็นอีกหลายกลุ่มบ้าน คือ “กลุ่มบ้านเหนือ” และ “กลุ่มบ้านกลาง” และด้วยลักษณะการ
ปกครองที่ขยายตัวตามจำนวนประชากรท่ีเพ่ิมมากข้ึนจึงส่งผลให้กลุ่มบ้านท่ีอยู่บริเวณวัดเมืองใหม่ ก็อยู่ใน
พ้ืนทีข่ องหมทู่ ่ี 2 ดว้ ยเช่นเดียวกัน

จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่เล่าว่า มีศึกษาธิการอำเภอท่านหน่ึงช่ือ ครูบุญมา (มหามานิต) ชอบมา
กินเหล้าบา้ นครชู ม ฉิมเล็ก เน่ืองจากทำเหล้ากินเองที่บ้าน (เหลา้ น้ำขาว) และมีรสชาตหิ วานอรอ่ ย เม่ือเมาได้
ทีศ่ ึกษาธกิ ารอำเภอท่านนี้เห็นว่าลำห้วยไม่มีน้ำ จึงพูดวา่ หมู่บ้านห้วยแล้งนี้ช่างแห้งแล้งเหลอื เกนิ ไม่มนี ้ำด่ืมน้ำ
ใช้ ควรเปล่ียนช่ือมาเป็น “บ้านห้วยเป่ียม” จะดีกว่าเพราะชื่อดีและเป็นสิริมงคลต่อไปจะได้มีน้ำกินน้ำใช้
อยา่ งอดุ มสมบูรณไ์ มแ่ ห้งแล้งเหมอื นในขณะน้ี ตง้ั แตน่ ั้นมา “บ้านหว้ ยแล้ง” จึงได้ เปล่ียนช่ือมาเป็น “บ้าน
ห้วยเปี่ยม” ประกอบกับ “วดั ห้วยแล้ง” ซ่ึงตั้งอยู่หมู่ท่ี 2 บ้านห้วยเปี่ยม ก็ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “วัดห้วย
เปยี่ ม” ในปี พ.ศ. 2483 เปน็ ตน้ มา เพ่ือใหส้ อดคล้องกับชือ่ ของหมูบ่ า้ น

สำหรับสถานท่ีสำคัญท่ีต้ังอยู่ในพ้ืนที่บ้านห้วยเป่ียม หมู่ที่ 2 ได้แก่ วัดห้วยเปี่ยม โรงเรียนวัดห้วย
เปี่ยม (ปัจจบุ นั ไดย้ ุบเลิกแล้ว) และหนองหลง หรือ หนองอีโลง่ นนั่ เอง

ประวัติและความเปน็ มาของบา้ นกกมะเกลือ หมทู่ ี่ 3

ชาวบ้านท้องถิ่นดั้งเดิมอพยพมาจากเวียงจันทน์เช่นเดียวกับบ้านห้วยเปี่ยมหมู่ที่ 1 และ หมู่ท่ี 2
ชอ่ื บ้านนเ้ี รียกตามลักษณะของต้นไม้ใหญ่ท่ีข้ึนอยู่อย่างหนาแน่น คอื ต้นมะเกลือ และลักษณะท่ีโดดเด่น คือ
โคนต้นมะเกลือท่ีมีขนาดใหญ่ จึงเรียกหมู่บ้านน้ีว่า “บ้านกกมะเกลือ” ลักษณะภูมิประเทศเป็นแอ่งกระทะ
พน้ื ที่อุดมสมบูรณ์มีน้ำท่วมถึง เหมาะแก่การประกอบอาชีพทำนา และปลูกน้อยหน่า ปัจจุบันมีสถานที่สำคัญ
คือท่ีตั้งของวัดปา่ หวายทุ่ง

ประวตั ิและความเป็นมาของบ้านป่าตาล หม่ทู ี่ 4

ชาวบ้านท้องถ่ินดั้งเดิมอพยพมาจากเวียงจันทน์ เช่นเดียวกับชาวบ้านหมู่อ่ืน ๆ เดิมทีมีชื่อบ้าน
คอื “บ้านหนองเปลย้ี ” เน่ืองจากลกั ษณะภูมปิ ระเทศเป็นท่ีราบลุ่ม และเป็นหนองน้ำขนาดใหญ่มดี นิ โคลน ผู้
เฒ่าผู้แก่เล่าว่าเวลาเดินรู้สึกกะปลกกะเปลี้ย อ่อนเพลีย จึงได้เรียกชื่อ บ้านหนองเปล้ีย ต่อมาได้เปลี่ยนช่ือ
เป็น “บา้ นป่าตาล” ตามลักษณะของภูมิประเทศที่มีต้นตาลข้ึนอยู่อยา่ งหนาแนน่ และตามชอ่ื ของตำบลป่าตาล
นั่นเอง โดยมีพ้นื ท่ตี ดิ กบั บ้านปา่ ตาล หมทู่ ี่ 5 และเปน็ พ้นื ทต่ี ง้ั ของวดั ปา่ ตาล

ประวตั แิ ละความเป็นมาของบ้านป่าตาล หมทู่ ่ี 5

ชาวบ้านท้องถ่ินดั้งเดิมอพยพมาจากเวียงจันทน์ เช่นเดียวกับชาวบ้านหมู่อื่น ๆ เดิมทีมีช่ือบ้าน คือ
“บ้านโม่งป่า” หรือ “บ้านม้องป่า” หมายถึง บ้านกลุ่มป่า หรือ บ้านท่ีอยู่ตรงป่า เนื่องจากลักษณะภูมิ
ประเทศเป็นป่ารกทึบต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “บ้านป่าตาล” ตามลักษณะของภูมิประเทศที่มีต้นตาลข้ึนอยู่
อยา่ งหนาแนน่ และตามช่ือของตำบลป่าตาลน่ันเอง

จากคำบอกเล่าของผ้เู ฒ่าผแู้ ก่ของบ้านป่าตาล หมู่ท่ี 5 วา่ เดมิ ทีชาวบ้านหมู่ที่ 4 หมู่ท่ี 5 ท้ังสอง
หมู่บ้านนี้เป็นหมู่บ้านเดียวกันตั้งถ่ินฐานอยู่บริเวณรอบ ๆ หลวงพ่อโตซ่ึงในขณะนั้นคือท่ีต้ังของ “วัดป่าตาล”
ต่อมาพื้นที่ดังกล่าวได้มีการสร้างค่ายป่าหวายขึ้น จึงให้ชาวบ้านอพยพออกมาอยู่บริเวณรอบ ๆ ค่ายและได้
จดั สรา้ งวัดปา่ ตาลขน้ึ ใหม่ซ่ึงตงั้ อยู่ ณ หมู่ท่ี 4 ตำบลป่าตาลในปัจจบุ ัน และไดส้ รา้ งองคพ์ ระจำลองหลวงพ่อ
โตไว้ที่วัดป่าตาล ณ ที่แห่งใหม่ และสำหรับองค์หลวงพ่อโตองค์ด้ังเดิมยังคงอยู่ในบริเวณของค่ายป่าหวาย
เชน่ เดิม

ประวัติและความเปน็ มาของบา้ นปา่ หวายเก่า หมทู่ ่ี 6

ชาวบ้านท้องถิ่นดั้งเดิมอพยพมาจากเวียงจันทน์ เช่นเดียวกับชาวบ้านหมู่อ่ืน ๆ หมู่ท่ี 6 น้ี เรียกช่ือ
บา้ นว่า “บา้ นปา่ หวายเก่า” เน่อื งจากบริเวณดงั กลา่ วมีต้นหวายข้ึนอยู่อย่างหนาแน่น และเป็นที่ราบลุ่ม เป็น
หมู่บ้านเก่าแก่หมู่บ้านหนึ่ง ของตำบลป่าตาล โดยมีตระกูลท่ีอพยพมาตั้งถ่ินฐานเป็นตระกูลแรกเริ่มคือ
ตระกูลเจริญเลิศ และตระกูลบุญเกิด ซ่ึงเป็นตระกูลท่ีอพยพมาจากเมืองเวียงจันทน์และมีญาติอยู่ท่ีจังหวัด
อุบลราชธานี โดยได้เดินทางมาเยี่ยมกันเป็นระยะ ๆ และได้นำศิลปวัฒนธรรมการละเล่นของญาติทางจังหวัด
อุบลราชธานีมาแสดงท่ีตำบลป่าตาล ได้แก่ หมอลำสี่เสา ซ่ึงเป็นท่ีชื่นชอบของชาวบ้านรวมไปถึงหมู่บ้านอ่ืน ๆ
ดว้ ยเชน่ เดยี วกัน

สำหรับสถานที่สำคัญที่ต้ังอยู่ในพ้ืนท่ีบ้านป่าหวายเก่า หมู่ท่ี 6 ได้แก่ วัดป่าหวายเก่า สถานีรถไฟ
บา้ นป่าหวาย และ คา่ ยวชริ าลงกรณ์

ประวตั แิ ละความเปน็ มาของบา้ นปา่ หวายทงุ่ หมู่ท่ี 7

ชาวบ้านท้องถ่ินดั้งเดิมอพยพมาจากเวียงจันทน์ เช่นเดียวกับชาวบ้านหมู่อื่น ๆ เดิมทีมีช่ือเรียกว่า
“บ้านน้อย” และ “บ้านทุ่ง” ท่ีเรียกว่าบ้านน้อยเนื่องจากมีบ้านอยู่เพียงไม่กี่หลังคาเรือนส่วนบ้านทุ่งจะมี
บ้านเรือนอยู่ติดกับชายทุ่งนา ซึ่งแยกมาจากหมู่ที่ 6 โดยมีตระกูลท่ีมาตั้งถ่ินฐาน คือ ตระกูลม่านอ่อน
ตระกูลทาป้อม ต่อมาทั้งสองหมู่บ้านได้รวมกันและได้เปล่ียนช่อื บ้านเป็น “บ้านปา่ หวายทุง่ ” เน่ืองจากต้ังชื่อ
เรียกตามชื่อวัดป่าหวายทุ่ง และลักษณะภูมิประเทศเป็นแอ่งกระทะและมีต้นหวายข้ึนอยู่อย่างหนาแน่น ซ่ึง
ปัจจุบันน้ียังคงมีต้นหวายขึ้นอยู่เป็นแนวป่า ให้เห็นบริเวณหลังวัดป่าหวายทุ่งและพ้ืนที่ใกล้เคียง นอกจากนี้ใน
พืน้ ท่ีของหมู่ที่ 7 บ้านป่าหวายทุ่ง น้ยี ังเคยเป็นทีต่ ้ังของโรงเรียนระดับปฐมศกึ ษา ชอ่ื “โรงเรยี นวัดปา่ หวาย
ทุ่งประชาบาล” สอนในระดับ ป. 1 - ป. 4 เป็นอาคารไม้ชั้นเดียว มีครูใหญ่ช่ือ ครูคุ้ม ครูชมพู ครูศรีไพร
ครูสงัด ครูเสง่ียม ซึ่งโรงเรียนแห่งน้ีจะถูกน้ำท่วมเป็นประจำทุกปีจึงยุบโรงเรียนและไปเรียนร่วมกับโรงเรียน
พลร่มอนุสรณ์ มิตรภาพท่ี 50 ส่วน “โรงเรียนวัดป่าหวายทุ่งประชาบาล” และ “วัดป่าหวายทุ่ง” (แห่ง
เดมิ ) นน้ั ปจั จุบันเป็นที่ตง้ั ของสำนักงานเทศบาลตำบลปา่ ตาล

ประวตั ิและความเปน็ มาของบ้านพรมน้ำอบ หมทู่ ี่ 8

มีความแตกต่างจากหมู่บ้านอื่นๆ ในพ้ืนท่ีตำบลป่าตาล เนื่องจากเป็นชาวบ้านด้ังเดิมอยู่ท่ีจังหวัด
ลพบุรี ไม่มีภาษาท้องถ่ินเหมือนหมู่บ้านอ่ืน ๆ เดิมทีมีช่ือเรียกว่า “บ้านโพธ์ิน้ำอ้อม” เนื่องจากในอดีตมี
การสร้างบ้านเรือนประมาณ 10 หลังคาเรือนอยู่รอบ ๆ ต้นโพธิ์ที่มีขนาดใหญ่ และมีบ่อน้ำเมื่อถึงฤดูน้ำ
หลากน้ำจะมากและไหลผ่าน ล้อมรอบต้นโพธ์ิ ออกไปทางท่าเรือจอด จึงเรียกบ้านโพธิ์น้ำอ้อม บ้างก็เรียก
เป็น “บ้านพรมน้ำอบ” เน่ืองจากเส้นทางท่ีต้นโพธ์ิตั้งอยู่และมีน้ำล้อมรอบเป็นเส้นทางเดินของชาวบ้านท่ีจะ
เดินทางไปไหว้พระที่วัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี เม่ือเดินทางและอากาศร้อน จึงน่ังพักผ่อนและใช้น้ำ
บริเวณดังกล่าวล้างหน้าและตัวเพ่ือคลายร้อน และเรียกชื่อเป็น “บ้านพรมน้ำอบ” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ประกอบกับกรมศิลปกรได้ต้ังช่ือหมู่บ้านน้ีว่า บ้านพรมน้ำอบ เน่ืองจากพื้นท่ีของบ้านพรมน้ำอบ เป็นพื้นที่ที่
อยู่ในการดูแลของกรมศิลปกร โดยมีตระกูลที่ได้เร่ิมเข้ามาตั้งถ่ินฐาน ได้แก่ ตระกูลสำเภาแก้ว ตระกูลสาย
อิน ตระกูลตุ้มเทย่ี ง ตระกูลอบเพชร ตระกูลม่ันดี และตระกูลสร่ังวงศ์ ซึ่งชาวบ้านพรมน้ำอบแห่งนี้มีอาชีพ
ในการทำนา และนอกจากการทำนาแล้วยังมีอาชีพในการเล่นลิเกคณะต่าง ๆ ซ่ึงปัจจุบันน้ียังคงมีผู้ท่ีเคย
แสดงลิเกอยู่ในปจั จุบัน

สำหรับสถานที่สำคัญท่ีตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านพรมน้ำอบ ได้แก่ โบราณสถานป้อมชัยชนะสงคราม และ
ประตูช่องกฎุ ิ ท่สี ร้างขนึ้ ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช

ประวตั ิลาวเวยี งในประเทศไทย

ลาวเวียง เป็นช่ือเรียกกลุ่มชนท่ีมีการย้ายถิ่นฐานมาจากเมืองเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาวในปัจจุบัน โดยเข้ามาต้ังถ่ินฐานอาศัยอยู่ในประเทศไทยต้ังแต่สมัยกรุงธนบุรี และสมัย กรุง
รัตนโกสินทรต์ อนต้น โดยลาวเวียง เป็นกลุ่มคนลาวกลุ่มหน่ึงจากหลายๆ กลุ่ม เช่น ลาวพวน ลาวโซ่ง ลาวแง้ว
ลาวครง่ั ลาวหล่ม ทม่ี อี ยูใ่ นประเทศไทย ลาวเวียง เป็นกลุม่ ชาตพิ ันธท์ุ ่ีได้รบั การจำแนกอยู่ในกลมุ่ ชนชาตลิ าวลุ่ม
ตั้งถ่ินฐานอยู่ในพ้ืนท่ีราบต่ำ มีรูปแบบทางเศรษฐกิจในลักษณะพ่ึงพาตนเองด้วยวิถีทางการเกษตร เช่น การ
เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และหัตภกรรม มีวิถีการดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย มีศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การประกอบ
พธิ ีกรรมตามความเช่ือทีเ่ ปน็ เอกลกั ษณข์ องตนเอง

การยา้ ยถ่ินของชนชาวลาวเวยี งจันทน์ ในสมัยกรงุ ธนบรุ ี

ในสมัยกรุงธนบุรี เม่ือคราวที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (ร.1) เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งสมเด็จพระยามหากษัตรยิ ์ศึกและเจ้าพระยาสุรสหี ์ยกทัพ
ไปตเี วยี งจันทน์ในปลาย พ.ศ. ๒๓๒๑ กองทัพกรุงธนบุรีสามารถยดึ เวียงจันทน์ได้สำเร็จในปี พ.ศ. ๒๓๒๒ (สิลา
วีระวงส์, ๒๕๓๙, หน้า ๑๕๐) และทำการกวาดต้อนชาวลาวลงมายังกรุงธนบุรี โดยพระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดให้
นำชาวลาวไปตั้งบ้านเรือนอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ ที่มีพลเมืองอยู่น้อย ได้แก่ เมืองสระบุรี เมืองลพบุรี นครนายก
และเมืองฉะเชิงเทรา เป็นต้น (สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา
ชานุภาพ, ๒๕๐๕, หน้า ๒๔๕) ภายหลังจากท่ีกองทัพกรุงธนบุรีภายใต้การนำทัพของสมเด็จเจ้าพระยามหา
กษัตริย์ศึกและเจ้าพระยาสุรสีห์สามารถยึดเวียงจันทน์เป็นเมืองข้ึนได้สำเร็จในปี พ.ศ. ๒๓๒๒ แล้ว สมเด็จ
เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกและเจ้าพระยาสุรสีห์ได้นำทัพยกต่อไปจนถึงเมืองพวนและสามารถยึดเมืองพวนมา
เป็นเมืองข้ึนของกรุงธนบุรีได้ในปีเดียวกันนั่นเอง (คำหมั้น วงกตรัตนะ, ๒๔๙๕, หน้า๗) แต่เนื่องจากเกือบ
ตลอดท้ังสมัยของกรุงธนบุรี ไทยต้องเผชิญกับภาวะการศึกสงครามแทบมิได้ขาดประกอบกับเมืองพวนมี
ระยะทางท่ีห่างไกลจากกรุงธนบุรีมากการเดินทางกย็ ากล่าบากเน่ืองจากเป็นเส้นทางท่ีเต็มไปด้วยเทือกเขาใหญ่
นอ้ ยสลบั ซบั ซอ้ น ดังนนั้ จึงยังไมป่ รากฏว่ามกี ารกวาดตอ้ นลาวพวนเขา้ มาตั้งถน่ิ ฐานในไทยแตอ่ ยา่ งใด

รองศาสตราจารย์ บังอร ปยิ ะพันธุ์ ไดเ้ ขยี นหนังสือเรื่อง “ลาวในกรุงรัตนโกสินทร์ เกี่ยวกับการย้ายถิ่น
ของชาวลาวเวียงจันทน์ในสมัยกรุงธนบุรี ในหน้า ๓๐ ความว่า “มีหลักฐานบ่งว่า มีชาวลาวเวียงจันทน์ย้ายถ่ิน
เขา้ มาโดยการอพยพเขา้ มาพงึ่ พระบรมโพธิสมภาร และโดยการถูกกวาดตอ้ นดงั น้ี

คร้งั แรก ไมป่ รากฏปที ่ีเข้ามา ทราบว่าเป็นช่วงทพี่ ม่ามีอํานาจในการปกครองเมอื งเวียงจนั ทน์ ชาวลาว
เมืองเวียงจันทน์และหัวเมืองลาวใกล้เคียงเมืองเวียงจันทน์จํานวนหมื่น ล้ีภัยเข้ามาพักอยู่ท่ีเมืองนครราชสีมา
พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงอนุญาตให้ชาวลาวอพยพท้ังหมดน้ีเข้ามาพักพิงตั้งบ้านเรอื นอยู่ท่ีเมืองสระบุรี นับเป็นชน
ชาวลาวรนุ่ แรกทเี่ ขา้ มาในสมัยกรุงธนบรุ ี

ครั้งหลัง พ.ศ. ๒๓๒๒ เมื่อกองทัพธนบุรีได้ยึดเมืองเวียงจันทน์แล้วได้กวาดต้อนครัวลาวเวียงจันทน์
ทรัพย์สินและอาวุธต่าง ๆ ลงมา ในบรรดาครัวลาวดังกล่าวมีโอรสเจ้าสิริบุญสาร รวมอยู่ได้ ๓ องค์ ได้แก่ เจ้า
นันทเสน เจา้ อนิ ทรว์ งศ์ เจ้าอนุวงศ์ โปรดให้ไปพํานักอยทู่ ่ีบางยข่ี ัน (วัดดาวดงึ ส์ ในปจั จบุ นั ) สําหรับครัวลาววยี ง
จันทน์นอกนั้น โปรดให้รวมไว้ท่ีเมืองสระบุรีเป็นจํานวนหลายหม่ืน มีบางส่วนส่งไปเมืองราชบุรี ตามหัวเมือง
ตะวันตกบ้าง เมืองจันทน์บ้าง และอธิบายไว้ในหน้า ๓๒ ว่า “ จํานวนชาวลาวในกรุงธนบุรี และหัวเมืองต่างๆ
ไม่สามารถทราบได้เพราะมีการบันทึกไว้ว่ามีจํานวนเท่าใดเป็นเพียงประมาณว่าถูกกวาดต้อนมาจํานวนหลาย
หมื่น จํานวนเหล่านี้เป็นยอดรวมโดยประมาณ เมื่อกวาดต้อนมานั้นระหว่างการเดินทางจะต้องมีที่หลบหนีไป

บ้างล้มตายอีกจํานวนมากเม่ือตั้งหลักแหล่งแล้วจํานวนที่ล้มตายลงไปคงมีมากเช่นกัน ท้ังนี้เป็นเพราะความอด
อยากความเจ็บป่วย ความลําบากมากจากการเริ่มต้นชีวิตใหม่เป็นต้นดังนั้น จํานวนประชากรลาวที่ถูกกวาด
ต้อนมาใหม่ คงมีจํานวนเหลืออยู่ไม่มากนัก และอยู่กันเป็นชุมชนใหญ่ที่เมืองสระบุรี และเมืองเพชรบุรีส่วนท่ี
เมืองอื่น มีชาวลาวตั้งหลักแหล่งอยู่บ้าง เช่น เมืองราชบุรี เมืองบางกอกหัวเมืองตะวันตก และเมืองจันทร์บุรี
เปน็ ตน้

การตงั้ ถนิ่ ฐานของลาวเวียงในภาคตะวันออกสมัยกรงุ ธนบรุ ี
เมอ่ื เสร็จส้นิ การศึกทเ่ี วียงจนั ทนก์ องทัพกรงุ ธนบรุ ไี ดก้ วาดต้อนลาวเวยี งจ่านวนมากเขา้ มาในไทย แลว้

สง่ ชาวลาวเหลา่ นนั้ ไปตง้ั ถ่ินฐานรวมกนั ไว้ที่เมืองสระบุรี ลพบรุ ี นครนายก และฉะเชงิ เทรา สมเดจ็ กรมพระ
ยาดำรงราชานภุ าพได้ทรงบันทึกเรื่องราวการสง่ ลาวเวยี งเข้าไปตัง้ ถิน่ ฐานตามเมืองตา่ ง ๆ ความว่าสนั นษิ ฐาน
วา่ น่าจะเป็นวงั บางยี่ขนั ซ่งึ ใชเ้ ปน็ ทพ่ี ำนกั ของเจ้านายลาวตอ่ มาในสมยั รัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระ
พุทธยอดฟา้ จุฬาโลก เมื่อยังดำรงพระยศเป็นสมเดจ็ เจ้าพระยามหากษัตรยิ ศ์ ึก เสดจ็ เปน็ จอมพลขนึ้ ไปครั้งน้นั ตี
ได้เมืองเวียงจนั ทนแ์ ละหวั เมืองขึ้นมาเปน็ ของไทย พระเจา้ เวียงจันทนบ์ ญุ สารหนีไปไดแ้ ต่ตวั พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงเชิญพระแก้วมรกต พระบาง และกวาดต้อนผู้คนชาวเมืองเวียงจนั ทนม์ าเปน็ อนั
มากให้พวกชาวเวยี งจนั ทน์มาต้ังภมู ลิ ่าเนาอยูต่ ามหวั เมอื งชั้นใน ท่ีถูกพมา่ กวาดต้อนเอาราษฎรไปเสียจนร้างอยู่
คอื เมืองลพบุรี เมอื งสระบรุ ี เมืองนครนายก และเมืองฉะเชิงเทรา เป็นตน้ ...
(สมเดจ็ ฯเจ้าฟ้า กรมพระยานรศิ รานวุ ัดติวงศ์ และสมเดจ็ ฯกรมพระยาดำรงราชานภุ าพ, ๒๕๐๕, หน้า ๒๔๕)

ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เม่ือครั้งเกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์ ช่วงปี พ.ศ. 2361 - 2370 ตรงกับ
สมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.3) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้ยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน์ และหัว
เมืองใกลเ้ คียง พรอ้ มกบั กวาดตอ้ นชาวลาวลงมาตง้ั ถ่ินฐานอย่หู ัวเมืองช้ันในเป็นจำนวนมาก ซึ่งการชนะสงคราม
ในครั้งน้ันเป็นการเคลื่อนย้ายชาวลาวคร้ังใหญ่ โดยให้ชาวลาวเวียงท่ีถูกกวดต้อนมาอพยพมาต้ังถ่ินฐานอยู่
บริเวณภาคกลางของประเทศไทยหลายจังหวัด ได้แก่ สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี ชัยนาท และ
นครสวรรค์

พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าเจา้ อยูห่ ัว มีพระราชประสงคใ์ หก้ วาดตอ้ นผู้คนจากเมอื งเวียงจนั ทน์และหัว
เมืองลาวใกล้เคียงกลับมามากที่สุด เพราะหากให้เวียงจันทน์ตั้งเป็นบ้านเมืองเพื่อช่วยดูแลและเกลี้ยกล่อมหัว
เมืองลาวต่าง ๆ ให้สวามิภักดิ์ต่อกรุงเทพฯ น้ัน อาจจะไม่มีผู้ท่ีจะไว้ใจให้ดูแลได้ทำให้กลุ่มชาวลาวเมือง
เวียงจันทน์และหัวเมืองลาวใกล้เคียงถูกกวาดต้อนส่งลงมาหลายครั้ง จนเกิดเป็นชุมชนที่ขยายใหญ่ขึ้น ก่อ
ประโยชน์แก่ส่วนกลางทั้งในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ ชาวลาวที่ย้ายถิ่นเข้ามาทั้งท่ีถูกกวาดต้อนและอพยพ
ถูกสง่ ไปยังเมืองต่าง ๆ ในเขตหวั เมืองชั้นใน ในพื้นท่ีท่ีมลี ักษณะภูมิประเทศเหมอื นกับบ้านเกิด โดยอยู่รวมกลุ่ม
กบั ชาวลาวที่มาอยูก่ ่อน เพ่ืองา่ ยต่อการควบคุมดูแล อีกท้ังหัวเมอื งเหล่านี้ยงั อยูไ่ กลจากแหล่งทอี่ ยู่อาศัยเดิม ทำ
ให้การหลบหนีเป็นไปด้วยความยากลำบาก นอกจากนี้หัวเมืองช้ันในยังเป็นเมืองหน้าด่าน ดังนั้น เม่ือข้าศึกยก
ทัพมากลุ่มชนเหล่าน้ีจะเป็นกำลังสำคัญในการกั้นไม่ให้ข้าศึกเข้าถึงราชธานีได้อย่างรวดเร็ว พ้ืนที่หลักที่มีความ
หนาแน่นขชงกลุ่มลาวเวยี ง คอื บริเวณล่มุ น้ำภาคกลาง ได้แก่ ลุ่มน้ำท่าจีน ลุ่มน้ำแม่กลอง ล่มุ น้ำปา่ สกั และลุ่ม
น้ำเพชรบรุ ี โดยกระจายอย่ใู นจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี นครปฐม เพชรบรุ ี ราชบุรี สระบรุ ี เป็นตน้

จากเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ทำให้เราพอได้ทราบว่าในปัจจุบันมีกลุ่มชนชาติพันธ์ุลาวเวียงที่อพยพมา
จากเมืองเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในช่วงสมัยกรงุ ธนบุรีและในสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์
ตอนต้น โดยการอพยพเข้ามาด้วยความสมัครใจเพื่อล้ีภัยเม่ือครั้งเวียงจันทน์ถูกปกครองโดยพม่าได้เข้ามาพึ่ง
พระบรมโพธิสมภารของพระมาหากษัตริย์แห่งเมืองสยาม และจากการถูกกวาดต้อนอพยพเข้ามาจากการท่ี
เมืองเวียงจันทน์แพ้ศึกสงครามแกป่ ระเทศสยามในชว่ งสมัยกรงุ ธนบุรีและในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดย
คนลาวเวียงเหล่าน้ันได้มาต้ังถ่ินฐานอยู่รวมกันจนขยายเป็นชุมชนใหญ่ข้ึน ซ่ึงในปัจจุบันยังคงพบว่ามีกลุ่มชาติ

พันธ์ุลาวเวียงอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทยหลายจังหวัด อาทิเช่น จังหวัดสระบุรี ลพบุรี
สิงห์บรุ ี สพุ รรณบรุ ี อทุ ัยธานี ชยั นาท กาญจนบรุ ี ราชบุรี เพชรบุรี ฉะเชิงเทรา นครปฐม เป็นต้น

ในปัจจุบัน กลุ่มชาติพันธ์ุลาวเวียงท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนที่ต่าง ๆ ของประเทศไทยยังคงอนุรักษ์
ศิลปวัฒนธรรม ท้ังในด้านการแต่งกาย สำเนียงภาษาพูด อาหารพ้ืนถิ่น การละเล่นต่าง ๆ ประเพณี และการ
ประกอบพิธีกรรมตามความเช่ือของกลุ่มไว้ได้อย่างหลากหลายและยังปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ได้แก่
ประเพณีบุญผ้าป่าข้าวเม่าทอด ประเพณีบุญข้าวจ่ี ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณีสาทรลาว ประเพณีบุญข้าว
หลาม ประเพณบี ญุ พระเวส ประเพณีกำฟา้ เปน็ ต้น

ลาวเวยี งบา้ นปา่ ตาล

จากข้อมูลเอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่าง ๆ พอสรุปได้ว่าลาวเวียง คือกลุ่มชนชาติพันธ์ุลาว
เวียงที่อพยพมาจากเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว โดยอพยพเข้ามาตั้งถ่ินฐานอยู่ในพ้ืนท่ี
จังหวัดต่าง ๆ ในประเทศไทย ท้ังอพยพเข้ามาโดยสมัครใจเพ่ือเข้ามาพ่ึงพระบรมโพธิสมภา รของ
พระมหากษัตริย์แห่งเมืองสยาม ครั้งเมื่อเวียงจันทน์ถูกรกุ รานจากพม่า และการถูกกวาดต้อนเข้ามาในประเทศ
สยามในสมัยกรงุ ธนบรุ ีและในสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์ตอนต้น ซ่ึงการอพยพของชาวลาวเวยี งจันทน์ในแต่ละคร้ังก็
จะเข้ามาตงั้ ถ่นิ ฐานอย่ใู นจังหวัดตา่ ง ๆ ของไทย

ในจังหวัดลพบุรี มีลาวเวียงตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยกระจัดกระจายใน 3 อำเภอ ได้แก่ อำเมืองเมือง
ลพบรุ ี อำเภอบ้านหม่ี และอำเภอโคกสำโรง อำเภอบ้านหมี่ ไดแ้ ก่ ลาวเวยี งบา้ นหนองทรายขาว บ้านลาด บา้ น
โคกสุข บ้านโคก บ้านสระตาแวว บ้านคลอง บ้านหนองเมือง บา้ นห้วยกรวด และบา้ นนาจาน อำเภอโคกสำโรง
ได้แก่ ลาวเวียงบ้านวังจ่ัน บ้านห้วยวัวตาย บ้านสระพรานนาค บ้านสระพรานจันทร์ บ้านสระพานขาว บ้าน
ห้วยโป่ง บ้านหนองจับเขียด บ้านหนองง้ิว และบ้านหนองแขม อำเภอเมืองลพบุรี ได้แก่ ลาวเวียงบ้านท่าแค
บ้านหนองแขม บ้านหนองบัวขาว บ้านโนนหัวช้าง บ้านดอนประดู่ บ้านเขาพระงาม บ้านดงสวอง บ้านหนอง
บวั ขาว บ้านสระมะเกลอื และบา้ นโคกลำพาน” (จากการเทียบเคียงสำเนียงภาษาท้องถ่ินลาวเวียงบ้านโคกลำ
พานมีสำเนียงภาษาเดียวกับลาวเวียงบ้านป่าตาล ดังนั้นจึงคาดการณ์ได้ว่าลาวบ้านป่าตาล ก็เป็นลาวเวียง
เช่นเดียวกับลาวบา้ นโคกลำพาน)

ทมี่ า หนา้ ประชาชื่นมตชิ นรายวัน ผู้เขียน สมชายพรหมจันทร์ บ้านหนองแขม ตำบลท่าแค อำเภอ
เมืองลพบุรี จังหวดั ลพบรุ ี เผยแพร่ วนั ท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2562

จากการบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ถึงการมาต้ังถิ่นฐานว่าชาวบ้านดั้งเดิมในพ้ืนที่ตำบลป่าตาลได้อพยพมา
จากเวียงจันทน์ เมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบันน้ี ซ่ึงอาจอพยพเข้ามาเมื่อ
ครั้งสมัยท่ีเวียงจันทน์ถูกรุกรานจากพม่าเข้าปกครองและอาจเป็นช่วงสมัยกรุงธนบุรี ชาวบ้านบางส่วนได้
หลบหนีมาตามแม่น้ำโขงและเข้ามาฝ่ังประเทศไทย บางสว่ นก็ต้ังถ่ินฐานอยู่ทีจ่ ังหวัดอุบลราชธานี จงั หวัดเลย
จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดราชบุรี บางส่วนก็เดินทางมาตามแม่น้ำเจ้าพระยา มาอยู่ยังจังหวัดชัยนาท และ
บางส่วนก็เดินทางมาอยู่ยังจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี หรือหากศึกษาจากเอกสารหลักฐานอาจถูกกวาด
ต้อนเข้ามาในสมัยกรุงธนบุรีเม่ือครั้งท่ีสมเด็จพระยามหากษัตรยิ ์ศึกและเจ้าพระยาสุรสีห์ยกทัพไปตีเวียงจันทน์
ในปลาย พ.ศ. ๒๓๒๑ กองทัพกรุงธนบุรีสามารถยึดเวียงจันทน์ได้สำเร็จในปี พ.ศ. ๒๓๒๒ และทำการกวาด
ต้อนชาวลาวลงมายังกรุงธนบุรี โดยพระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดให้นำชาวลาวไปต้ังบ้านเรือนอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ
ทีม่ พี ลเมอื งอยู่น้อย ได้แก่ เมืองสระบุรี เมอื งลพบุรี นครนายก และเมอื งฉะเชิงเทรา เป็นต้น หรอื อาจอพยพเข้า
มาในสมัยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมื่อครั้งเกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์ ช่วงปี พ.ศ. 2361 - 2370 ตรงกับ
สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.3) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้ยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน์ และหัว
เมืองใกล้เคยี ง พร้อมกับกวาดตอ้ นชาวลาวลงมาตั้งถนิ่ ฐานอยูห่ ัวเมืองช้นั ในเป็นจำนวนมาก ซึ่งการชนะสงคราม
ในครั้งน้ันเป็นการเคลื่อนย้ายชาวลาวครั้งใหญ่ โดยให้ชาวลาวเวียงท่ีถูกกวดต้อนมาอพยพมาตั้งถ่ินฐานอยู่
บริเวณภาคกลางของประเทศไทยหลายจังหวัด ได้แก่ สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี ชัยนาท และ
นครสวรรค์

ซึ่งจากการอพยพชาวลาวเวียงกลุ่มหน่ึงได้มาต้ังถิ่นฐาน อยู่ริมแม่น้ำลำคลองซ่ึงเป็นที่ราบลุ่มเพื่อ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อยูร่ วมกันเปน็ กลุม่ ที่ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมืองลพบุรี จังหวดั ลพบุรี แหง่ น้ี จาก
การท่ีบรรพบุรุษได้อพยพมาจากเวียงจนั ทน์ จึงไดน้ ำวฒั นธรรมของชาวเวยี งจันทนม์ าใช้ในการดำเนิน

ชีวิตประจำวัน ทั้งวัฒนธรรมทางด้านศาสนา การประกอบพิธีกรรรมตามความเช่ือ ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี การละเล่น อาหาร การประกอบอาชีพ รวมถึงวัฒนธรรมทางด้านภาษาท่เี ป็นเอกลกั ษณ์ของชาวลาว
เวียง

จากการสัมภาษณผ์ เู้ ฒา่ ผูแ้ ก่ทมี่ ีเชอื้ สายลาวเวยี งในพน้ื ท่ตี ำบลปา่ ตาล ไดบ้ อกเล่าไวด้ ังนี้
1. นางสำราญ ศรีดี อายุ 95 ปี อาศัยอยู่บ้านเลขท่ี 29 หมู่ 2 ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบุรี
จังหวัดลพบุรี เล่าว่าบรรพบุรุษของพวกเราอพยพมาจากเมืองเวียงจันทน์ เป็นลาวเวียงจันทน์ ก็ไม่รู้ว่า
เวียงจันทน์เกิดอะไรข้ึนคงมีการต่อสู้ฆ่าฟันกันจึงได้พากันอพยพหนีเข้ามาในเมืองไทย แต่เข้ามาเมื่อใดไม่ทราบ
แน่ชัดแตเ่ ขา้ มาเป็นเวลานานมากแลว้ โดยมาอยูท่ ี่บ้านห้วยแลง้ (บ้านห้วยเป่ียม) ตำบลป่าตาล พากันมาตั้งถิ่น
ฐานอยู่ในพ้ืนที่ตำบลป่าตาล จากการบอกเล่าว่าในตอนน้ันมีแม่แก่ชุ่ม พ่อทิดชุ่ม เฒ่ากะแหล่ม เฒ่าตาพาสามี
ยายพวง สองพ่ีน้อง และต้นตระกลู นายจันทร์ กห็ นมี าจากเวียงจันทรเ์ พราะเวียงจนั ทน์เกดิ การฆ่าฟันกัน มาอยู่
ดงห้วยแล้งซึ่งขณะนนั้ เป็นดงป่ารกทึบ หรือ เรียกว่าดงห้วยแล้วมีบ้านคนอยนู่ ้อย จะมีบ้านเรือนคนอยู่มากท่ีป่า
หวาย และป่าตาล ที่บ้านห้วยแล้งมีหนองน้ำใหญ่ชื่อ “หนองหลง” หรือ “หนองอีโล่ง” เป็นหนองน้ำลึกกว้าง
ใหญ่ น้ำเป็นสีเขียวมีป่ารกทึบล้อมรอบและมีป่าไผ่เป็นจำนวนมาก มีช้าง ม้า มากินน้ำท่ีหนองน้ำน้ีเป็นจำนวน
มาก และทุกบ้านจะมีม้าเป็นพาหนะในการเดินทาง ซึ่งตัวของนางสำราญ ศรีดี เคยขี่ม้า และช้างเป็นพาหนะ
และเกวียนสำหรับนำข้าวเปลือกไปสีที่โรงสีวัดเชิงท่า สำหรับช้างน้ันมาจากทางภาคอีสานมาพักอยู่ตรงบริเวณ
โรงเรียนวัดห้วยเปี่ยม (เก่า) เพื่อมารับจ้างแห่นาค ต่อมาได้มีรถรางเป็นพาหนะในอดีตน้ันชาวบ้านพากัน
ประกอบอาชพี เกษตรกรรมทำนา ทำสวน เล้ียงสัตว์ ทอผา้ ใช้กันเอง
นางสำราญ ศรีดี ได้เล่าถึง การแต่งกายในอดีตว่า ชาวบ้านจะนุ่งโจงกระเบนผ้าพ้ืนและผ้าลายและมี
ผา้ ขาวมา้ หรือผา้ ขาวพาดไหล่ ชาวบ้านปลูกฝา้ ย ปั่นฝ้ายและทอผ้าฝ้ายใชใ้ นชวี ิตประจำวันโดยใช้มะเกลอื เป็นสี
หลกั ในการยอ้ มผ้า
ศลิ ปินพื้นบ้านคือ หมอลำ ซ่ึงในขณะนั้น ได้แก่ หมอลำช่ือนางจันทร์มา หรือเรียกว่า หมอลำจันทร์มา
และอาหารพน้ื บา้ น ไดจ้ ากการหาปู หาปลา ตามทอ้ งนา โดยการ ดักไซ หว่านแห ยกยอ ทำน้ำปลา และปลาร้า
ไว้รับประทานในครัวเรือน อาหารหลักคือ ปลา และผักพื้นบ้าน เช่น ดอกแคนา ลาบเทา แกงหอยจู๊บใส่ข้าว
เบือ แกงเปรอะหน่อไม้ แจ่วหม้อปลาซิว ห่อหมกปลาซิว อาหารหวานได้แก่ ขนมป้ิง ขนมหมอแกง ขนมตาล
ขนมวง ข้าวเหนียวแดง เป็นต้น นอกจากน้ันข้าวของเคร่ืองใช้ในครัวเรือน เช่น ตระกร้า กระด้ง กระบุง ก็จัก
สานใชก้ นั เองในครัวเรือง ซึ่งตัวเองก็มฝี ีมอื ทางดา้ นการจกั สานเช่นกัน
สำหรับประเพณี และการประกอบพิธีกรรมตามความเช่ือของชาวลาวเวียงตำบลป่าตาล ได้แก่ การ
ทำบุญกลางบ้าน การเล้ียงศาลเจ้าพ่อ การไต้หางประทีป สาทรลาว ก่อเจดีย์ทราย สงกรานต์ ตักบาตรเทโว
เป็นต้น สำหรับการละเล่นพื้นบ้าน ตะสะบ้า ลูกช่วง บักห่ึม และการละเล่นนางกวัก โดยมีคำพูดเป็นบทกลอน
ในการเลน่ นางกวกั คือ
“นางกวักเอย นางกวัดเก่เด่
แมก่ ะน้อง สองเพน่ิ สร้าง
เจา้ ยา่ งมาตามเดอื นหงาย
เดือนหยายแลว้ เจ้านายลงเล่น
เต้นก็เตน้ กบั แม่นางกวกั
บาดนน้ี างกวกั ไดเ้ ต้น..........”
(คำพูดบทกลอนอาจมกี ารผิดเพ้ยี นและไม่สมบรู ณ์ไปบา้ งเน่ืองจากผ่านมาเปน็ เวลานาน)
จากน้ันนางสำราญ ศรีดี ยังได้กล่าวอีกว่า “ลาวเวียงจันทน์บ้านเราจะมีสำเนียงคล้ายกับลาวหล่ม ซึ่ง
เปน็ ลาวหล่มสัก เพ็ชรบูรณ์ แต่สำเนยี งภาษาของลาวหล่มสักเพช็ รบุรณ์จะพูดเช้าและเนบิ ๆ กว่าวลาวเวียงบา้ น
ปา่ ตาล” แต่กอ็ พยพมาจากลาวเหมอื นกนั

2. นางสงบ ป่ินวันนา อายุ 77 ปี อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 95/12 หมู่ 6 ตำบลป่าตาล อำเภอเมือง
ลพบุรี จังหวัดลพบุรี เป็นข้าราชการครูบำนาญ เล่าว่าบรรพบุรุษปู่ ย่า ตาย ยา อพยพมาจากเมืองเวียงจันทน์
คอื คุณตาทวดของนางสงบ ปิ่นวันนามเี ชอื้ สายเจ้าผู้ครองนครเมืองเวียงจนั ทน์ อพยพลีภ้ ัยสงครามจากพมา่ และ
การแย่งชิงอำนาจทางการปกครองของฝา่ ยเจ้านายในเมอื งเวียงจันทน์เองรวมถึงจากการสู้รบทำศึกสงครามกับ
เมืองต่าง ๆ ทีต่ ้องการเมืองเวียงจันทน์เป็นเมืองข้ึน ญาติบางฝ่ายเดินทางไปทางเหนือ ทางเชียงใหม่ โดยคุณตา
ทวดและคุณยายทวดของนางสงบ ป่ินวันนา ได้อพยพล้ีภัยมาตามลำน้ำโขงและมาพักอยู่ท่ีเมืองอุบลราชธานี
แต่เน่อื งจากกลัวว่าฝ่ายศัตรจู ะตามมาพบและทำรา้ ยจงึ เดนิ ทางตอ่ มาเรอ่ื ยจนถงึ สระบุรแี ละจังหวัดลพบุรี จึงตั้ง
ถิ่นฐานอยู่ท่ีตำบลป่าตาลเป็นต้นมาและมีญาติๆ ตั้งถิ่นฐานอยู่ท่ีจังหวัดอุบลราชธานีอยู่บ้าง ซ่ึงการเดินทางใน
ครั้งน้ันได้มีพ่ีเลี้ยงเดินทางมาด้วยและมีช้าง ม้า เพื่อเป็นพาหนะ และสำหรับขนส่ิงของเครื่องใช้มาด้วย แต่ไม่
ทราบแนช่ ดั ว่าอพยพเข้ามาในสมยั ใดรแู้ ตว่ า่ นานมากแลว้

โดยในอดีตชาวลาวเวียงตำบลป่าตาล ได้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ และใช้ม้าเป็นภาหนะ
ในการเดินทาง สำหรับในอดตี ได้มีการทอผ้าไหมใช้ในชีวติ ประจำวันต่อมาเกิดไฟไหม้หมบู่ ้านประกอบกับสภาพ
พ้ืนท่ีเป็นที่ราบลุ่มจึงเกิดการน้ำท่วมเป็นประจำส่งผลให้เคร่ืองมือและพ้ืนที่ในการปลูกหม่อนเล้ียงไหมถูก
ทำลาย ต่อมาจึงได้ปลูกฝ้ายเพื่อทอผ้าฝ้ายใช้กันเองและทอผ้าลายขิด ทอเส่ือกกใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งต่อมา
ถูกน้ำทว่ มพนื้ ทปี่ ลูกฝ้ายและเครือ่ งมอื ในการทอเสยี หายเช่นเดียวกัน

สำหรับอาหารก็เป็นอาหารพื้นบ้านตามฤดูกาล โดยอาหารส่วนใหญ่จะมสี ่วนประกอบของปลาร้า หรือ
น้ำปลาร้าเป็นส่วนประกอบเป็นหลัก เช่น ลาบมะเขือ แกงป่าดอกแคนา แจ่วหม้อ หมกหม้อ ห่อหมกหน่อไม้
หอ่ หมกปลา แกงมะขามเทศ ลาบเทา สว่ นขนมก็เปน็ ขนมดาษกระทะ ปิง้ จ่ี ขนมท้องบอ้ ง เป็นตน้

การละเล่นพื้นบ้าน นางสงบ ป่ินวันนา ได้เล่าถึงการละเล่น “นางกวัก” ซึ่งเป็นการละเล่นในเทศกาล
สงกรานต์ ในช่วงเวลาตอนเย็น โดยจะมีอุปกรณ์ในการเล่น ประกอบด้วย กระด้ง แป้ง เส้ือผ้า ผ้าขาวม้า
กระจก หวี ขันห้า ตัวกวัก (ทำจากไม้ไผ่) กะลา เปลือกหอย ซ่ึงจะมีเน้ือรอ้ งในการเล่นนางกวักโดยเฉพาะ เป็น
การละเล่นเพื่อทำนายดวงชะตาของหมบู่ า้ นและชาวบ้านนั้น ๆ

นิทานพื้นบ้านที่ปู่ย่า ตา ทวด ชอบเล่าให้ลูกหลานฟังในอดีต คือ เรื่อง “เซียงเมี่ยง” เป็นนิทานใน
วรรณคดีที่ได้รับความนิยมในประเทศลาว และภาคอีสานของไทย โดยเซียงเมี่ยง เป็นคนฉลาดหรือเป็นคน
ฉลาดแกมโกง มีลักษณะนิสัยคล้ายกับ “ศรีธนญชัย” “เซียง” หมายถึง ชายที่ผ่านการบวชเป็นสามเณรมาก่อน
และมาอาศยั อยู่กับพระท่ีวดั

จากนน้ั นางนางสงบ ป่ินวนั นา ยงั ไดก้ ล่าวอีกวา่ “ลาวเวยี งจนั ทนบ์ ้านเราจะมีสำเนยี งคลา้ ยกบั ลาวหล่ม
ซึ่งเป็นลาวหล่มสัก เพ็ชรบูรณ์ แต่สำเนียงภาษาของลาวหล่มสักเพ็ชรบุรณ์จะพูดเช้าและเนิบๆ กว่าวลาวเวียง
บา้ นปา่ ตาล” แต่ก็อพยพมาจากลาวเหมือนกนั และอาจมาพรอ้ มกันหรอื ในเวลาไลเ่ ล่ยี กนั

ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่าชาวพื้นบ้านดั้งเดิมของตำบลป่าตาลเป็นกลุ่ม “ชาติพันธ์ุลาวเวียง” และยังคง
สืบสานวฒั นธรรม ประเพณี การประกอบพิธีกรรมตามความเชอื่ มาจนกระทง่ั ถึงปัจจบุ นั น้ี

สถานทส่ี ำคญั ในตำบลปา่ ตาล

วัด (ทม่ี ีพระจำพรรษา)

ในพนื้ ที่ตำบลปา่ ตาล มีวดั ท่ีมพี ระสงฆ์อยู่จำพรรษา จำนวน 4 วดั ไดแ้ ก่

ลำดบั ชื่อวดั สถานทตี่ งั้ กอ่ ตงั้ เม่อื ปี มเี จา้ สถานที่ โบราณสถาน
ที่ อาวาส โบราณวตั ถทุ ่สี ำคญั
มาแล้ว
1 วดั ปา่ หวายทุ่ง เลขท่ี 92 หมู่ 3 บ้าน พ.ศ. 2396 (รูป) - อโุ บสถ
กกมะเกลือ 12 รูป - ศาลาการเปรยี ญ
- หอระฆงั
2 วดั ห้วยเปีย่ ม เลขที่ 70 หมู่ 1 - 2 พ.ศ. 2416 7 รูป - หอสวดมนต์
บ้านห้วยเปยี่ ม - เมรุ
12 รูป - กฎุ สี งฆ์
3 วัดป่าหวาย เลขที่ 150 หมู่ 6 พ.ศ. 2360 - อุโบสถ
เก่า บ้านปา่ หวายเก่า 5 รูป - ศาลาการเปรียญ
- หอระฆงั
4 วดั ปา่ ตาล เลขท่ี 39/1 หมู่ 4 บา้ น พ.ศ. 2250 - หอสวดมนต์
ป่าตาล - เมรุ
- กฎุ สี งฆ์
- อุโบสถ
- ศาลาการเปรียญ
- หอระฆัง
- หอสวดมนต์
- เมรุ
- กฎุ ีสงฆ์
- อุโบสถ
- ศาลาการเปรยี ญ
- หอระฆงั
- หอสวดมนต์
- เมรุ
- กฎุ สี งฆ์

วัดป่าหวายทุ่ง
หมู่ที่ 3 ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมืองลพบรุ ี จังหวัดลพบุรี

วัดป่าหวายทุ่ง ตงั้ อยูเ่ ลขท่ี 92 บา้ นปา่ หวายท่งุ ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมืองลพบรุ ี จงั หวดั ลพบรุ ี
สงั กดั คณะสงฆ์มหานิกาย มีทีด่ นิ ตงั้ วัดเนอื้ ท่ี 7 ไร่ 1 งาน 65 ตารางวา โฉนดเลขที่ 39 อาณาเขต
เทศเหนือ 44 วา 2 ศอก ตดิ ตอ่ กบั ทดี่ นิ ของทางราชการทหาร ทศิ ใตย้ าว 47 วา 2 ศอก ตดิ ต่อกบั
ทด่ี นิ ของนางแสง และ นายไสว ทิศตะวันออกยาว 62 วา ติดตอ่ กบั ทด่ี ินของนายวันดี ทศิ ตะวนั ตกยาว
67 วา ตดิ ต่อกบั ทีด่ ินของ นายภมุ มา มที ่ีธรณีสงฆ์ 1 แปลง เน้ือที่ 10 ไร่

พื้นท่ีวัดต้ังเป็นท่ีราบลุ่ม อาคารเสนาสนะต่าง ๆ มีศาลาการเปรียญกว้าง 20 เมตรสร้างข้ึนเพ่ือ
พ.ศ. 2516 เป็นอาคารไม้ หอสวดมนต์กว้าง 20 เมตร ยาว 21 เมตร สร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2516
เป็นอาคารไม้ กฏีสงฆ์ จำนวน 4 หลัง เป็นอาคารไม้และคร่ึงตึกครึ่งไม้ตามแบบปูชะนีวัตถุ มีพระพุทธรูป
ขนาดตา่ ง ๆ จำนวน 5 องค์

วัดป่าหวายทุ่ง สร้างข้ึนเป็นวัดนับต้ังแต่ พ.ศ. 2396 ตั้งอยู่ท่ีบ้านป่าหวายทุ่ง หมู่ที่ 7 ปัจจุบัน
เป็นท่ีตั้งของสำนักงานเทศบาลตำบลป่าตาล มีผู้ร่วมดำเนินการสร้างวัด ได้แก่ นายโก่น พวงเปลี้ย นาย
ปาน พวงเปลี้ย เดิมมีที่ดิน 7 ไร่ ต่อมา นายน้อย นางออ่ น พวงเปลย้ี บรจิ าค 3 ไร่ ที่ต้ังเดิมอยตู่ ิดต่อ
กับอาณาเขตชลประทานมักถูกน้ำท่วมเป็นประจำ มีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการอยู่ที่วัดน้ีด้วย ชื่อ
โรงเรยี นวัดป่าหวายทุ่งประชาบาล ต้ังข้นึ เมื่อปี พ.ศ. 2481 เปิดสอนในระดับ ป.1 – ป.4 ปัจจุบันโรงเรียน
ได้ยุบเลิกการเรียนการสอนแล้วและมาเรียนที่โรงเรียนพลร่มอนุสรณ์ มิตรภาพท่ี 50 แทนเนื่องจากสภาพ
พ้ืนทีเ่ ป็นทรี่ าบลุม่ น้ำทว่ มขงั อยูเ่ ปน็ ประจำ จงึ เป็นสาเหตุให้วดั ป่าหวายทุง่ ได้ย้ายมาตง้ั อยู่ ณ บ้านกกมะเกลือ
หมู่ท่ี 3 ท่ีอยู่ปัจจุบัน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 27 สิงหาคม 2527 เขตวิสุงคามสีมากว้าง
29 เมตร ยาว 4 เมตร ในอดีตมีพระภิกษุอยู่จำพรรษา ปีละ 6 รูป ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยัติธรรม
พ.ศ. 2469

ทำเนยี บเจา้ อาวาส วัดป่าหวายทุ่ง ต้งั แต่อดีตจนถงึ ปัจจบุ ัน

1. พระอาจารย์เกต 2. พระอาจารย์พนั 3. พระอาจารยโ์ พธิ์
พ.ศ. 2369 - 2416 พ.ศ. 2416 - 2431 พ.ศ. 2431 – 2451

4. พระอาจารย์หลา้ 5. พระอาจารย์ทอง 6. พระอาจารยน์ ้อย
พ.ศ. 2451 - 2460 พ.ศ. 2460 - 2467 พ.ศ. 2467 – 2474

7. พระอาจารย์อาน 8. พระอาจารย์สขุ 9. พระอธิการเภา สวํ โร
พ.ศ. 2474 – 2480 พ.ศ. 2480 – 2482 ดำรงตำแหน่งตัง่ แต่ พ.ศ.

2482 เป็นต้นมา

10. พระอธิการสุดตา อนนั โธ 11. พระสวน 12. พระอธิการบุญสง่ ขัน
ถงึ พ.ศ. 2540 รักษาการแทนเจ้าอาวาส ติพโล พ.ศ. 2541 -
พ.ศ. 2540 – พ.ศ. พ.ศ. 2565
2541

13. พระจรนั จารวุ ณั โณ
รกั ษาการแทนเจา้ อาวาส
พ.ศ. 2565 - ปัจจบุ ัน

วดั ห้วยเป่ยี ม
หมู่ที่ 2 ตำบลป่าตาล อำเภอเมอื งลพบุรี จังหวัดลพบุรี

ศาลาการเปรยี ญ (หลังเดิม)

หอระฆัง เมรุ

วัดห้วยเปี่ยม ตั้งอยู่เลขที่ 70 บ้านห้วยแล้ง หมู่ท่ี 1 – 2 บ้านห้วยเปี่ยม ตำบลป่าตาล อำเภอ
เมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีท่ีดินต้ังวัดเนื้อที่ 10 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือยาว
202 เมตร ติดต่อกับกำแพงถนนติดต่อกับที่มีที่ธรณีสงฆ์ ทิศใต้ยาย 199 เมตร ติดต่อกับที่ดินของนาย
น้อย ทาบุตร ทิศตะวันออกยาว 82 เมตร ติดต่อกับที่ดินของนางบุ่น คล่องแคล่ว ทิศตะวันตกยาว 86
เมตร ตดิ ตอ่ กบั ทด่ี นิ ของนายสมพงษ์ รตั นะ มีท่ีธรณีสงฆ์1 แปลง เนอื้ ที่ 5 ไร่

พน้ื ท่ตี ้งั วัดเปน็ ที่ราบสงู อาคารเสนาสนะตา่ ง ๆ มี อโุ บสถกวา้ ง 6.60 เมตร ยาว 16.50 เมตร
สรา้ ง พ.ศ. 2500 โครงสรา้ งคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ศาลาการเปรยี ญกว้าง 11 เมตร ยาว 17 เมตร
สร้าง พ.ศ. 2519 เป็นอาคารคอนกรีต 2 ชนั้ หอสวดมนต์กวา้ ง 9.30 เมตร ยาว 15.20 เมตร สรา้ ง
พ.ศ. 2504 เปน็ อาคารไม้ กุฎสี งฆ์ จำนวน 6 หลงั สำหรับปชู นียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ 1 องค์
ในศาลาการเปรียญ 1 องค์ พรอ้ มดว้ ยพทุ ธรปู ตา่ ง ๆ อีก 3 องค์ ที่หอสวดมนตม์ พี ระประธาน 1 องค์
และพระพุทธรปู อืน่ อีก 3 องคว์ ัดหว้ ยเปยี่ ม สรา้ งข้ึนเป็นวัดนับตง้ั แตป่ ระมาณ พ.ศ. 2416 เดิมมีนามวา่
“วัดหว้ ยแล้ง” เน่อื งจากมีลำห้วยอย่หู า่ งจากวัดประมาณ 500 เมตร ถงึ ฤดรู ้อนหนา้ แลง้ นำ้ จะแห้งขอด จงึ
เรียกชือ่ บา้ นและวัดวา่ “ห้วยแลง้ ” ถงึ ปี พ.ศ. 2483 ได้เปล่ียนนามใหมเ่ ป็น “วัดหว้ ยเปี่ยม” เพ่ือให้มี
ความหมายดขี ึน้ ไดร้ ับพระราชทานวสิ งุ คามสมี าวนั ท่ี 18 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2495 เขตวสิ ุงคามสีมากว้าง

40 เมตร ยาว 60 เมตร ไดผ้ ูกพัทธสมี าประมาณ พ.ศ. 2499 โดยในอดีตมีพระภกิ ษุอยู่จำพรรษาปีละ
4 รปู สามเณร 1 รปู ทว่ี ดั มโี รงเรียนประถมศึกษาของทางราชการต้งั อยดู่ ว้ ย ชื่อ โรงเรียนวัดหว้ ยเป่ยี ม
เปน็ อาคารไมช้ ้ันเดยี วซ่ึงปจั จุบนั ไดร้ อื้ ถอนแล้ว

ทำเนยี บเจ้าอาวาส วดั ห้วยเปี่ยม ต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบัน

1. พระอธกิ ารชู 2. พระอธกิ ารดา 3. พระอธิการจันทร์

4. พระอธกิ ารคำมลู 5. พระอธิการพิมพ์ อินทปญโญ 6. พระอธิการปลั่ง ปภสสโร
ตัง้ แต่ พ.ศ. 2584 - 2505 ต้งั แต่ พ.ศ. 2507 – 2546

7. พระครปู ลดั อาภรณ์ ทีปโก
ต้ังแต่ พ.ศ. 2547 ถึงปจั จุบนั

วดั ป่าหวายเก่า

หมู่ที่ 6 ตำบลป่าตาล อำเภอเมอื งลพบุรี จังหวดลพบุรี

วัดนี้ตั้งเม่ือ พ.ศ. 2360 ผู้ก่อตงั้ คือ หลวงพ่อโส พร้อมด้วยสัปบุรุษชาวบ้านป่าหวายเก่าจดั ต้ังขึ้น โดย
มีผู้มอบถวายที่ดินให้ แตไ่ ม่ปรากฏหลักฐาน ระยะแรกมีกฎุ ี 3 หลงั ศาลาเลก็ ๆ 1 หลงั พอเปน็ ท่จี ำพรรษาของ
พระภิกษุ ต่อมาได้จัดสร้างกุฎีขึ้นนอีก 1 หลัง ตามลำดับคณะกรรมการวัดก็ได้ช่วยฏิสังขรณ์ทำนุบำรุงมาโดย
ลำดับ จนถึงปัจจุบันน้ีมีกฎี 8 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง หอสวดมนต์ 1 หลัง พระอุโบสถ 1 หลัง มี
พระภิกษุสามเณรอยู่จำพรรษาปี พ.ศ. 2515 จำนวน 28 รูป พ.ศ. 2516 จำนวน 388 รูป แต่สวน
โบราณสถานยังไม่เจริญเท่าท่คี วร และมสี ิง่ ทีต่ อ้ งปรบั ปรุงอีกมาก

ที่ตั้ง วัดน้ีตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี เน้ือท่ี-ไร่-งาน หนังสือสำคัญ
และโฉนด อยู่ท่ีอำเภอ (ปัจจุบันวัดป่าหวายเก่า ต้ังอยู่ในพื้นท่ีหมู่ที่ 6) สังกัด มหานิกาย บุคคลสำคัญที่มีส่วน
เก่ียวข้องกับวัด ประกอบไปด้วยคณะกรรมการวัดทั้งหมด 17 คน มีโบราณวัตถุที่สำคัญ มีพระอุโบสถ 1 หลัง
โบราณสถานที่สำคัญของวัด ในปัจจุบันนี้ มีศาลาการเปรียญ 1 หลัง กุฎี 8 หลัง หอสวดมนต์ 1 หลัง พระ
อุโบสถ 1 หลงั

ทำเนยี บเจา้ อาวาส วัดปา่ หวายเกา่ ตง้ั แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั

1. หลวงพอ่ โส 2. อาจารย์เจ๊ก 3. พระอุปชั ฌาย์ทองดี
เป็นนานเท่าไรไม่ปรากฏ เป็นเจา้ อาวาสอยู่ประมาณ 6 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2436 - 2466

4. อาจารย์ถนอม 5. พระอธิการวรี ะ มหาวีโร 6. พระอธิการบญุ มา
ต้งั แต่ พ.ศ. 2466 - 2495 ตั้งแต่ พ.ศ. 2495 - 2505 ตงั้ แต่ พ.ศ. 2505 – 2506

7. พระอธกิ ารสุพจน์ 8. พระรักษ์ สวุ รัตน์ รักษาราชการ 9. พระคูณ รักษาราชการแทนเจ้า
ต้งั แต่ พ.ศ. 2506 - 2508 แทนเจ้าอาวาส ต้ังแต่ พ.ศ. 2508 – อาวาส ต้ังแต่ พ.ศ. 2510 - 2512
2510

10. พระมหาดสิ พล ธมวาที เปรียญ 11. อาจารย์แปะ๊ 12. พระครโู กศลนนั ทสาน
6 นกั ธรรมเอก ต้งั แต่ พ.ศ. 2513 เจา้ อาวาสองคป์ ัจจุบัน

หลักฐานและเอกสารอ้างอิงของวัด อยทู่ ี่ ทวี่ า่ การอำเภอเมืองลพบรุ ี และเจ้าคณะอำเภอเมืองลพบุรี

วัดปา่ ตาล
หมู่ 4 ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบุรี จังหวดั ลพบรุ ี

วัดป่าตาล นี้เดิมตั้งอยู่ในเขตหน่วยทหาร คือ กองรบพิเศษ (พลร่มที่ 1) ค่ายวชิราลงกรณ์ ขณะน้ีเป็น
วัดที่เก่าแก่มากที่สุดวัดหนึ่งของจังหวัดลพบุรี เพราะตามประวัติท่ีได้สอบถามตามคำบอกเล่าของคนเก่าว่า ใน
สมัยก่อนวัดน้ีเป็นวัดท่ีสำคัญมาก มีชาวบ้านหลายตำบลด้วยกันที่ต้องการจะอุปสมบทแล้วจะต้องมาทำการ
อุปสมบทที่วัดนี้เท่าน้ัน จึงเป็นเรื่องท่ีไม่มีใครทราบได้ว่า วัดป่าตาลน้ีได้สร้างมาแต่สมัยใด คนสมัยก่อนบอกว่า
เกิดมาก็ได้เห็นอุโบสถหลังเก่าของวัดน้ีเก่าแก่มากจนเกือบจะใช้การไม่ได้แล้ว จงึ แสดงว่าวัดป่าตาลนี้ได้สร้างมา
เป็นเวลานับร้อย ๆ ปมี าแล้ว เม่ือ พ.ศ. 2484 ทางราชการได้ขอเวนคืนทีด่ ินของตำบลป่าตาลบางส่วนมาเป็น
ของรัฐบาล รวมท้ังวัดป่าตาลน้ีด้วย และได้กอ่ สรา้ งอาคารบา้ นเรือนตลอดจนสถานที่ราชการรอบ ๆ บริเวณวัด
ป่าตาลทง้ั หมด

เมื่อ พ.ศ. 2504 พลตรี เทียนชัย สิริสัมพันธุ์ ผู้บัญชาการศูนย์สงครมพิเศษ ซ่ึงเป็นผู้บังคับกองพัน
ทหารร่มในขณะน้ัน เห็นว่าวัดป่าตาลน้ีต้ังตั้งอยู่ในสถานท่ีราชการ จึงไม่เหมาะสมและไม่สะดวกแก่พระภิกษุ
สงฆ์ท่ีจะทำสังฆกรรมได้สะดวก จึงได้ทำรายงานขอให้ทางกรมการศาสนาได้ย้ายวัดป่าตาลออกนอกสถานท่ี
ราชการ กรมการศาสนาจึงได้มคี ำสั่งให้ย้ายวัดป่าตาลออกนอกสถานที่ราชการได้ ประกอบด้วยประชาชนมีจิต
ศรัทธาบริจาคทรพั ยซ์ อื้ ท่ีดินถวายวัดเปน็ เนือ้ ท่ี 13 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา และทางราชการทหารได้อนมุ ัติเงิน
ค่าผาติกรรมย้ายวัดป่าตาล เป็นเงนิ จำนวน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) พลตรี เทียนชัย สิริสัมพันธ์ จึง
ได้ต้ังคณะกรรมการดำเนินการย้ายวัดป่าตาลขึ้น จำนวน 3 นาย ด้วยกัน มี พ.ต. สละ สาคระพันธ์, พ.ต. อภิ
ศักด์ิ ศักดิ์ศิลปะชัย, ร.อ. สุวิช สุวรรณปรีชา เป็นกรรมการ คณะกรรมการได้ดำเนินการย้ายวัดป่าตาลน้ีเมื่อ
เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2504 มาตั้งบรเิ วณทีด่ ินใหม่ในเนื้อท่ีทงั้ หมด 13 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา นอกเขตทหาร
กองรับพิเศษ (พลร่มท่ี 1) ค่ายวิชิราลงกรณ์ ทางทิศไต้ติดกับหลังห้องแถวบ้านพักข้าราชการนานสิบ และวดั น้ี
ขนึ้ กับหมู่ท่ี 4 ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบรุ ี จงั หวดั ลพบุรี ส่วนหนังสือหลักฐานสำคัญในกรรมสทิ ธิ์ที่ดินน้ัน
ขณะน้ีมีเพียงใบซ้ือขาย ยังไม่ได้ทำเป็นโฉนดของทางวัดแต่ประการใด และทางวัดก็ได้ทำหลักฐานเพียงล้อมรั้ว

ลวดหนามกั้นเขตไว้เท่าน้ันและขณะนี้ทางวดั กำลังก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่อยู่ (ยงั ไม่เสรจ็ ) และเป็นวัดขนึ้ อยใู่ น
สงั กัดมหานกิ าย ส่วนบคุ คลสำคัญท่ีให้ความอปุ การะวัดนีอ้ ยู่ คอื กองรบพิเศษ (พลรม่ ที่ 1) คา่ ยวชริ าลงกรณ์

โบราณวัตถุของวัดท่ีสำคัญ คือ รูปจำลองหลวงพ่อโต เพราะเป็นท่ีเคารพนับถือของประชาชนตลอด
ชาวกองรบพเิ ศษ (พลรม่ ) ด้วย

โบราณสถานของวัดทีส่ ำคัญ มอี ุโบสถ ศาลาการเปรียญ ศาลาหอสวดมนต์ กฎุ ี หอระฆัง
เนื่องจากวัดป่าตาลเป็นวัดท่ีมีความเก่าแก่มาวัดหน่ึงในพ้ืนที่ตำบลป่าตาล และได้มีการย้ายออกมา
ตั้งอยู่แห่งใหม่เนื่องจากท่ีต้ังเดิมอยู่ในพ้ืนที่ของทางราชการ คือ ค่ายวชิราลงกรณ์ ทางวัดป่าตาลแห่งใหม่ก็ได้
เกบ็ ข้อมูลเอกสารหลักฐานตา่ ง ๆ ของวัดไว้เชน่ กัน ดงั นี้

วัดป่าตาล ต้ังอยู่เลขที่ 39/1 บ้านป่าตาล หมู่ 4 ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเน้ือที่ 13 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา อาณาเขตเทศเหนือยาว 190 เมตร
ติดตอ่ กบั คา่ ยวชิราลงกรณ์ ทิศใต้ยาว 190 เมตร ติดตอ่ ทด่ี ินของนาง หนูจนั ทร์ นางสุข นายบุ่น ทิศตะวันออก
ยาว 125 เมตร ตดิ ต่อกบั ทด่ี ินของนายสงิ หค์ ำ นายบุ่น

พ้ืนท่ีตั้งวัดเป็นที่ราบ อาคารเสนาสนะตาง ๆ มีอุโบสถกว้าง 2.50 เมตร ยาว 22 เมตร สร้าง พ.ศ.
2526 โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กศาลาการเปรียญกว้าง 15 เมตร ยาว 22 เมตร สร้าง พ.ศ. 2505 หอ
สวดมนต์กว้าง 11 เมตร ยาว 22 เมตร สร้าง พ.ศ. 2505 เป็นอาคารไม้ สำหรับปูชนียวัตถุ พระประธานใน
อุโบสถ

วัดป่าตาลสร้างข้ึนเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2250 เดิมต้ังอยู่บริเวณอันเป็นที่ต้ังค่ายวชิราลง
กรณ์ ต่อมาได้ย้ายเสนาสนะออกมาจัดสร้างข้ึน ณ ท่ีต้ังปัจจุบันและได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 22
มิถุนายน พ.ศ. 2524 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 74 เมตร ได้ผูกพัทธสีมา วันที่ 13 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2526 มีพระภิกษุอยู่จำพรรษา 6 รูป ทางวัดไดเ้ ปิดสอนพระปริยติธรรม พ.ศ. 2509

ทำเนยี บเจ้าอาวาส วัดป่าตาล ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจบุ ัน

1. พระอาจารย์น้อย 2. พระอาจารย์น๊อต 3. พระอาจารยเ์ กต
ตั้งแต่ พ.ศ. 2470 - 2488 ต้งั แต่ พ.ศ. 2489 - 2495 ตัง้ แต่ พ.ศ. 2496 – 2502

4. พระธรรมศกั ดิ์ 5. พระอธกิ ารชยั สิทธ์ิ โชตโิ ก 6. พระอธิการจำรญู อจฺ
ตั้งแต่ พ.ศ. 2503 - 2509 ตั้งแต่ พ.ศ. 2509 - 2532 ตัง้ แต่ พ.ศ. 2532 – 2545

7. พระมหาชาญชัย อริยธโช
ต้งั แต่ พ.ศ. 2545 – ปจั จบุ ัน

แหล่งโบราณสถาน/สถานทที่ ่องเทย่ี ว

ปอ้ มชยั ชนะสงคราม

ตัง้ อยูท่ ่ี หม่ทู ่ี 8 บ้านพรมน้ำอบ
ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมืองลพบุรี จังหวดั ลพบุรี
อยใู่ นความดแู ลของกรมศิลปากร 4 ลพบุรี

สร้างข้นึ ครัง้ แรกในสมเดจ็ พระราเมศวร
ด้วยทรงโปรดใหส้ รา้ งป้อมปราการดเู มืองและ
กำแพงเมืองท่แี ขง็ แกรง่ ขึ้น เพื่อป้องกนั ขา้ ศกึ
ศัตรู ในชว่ งน้นั ลพบรุ มี ฐี านะเปน็ เมอื งลูกหลวง
และเป็นเมืองหนา้ ดา่ น ทางทิศตะวันออกเฉียง
เหนือ ที่สำคัญมากของกรุงศรีอยุธยา ต่อมาจึงโปรดให้รื้อป้อมปราการ และกำแพงเมืองลพบุรี
ออก ดว้ ยเกรงวา่ กำแพงและป้อมเหลา่ นจ้ี ะเป็นประโยชนต์ ่อฝ้ายพมา่ มากกวา่ ฝ่ายไทยดังนั้น ป้อม
ปราการและกำแพงเมืองลพบุรีจึงถูกร้ือถอนลงทั้งหมด ต้ังแต่คราวน้ันเมืองลพบุรีได้รับปรังปรุง
ใหญอ่ ีกคร้ัง ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ด้วยทรงตอ้ งการใหล้ พบุรีเป็นราชธานีแห่งท่ี 2
ของกรุงศรีอยธุ ยา พระองคไ์ ดโ้ ปรดฯ ให้สร้างประตูเมืองดว้ ยอิฐ สรา้ งป้อมเปน็ มุมแหลมย่ืนออก
จากคนั ดนิ และจากกำแพงเมืองหา่ งกันเป็นระยะ ๆ รวมจำนวนท้ังสน้ิ 7 ป้อม ดังน้ี

1. ป้อมทา่ หนิ 5. ป้อมวัดมเหศวร
2. ปอ้ มทา่ โพธ์ิ 6. ปอ้ มบริเวณหลังโรงเรียนพิบูลวทิ ยาลยั
3. ปอ้ มวดั เชิงทา่ 7. ปอ้ มประตูชยั

ประตูชอ่ งกุฏิ

ประตูช่องกุฎิ ต้ังอยู่ที่บ้านพรมน้ำอบ หมู่ที่ 8 ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัด
ลพบุรี ประตูช่องกุฎิ เป็นประตูระบายน้ำช้ันในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สร้างเม่ือประมาณปี พ.ศ.
2208 - 2220 มีลักษณะคล้ายปากจั่นแตข่ นาดใหญ่กว่า ตั้งอยใู่ นคูเมือง เป็นประตูท่สี ร้างข้ึนสำหรับกั้นน้ำ
และระบายน้ำระหว่างคูเมืองกับแม่น้ำลพบุรี ชาวบ้านเรียกประตูแห่งนี้ว่า ประตูช่องกุฎิ กรมศิลปากร
ประกาศข้ึนทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 53 ตอนท่ี 24 เมื่อวนั ที่ 2
สิงหาคม พ.ศ. 2479 ปจั จบุ นั อยใู่ นความดูแลของกรมศิลปากร 4 ลพบรุ ี

ทา่ เรือจอด

“ท่าเรอื จอด” ต้งั อย่บู ริเวณหมู่ ๓ ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมืองลพบรุ ี จงั หวดั ลพบุรี ในอดีตเป็น
ทา่ เรอื สำคญั สำหรับขนสง่ สินคา้ และนำสินค้าออกส่ตู ลาดท่ัวไป เชน่ เสน้ ทางนำ้ ไปสจู่ งั หวดั สระบรุ ี อยธุ ยา
โดยมีเรือสนิ ค้าเปน็ เรอื แจวเดินทางมาทางแม่น้ำลพบรุ ี ผ่านเข้ามาทางคลองบา้ นพรมน้ำอบ หมู่ที่ ๘ และมา
จอดทีท่ ่าเรือจอด โดยเรือสินค้าจะแวะจอดที่ทา่ เรอื จอดแห่งนเี้ พ่ือให้ชาวบา้ นได้ไปซอ้ื – ขายสนิ ค้าตา่ ง ๆ กับ
พอ่ ค้า โดยสิน้ คา้ ท่ีนำมาค้าขายกันในสมัยน้ัน ได้แก่ หม้อ ไห กระทะ นอ้ ยหนา่ เกลือ ผา้ ผักผลไม้เป็นตน้

ปจั จบุ นั มีประชาชนได้กอ่ สร้างบ้านเรือนปิดทางนำ้ และคลองเดิม ประกอบกบั มีวชั พชื ขนึ้ อยู่เตม็ ลำ
คลองแหง่ นี้ทำให้ไม่สามารถเดินเรือได้เหมอื นในอดีตทีผ่ ่านมา และประกอบกับการคมนาคมทางบกได้มคี วาม
เจรญิ และมีความสะดวกสบายมากยิ่งข้ึน ในปัจจบุ นั ไดเ้ รียกชื่อว่า “ซอยทา่ เรือจอด” (ตง้ั อยบู่ ริเวณหลงั
หมู่บา้ นเหมราชในปจั จบุ นั )

พพิ ธิ ภัณฑท์ หารรบพเิ ศษ

ที่ตั้ง กรมรบพิเศษท่ี 1 คา่ ยวชริ าลงกรณ์ หมู่ 6 บา้ นป่าหวายเกา่ ตำบลป่าตาล
อำเภอเมอื งลพบรุ ี จงั หวัดลพบุรี
พิพิธภณั ฑท์ หารรบพิเศษ แหง่ นเ้ี ปน็ แหล่งรวบรวมประวตั ศิ าสตร์ทางทหาร และ
วรี กรรมของทหารรบพิเศษ ทไี่ ด้เสยี สละเลือดเนอ้ื และชีวิต เพอื่ ปกปอ้ งเอกราช
ของชาติ และเพอื่ เปน็ การยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตทิ หารรบพเิ ศษ
ใหอ้ นุชนรุ่นหลงั ไดย้ ดึ ถือ เป็นแบบอย่างของความเสยี สละ
ต่อไปการจดั แสดงภายใน ถกู จัดโซนอยา่ งเปน็ ระบบ ใหเ้ รา
เดนิ ชมไปเรอ่ื ยๆ โดยเรม่ิ จาก…

ห้องโถง เป็นหอ้ งจดั แสดงประวตั คิ วามเป็นมาและภารกิจตา่ งๆของหน่วยรบพิเศษตัง้ แต่ยคุ เรม่ิ ต้นจนถึง
ปจั จุบันดว้ ย ภาพประตมิ ากรรมฝาผนงั ดินเผาดา่ นเกวยี นนนู ต่ำ ส่งิ สำคญั ประกอบดว้ ยประตมิ ากรรมชา้ งสามเศยี ร “เทพเจา้
เอราวณั ” ภายในเศียรชา้ งบรรจวุ ัตถุมงคลรุน่ อนรุ กั ษ์ชาติและบรรจดุ ินจาก 24 สมรภมู กิ ารรบของไทย และประดษิ ฐานพระ
บรมรูป 9 มหาราชของชาตไิ ทย
ห้องจดั แสดงทัว่ ไป 4 ห้อง
หอ้ งที่ 1 จดั แสดงเกยี่ วกบั ประวัตคิ วามเปน็ มาและการววิ ัฒนาการของหนว่ ยรบพิเศษตลอดจน
เคร่ืองหมายประกอบเครอ่ื งแตง่ กายของนักรบพิเศษท้งั ของไทยและต่างประเทศ
ห้องที่ 2 จดั แสดงเกย่ี วกบั หลกั สูตรการฝึก-ศึกษา ของหนว่ ยรบพเิ ศษ และการปฏิบัตกิ ารพเิ ศษ

ในรปู แบบต่างๆ ของ โรงเรยี นสงครามพเิ ศษ ศนู ยส์ งครามพเิ ศษ
หอ้ งท่ี 3 จัดแสดงประวัตกิ ารรบในยุทธการตา่ งๆ ทม่ี ลี ักษณะเปน็ การปฏิบัตกิ ารรบพิเศษของไทย
และเป็นการจำลองภาพเหตกุ ารณท์ ี่ ทหารรบพิเศษไดร้ ว่ มในการสรู้ บในยุทธการตา่ งๆ เพ่อื ให้
ทหารและอนชุ นรนุ่ หลังได้รบั ทราบและเปน็ ขอ้ เตือนใจ
หอ้ งท่ี 4 จัดแสดงกจิ กรรมท่สี ำคญั ของพระราชวงศจ์ ักรีกบั หน่วยรบพิเศษ ตลอดจนการรวบรวม
กจิ กรรมสำคญั ท่หี น่วยรบพิเศษ ได้มีส่วนรว่ มดำเนนิ การมาในอดีตจนถงึ ปจั จุบัน
หอ้ งปฏิบตั ิการใต้น้ำ เปน็ หอ้ งจดั แสดงจำลองภาพเหตุการณ์ให้เห็นถึงขีดความสามารถในการปฏบิ ัติ
การพิเศษใต้น้ำของกองทัพไทย ด้วยการซุ่มโจมตีดว้ ยวิธีการวางตัวใต้ผิวนำ้ ซึ่งผู้ปฏบิ ัตติ ้องได้รับการฝึก
เปน็ พเิ ศษ มขี ีดความสามารถสูง มคี วามเขม้ แข็ง อดทนทัง้ ร่างกายและจิตใจ และมีความเสยี สละเป็น
อย่างสูง ซึ่งหน่วยรบพิเศษ จะต้องริเร่ิมพัฒนาการฝึกปฏิบัติการพิเศษในลักษณะต่างๆ ให้กับกำลังพล
อยา่ งต่อเนือ่ ง
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารใตด้ นิ
เปน็ หอ้ งจัดแสดงจำลองภาพเหตุการณแ์ ละแผนการทำลายล้างในรปู แบบการปฏบิ ตั กิ าร ใต้ดนิ เพ่อื
ให้กำลังพลได้ตระหนกั ถงึ อันตรายที่ซอ่ นเรน้ แฝงตวั ในรปู แบบตา่ งๆท่อี าจเกดิ ขึ้นท้งั จากความรเิ รม่ิ
ของฝ่ายตรงขา้ มและฝา่ ยเรา
ห้องปฏิบัตกิ ารรบในป่า
เปน็ หอ้ งจดั แสดงจำลองภาพเหตุการณ์การรบจริงที่ต้องฟนั ฝ่าอปุ สรรคนานปั การ เช่น กับระเบดิ
ระเบดิ แสวงเคร่ือง,หลุมขวาก และความเป็นอยทู่ ่ียากลำบากในป่า เพอ่ื เปน็ ข้อเตือนใจใหก้ ำลงั พลได้
ระลกึ ถึงความเสยี สละความกล้าหาญของทหารรบพเิ ศษ ทไี่ ดร้ บั ชัยชนะและต้องประสบกับการสญู เสยี

เลอื ดเน้อื ของทหารกลา้ ทั้งหลาย ทัง้ ทหารกองประจำการ และทหารรบพเิ ศษ คือสิ่งทพี่ วกเขา
เสยี สละเพอื่ ใหพ้ น่ี อ้ งคนไทย ไดอ้ ย่อู ยา่ งสงบ สนั ติ และปราศจากการรุกรานของประเทศอน่ื ๆ ซง่ึ การสญู เสยี ย่อมนำมาซ่ึงความ
เศรา้ โศกเสยี ใจ หากความสงบยงั ไม่เลือนลางหายไป แลว้ จะมีเลือดเนอื้ เช้อื ไทยอกี มากเพียงใดที่ต้องสญู เสยี

สถานรี ถไฟบา้ นปา่ หวาย

สถานรี ถไฟบา้ นปา่ หวาย เป็นสถานรี ถไฟช้นั ๓ ของทางรถไฟสายเหนือ ตง้ั อยู่ท่ี บา้ นปา่ หวายเก่า
หมู่ท่ี 6 ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมอื ง จงั หวดั ลพบรุ ี ห่างจากกรงุ เทพ ๑๒๗.๔๔ กม. ประวตั กิ ารกอ่ สร้างไม่แน่
ชัดน่าจะสรา้ งเม่ือสมยั รัชการที่ ๖ เพราะรถไฟสายแรกของไทยคือสาย กรงุ เทพ-นครราชสีมา

ในอดีตชาวบ้านในพน้ื ท่ีตำบลป่าตาล จะดูเวลาจากการเดนิ ทางของขบวนรถไฟทเ่ี ดินทางมาถึงสถานี
รถไฟบ้านป่าหวายแหง่ น้ี โดยจะเป็นท่ีรู้กนั ว่าชว่ งเวลาท่ีขบวนรถไฟแต่ละขบวนมาถึงจะเป็นเวลาเทา่ ไร เพราะ
เป็นเวลาทกี่ ำหนดไวอ้ ย่างชดั เจนนอกจากจะมเี หตใุ หม้ ีการเปลี่ยนแปลงเวลา แตก่ ็มีน้อยมาก ท้ังนชี้ าวบ้านใน
อดตี จะใช้การเดนิ ทางของขบวนรถไฟเป็นการบอกเวลา เพราะหาดูนาฬิกาได้ยากประกอบกบั เมื่อขบวนรถไฟ
ผ่านมาจะมีเสียงดังได้ยนิ เสียงหวูดรถไฟไปไกลเกือบท้งั ตำบล

นอกจากน้ี ชาวบา้ นในพ้ืนทีต่ ำบลปา่ ตาลและตำบลใกลเ้ คยี งใชร้ ถไฟเปน็ พาหนะในการเดินทางไปยงั
จังหวัดต่าง ๆ โดยเฉพาะการเดนิ ทางไปยัง ตำบลบา้ นกลับ อำเภอหนองโดน ตลาดหนองโดน จงั หวดั สระบุรี
เพอื่ ไปซื้อสนิ ค้าต่าง ๆ

หนองอีโหล่ง บา้ นหว้ ยเปยี่ ม

หนองอโี หล่ง มีลกั ษณะเป็นห้วยใหญ่ เนื้อทป่ี ระมาณ 8 ไร่ ตัง้ อยบู่ รเิ วณหมู่ ๑ - ๒ บ้านหว้ ยเปีย่ ม
เดมิ ทีชื่อ หนองหลง เน่ืองจากเป็นปา่ รกทึบ และมตี ้นไผ่ขึ้นอย่เู ปน็ จำนวนมาก เป็นหนองนำ้ ขนาดใหญ่ น้ำ
เปน็ สีเขยี วและมีความลึกมาก เมือ่ เขา้ ไปแล้วทำให้หลงทางได้ มชี า้ ง ม้า และสตั ว์ปา่ มากินน้ำบรเิ วณหนอง
น้ำนเ้ี ปน็ จำนวนมาก ตอ่ มาไดเ้ รยี กช่อื เป็น “หนองอโี หล่ง” เนอื่ งจากมสี ภาพภูมปิ ระเทศทโ่ี ลง่ แจง้ จาก
เมอื่ ก่อน

สวนละมดุ หวานกรอบ 100 ปี

ในพ้นื ที่ตำบลปา่ ตาล มีสวนละมุดหวานกรอบ
ซึ่งมีอายกุ ว่า 100 ปี ข้นึ อยใู่ นพืน้ ที่หมู่ที่ 6 – 7 ของตำบลปา่ ตาล
โดยมีผู้เฒา่ ผแู้ กเ่ ลา่ ว่าต้นละมุดทป่ี ลูกไว้ในพนื้ ทต่ี ำบลป่าตาลนี้
ในอดตี มีทหารพมา่ เป็นคนเอาเขา้ มาปลูกไว้เมือ่ สมัยกรงุ ศรีอยุธยา
แตกคร้ังที่สอง เม่ือประมาณปี พ.ศ. 2310 โดยทหารพม่าได้เข้ามาต้ังค่ายพักแรมเพื่อรอเข้าตีกรุงศรีอยธุ ยาซ่ึง
ตอ้ งใช้ระยะเวลานาน และได้นำละมุดมาปลูกท้ิงไว้ในบรเิ วณคา่ ยน้ี

สวนละมุดหวานกรอบ 100 ปี เป็นต้นละมุดพันธ์ุพื้นบ้านท่ีมีลำต้นขนาดใหญ่ ผลเป็นรูปไข่ไก่ มี
รสชาติหวานกรอบ ซ่ึงมีมากอย่ใู นพ้ืนท่ีของ หมู่ที่ 6 – 7 ของตำบลป่าตาล จะออกผลและสามารถเก็บผลผลิต
ได้ในชว่ งเดือน กรกฎาคม - พฤศจิกายน ของทุกปี

บ่อนำ้ โบราณ

จากการเข้ามาตั้งค่ายพักแรมของทหารพม่าเมื่อคร้ังสมัยกรุงศรีอยุธยาแตกคร้ังที่สอง เม่ือประมาณปี
พ.ศ. 2310 โดยทหารพม่าได้เข้ามาต้ังค่ายพักแรมเพื่อรอเข้าตีกรุงศรีอยุธยาซ่ึงต้องใช้ระยะเวลานาน ซ่ึง
นอกจากจะได้นำละมุดมาปลูกท้ิงไว้ในบริเวณค่ายนี้ ยังได้ขุดบ่อน้ำก่อด้วยอิฐแดงโบราณ เพื่อใช้ดื่มกินในค่าย
ซ่ึงบ่อน้ำแห่งน้ีอยู่บริเวณสวนละมดุ ในพ้ืนท่ี หมทู่ ี่ 6 บา้ นป่าหวายเก่า ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบรุ ี จงั หวัด
ลพบรุ ี

ในปจั จุบนั น้ี ทงั้ ในส่วนของสวนละมดุ หวานกรอบ 100 ปี และบอ่ นำ้ โบราณ ไดร้ บั การฟ้ืนฟูและ
อนุรักษ์ สง่ เสริมใหเ้ ปน็ สถานท่ที อ่ งเท่ยี วของตำบลปา่ ตาล และสรา้ งรายได้ใหก้ บั ประชาชนในพ้ืนทีไ่ ดเ้ ปน็ อย่าง
ดี

พิกดั สวนละมดุ หวานกรอบ ๑๐๐ ปี

ศนู ย์การเรียนรู้ชมุ ชนตำบลป่าตาล

ศูนย์อนรุ กั ษ์วฒั นธรรมลาวเวียงบา้ นปา่ ตาล

“ศูนยอ์ นุรักษ์วัฒนธรรมลาวเวียงบ้านป่าตาล” จากการสืบค้นขอ้ มูลประวัติความเป็นมาของตำบลป่า
ตาลโดยผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าขานว่าบรรพบุรุษของชาวตำบลป่าตาลส่วนใหญ่อพยพมาจากเมืองเวียงจันทน์
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว “ประเทศลาว” และจากการสืบค้นข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ จึงทำให้
เราเชือ่ ได้ว่าพวกเราเปน็ ลาวเวียงจนั ทน์ ซงึ่ พวกเรามภี าษาลาวเป็นภาษาถิ่น มวี ัฒนธรรมประเพณี การประกอบ
พธิ ีกรรมตามความเช่ือที่เป็นเอกลักษณ์ของเราเอง โดยศูนยอ์ นุรกั ษ์วฒั นธรรมลาวเวยี งบา้ นป่าตาล ได้เริ่มจาก
การรวมกลุ่มของชาวบ้านในนามชมรมออนซอนสามัคคีสุขภาพดีทั้งหมู่บ้าน ชมรมนี้จัดต้ังขึ้นเพื่อการร่วมกัน
ออกกำลังกายรำพ้ืนบ้าน และดำเนินกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริม อนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณีของชาว
ลาวเวยี ง

ชมรมออนซอนสามัคคีสุขภาพดีทั้งหมู่บ้าน ในขณะนั้นเป็นชมรมท่ีมีความเข้มแข็งสามารถดำเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง ทัง้ ในด้านการออกกำลงั กายและการจัดกิจกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของของชาว
ลาวเวียง ซ่ึงในเวลาต่อมาเทศบาลตำบลป่าตาล ร่วมกับ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชนและประชาชนในพ้ืนที่
ตำบลป่าตาล ได้ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการจดั กิจกรรมต่าง ๆ ให้กับทางชมชรมออนซอนสามัคคีสุขภาพดี
ทง้ั หมู่บ้าน และได้จดั ต้ังเป็น “ศูนย์อนุรกั ษ์วัฒนธรรมลาวเวียงบ้านป่าตาล” ขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อปี พ.ศ.
2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ เผยแพร่ ส่งเสริม ฟ้ืนฟู อนุรักษ์ สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัตนธรรมอันดีของชาวลาวเวียงบ้านป่าตาลให้คงอยู่สืบไป รวมถึงส่งเสริมให้
ประชาชนเกดิ จติ สำนกึ รักถิ่นฐาน และเกดิ ความภาคภูมิใจในเอกลกั ษณ์ของตนเอง นอกจากนน้ั ย้ังเป็นการสร้าง
รายไดเ้ พอื่ พัฒนาเศรษฐกิจให้กับประชาชนโดยรวมตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามวิถขี องท้องถนิ่ และ
สง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วเชิงอนุรกั ษว์ ัฒนธรรม ประเพณี ของชาวลาวเวยี งบ้านป่าตาล

กิจกรรมของศูนย์อนุรักษ์วัฒนธรรมลาวเวียงบ้านป่าตาล ประกอบด้วย การออกกำลังกายด้วยท่ารำ
พ้ืนบ้าน เป็นศูนย์การเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ด้านภูมิปัญญาท้องถ่ิน เช่น หมอสมุนไพรและยาพื้นบ้าน หมอพ่น
การสู่ขวัญ ด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ของชาวลาวเวียงบ้านป่าตาล เช่น ประเพณีบุญผ้าป่าข้าวเม่าทอด
ประเพณีสาทรลาว ประเพณีใต้หางประทีป การทำบุญกลางบ้าน การเล้ียงศาลปู่ตา ศาลเจ้าพ่อต่าง ๆ อาหาร
พื้นบ้าน ได้แก่ อาหารคาว เช่น แจ่วหม้อ ลาบเทา ห่อหมกปลา ห่อหมกหน่อไม้ แกงเปรอะ ปลาร้า อาหาร
หวาน เช่น ขนมกวนอ่อน ขนมท้องบ้อง ขนมดาษกระทะ การละเล่นพื้นบ้าน เช่น เตะสะบ้า นางกวัก ตี่เตย
บักหม่ึ เสือกินววั กิจกรรมการส่งเสริมอาชีพ เช่น ผา้ ย้อมแปรงและการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์จากผ้าย้อมแปรง การ
จักสานไม้ไผ่ การจักสานจากเส้นใยพลาสติก การเลี้ยงปูนา การเลี้ยงหนูนา การปลูกพืชผักสวนครัวร้ัวกินได้
ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สวนละมุดหวานกรอบ 100 ปี บอ่ น้ำโบราณ ตลาดพนื้ บ้าน นอกจากจะ

เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถ่ิน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี พ้ืนบ้านของชาวลาวเวียงบ้านป่าตาลแล้ว
ยงั เป็นแหล่งทอ่ งเทีย่ วเชิงอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ อีกดว้ ย

ปจั จบุ ัน “ศูนย์อนุรกั ษ์วฒั นธรรมลาวเวียงบา้ นปา่ ตาล” ไดร้ บั การสง่ เสริมสนบั สนุนการดำเนนิ กิจกรรม
ตา่ ง ๆ จากหนว่ ยงานท้ังภาครฐั และภาคเอกชน ได้แก่ เทศบาลตำบลป่าตาล สำนักงานวัฒนธรรมจังหวดั ลพบุรี
สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลพบุรี การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สำนักงานลพบุรี ศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเมืองลพบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระเจ้าเกล้าธนบุรี สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี กรมรบ
พิเศษท่ี 1 ค่ายวชิราลงกรณ์ (พลร่มป่าหวาย) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนองค์การมหาชน (พอช.) กำนัน
ผู้ใหญบ่ ้าน ผนู้ ำชมุ ชน และประชาชนในพืน้ ท่ตี ำบลปา่ ตาล

ปจั จบุ นั “ศูนย์อนุรักษ์วฒั นธรรมลาวเวียงบา้ นปา่ ตาล” ต้งั อยู่ ณ บา้ นเลขท่ี 12/3 หมู่ที่ 7 ตำบล
ป่าตาล อำเภอเมอื งลพบุรี จังหวัดลพบุรี มีสมาชิกจำนวน 50 คน โดยมีนางอักษร เจรญิ เลิศ เป็นประธานศนู ย์
อนุรักษว์ ฒั นธรรมลาวเวียงบา้ นปา่ ตาล



วสิ าหกจิ ชมุ ชนสุรัตตกิ าล (ชพี ) ฟารม์

วิสาหกิจชุมชนสุรัตติกาล (ชีพ) ฟาร์ม เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตรอินทรีย์และอาหาร
ปลอดภัย ภายในฟาร์มมกี ารประกอบกิจกรรมทางดา้ นการเกษตรอินทรยี ์และการผลติ อาหารท่ีปลอดภัย ได้แก่
การปลูกพืชผักอินทรีย์ การทำไข่ไก่เค็มดินอินทรีย์และการแปรรูป การเลี้ยงใส้เดือนเพ่ือทำปุ๋ยจากมูลใส้เดือน
การปลูกหญ้าคาเพ่ือนำรากมาทำสปาเทา้ การทำน้ำต้นอ่อนข้าวสาลี การจำหน่ายผลิตภณั ฑ์ตา่ ง ๆ ด้านเกษตร
อินทร์ ของศูนย์การเรียนรู้ วิสาหกจิ ชมุ ชนสรุ ัตติกาล (ชีพ) ฟารม์

ปัจจุบัน วิสาหกิจชุมชนสรุ ัตติกาล (ชีพ) ฟาร์ม ตั้งอยู่ ณ บ้านเลขท่ี 75 หมู่ท่ี 5 ตำบลป่าตาล อำเภอ
เมอื งลพบุรี จังหวัดลพบรุ ี โดยมี นางสุรัตติกาล แสงแกว้ เป็นผู้ดำเนนิ งาน

ประเพณี

ประเพณสี ารทลาว

“ประเพณีสารทลาว หรือ “สารทเดือน 10” จัดขึ้นในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 (เดือน
กันยายน ของทุกปี) โดยบรรพบุรษุ เลา่ สืบต่อกันมายังลกู หลาน ว่า ชาวบา้ นในพ้ืนทต่ี ำบลปา่ ตาล หมูท่ ่ี 1 –
7 เดมิ ทีได้อพยพมาจากเวียงจันทร์ประเทศลาว โดยมีภาษาท้องถิ่น คือ “ภาษาลาวเวียง” ซึ่งลาวเวียงน้ีได้มี
ประเพณีสารทลาว ซึ่งเป็นความเช่ือทางพุทธศาสนาและการทำบุญอุทิศส่วนบุญกุศลไปให้กับบรรพบุรุษที่
ลว่ งลบั ไปแลว้ โดยในสมัยก่อนทุกบ้านจะทำขนมกระยาสารททท่ี ำขน้ึ เองเพื่อนำไปทำบญุ ในวันสารทลาว

การประกอบพิธี / ความเชอ่ื
ประเพณี “สารทเดือน 10” หรือ “สารทลาว” เป็นความเช่ือทางพุทธศาสนาในอดีตชาวบ้านมี
อาชีพทำนา เม่ือถึงเดือน 10 ข้าวออกรวงต้ังท้องก็จะนำมาตำเป็นข้าวเม่าและทำขนมกระยาสารท ซึ่งมี
ส่วนประกอบที่ได้มาจากผลผลิตของชาวลาวเวียง ท้ังสิ้น ได้แก่ ถัว งา ข้าวพองข้าวตอกแตกน้ำตาลอ้อย
หรอื น้ำตาลโตนด ประเพณี “สารทลาว”มคี วามเช่ือวา่ บรรพบรุ ุษปู่ ย่า ตา ยาย และญาติพ่ีนอ้ งทล่ี ่วงลับไป
แล้วจะถูกปล่อยตวั กลับมายังโลกมนษุ ย์ เพ่ือมาขอส่วนบุญจากลูกหลาน แล้วจะกลับไปยงั ภพภมู ิในวันแรม 15
ค่ำ เดือน 10 ซ่ึงถือเป็นคติและความเช่ือสืบกันมาว่า ญาติท่ีล่วงลับไปแล้ว จะมีโอกาสได้กลับมารับส่วนบุญ
จากญาติพ่ีน้องที่ยังมีชีวิตอยู่ ซ่ึงจะได้รับส่วนบุญได้เต็มท่ีและมีโอกาสหมดหนี้กรรม และได้ไปเกิดหรือมี
ความสุข โดยแต่ละบ้านจะทำกระทงใบตองหรือภาชนะอื่น ๆ สำหรับใส่อาหารคาวหวาน ผลไม้ และขนม
กระยาสารทใส่ถาดและเขียนชื่อผู้ที่ล่วงลับหลังจากท่ีพระสงฆ์ได้ทำพิธีสวดมนต์และเรียกช่ือผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว
บุตรหลานก็จะนำกระทงไปวางไว้ท่ีบรรจุกระดูก หรือเจดีย์ใส่อัฐิของผู้ที่ล่วงลับไปแล้วและเรียกช่ือบุคคล
เหล่าน้ันใหม้ ารับส่วนบญุ กศุ ล กนิ อาหารท่ีบุตรหลานได้นำมาทำบญุ ใหใ้ นวนั สารทลาว

ประเพณีบุญผา้ ป่าข้าวเม่าทอด

“ประเพณีบญุ ผา้ ป่าข้าวเม่าทอด” จดั ขน้ึ ในวนั ข้ึน 15 ค่ำ เดอื น 12 โดยบรรพบุรุษของ
ชาวบา้ นหมู่ที่ 3 บ้านกกมะเกลือและชาวบา้ นหมทู่ ี่ 7 บา้ นป่าหวายทุ่ง ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมืองลพบุรี
จังหวัดลพบรุ ี ไดป้ ฏบิ ัตเิ ปน็ ประเพณบี ญุ ผ้าป่าข้าวเมา่ ทอดมาต้ังแตใ่ นอดตี และสืบทอดสู่ลูกหลานมาจนถึง
ปัจจุบัน โดยการทอดผ้าป่าข้าวเม่าทอดน้ชี าวบา้ นจะร่วมกันทำข้าวเมา่ ในวนั ข้ึน 14 คำ่ เดอื น 12 และทำ
การทอดผ้าปา่ ข้าวเม่าทอดในวนั วนั ขึน้ 15 คำ่ เดือน 12 ซ่ึงตรงกบั วนั ลอยกระทง ประเพณบี ุญผ้าป่า
ขา้ วเมา่ ทอดนจ้ี ะจัดขน้ึ ท่ีวัดป่าหวายทงุ่ หมูท่ ่ี 3 ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบรุ ี จังหวัดลพบุรีเทา่ นนั้

การประกอบพธิ ี / ความเชื่อ

ประเพณี “บุญผา้ ปา่ ข้าวเมา่ ทอด” เปน็ ความเชอื่ ทางพทุ ธศาสนาโดยในอดตี ชาวบ้านมีอาชีพทำนาปี
เมื่อถึงฤดูข้าวออกรวงตงั้ ทอ้ งและมลี ักษณะของเมล็ดข้าวท่ีเป็นดำเนิน (ยงั ไม่แก่จัด) ชาวบา้ นแตล่ ะบา้ นก็จะลง
มอื เก็บเกยี่ วขา้ วดังกลา่ วมารวมกันทีว่ ดั เพ่อื ทำเป็นขา้ วเม่าและรว่ มกนั ตัง้ เปน็ กองผา้ ปา่ โดยทำพธิ ีทอดผา้ ปา่
ขา้ วเมา่ ทอดถวายพระทวี่ ดั ปา่ หวายทุ่ง โดยมีความเชือ่ วา่ การท่ีได้นำผลผลติ ทางการเกษตร คือ ขา้ วที่ได้จาก
การทำนาเป็นข้าวทีอ่ อกใหมแ่ ล้วนำมาทำเป็นข้าวเมา่ ทอดถวายพระเพอ่ื ความเปน็ สริ ิมงคลในการประกอบ
อาชีพทางการเกษตรและความเป็นสริ มิ งคลแก่ครอบครัว

วัตถดุ ิบ วัตถดุ ิบท่ใี ช้ในการทำขา้ วเม่า มสี ่วนประกอบตา่ ง ๆ
ไดแ้ ก่ ข้าวเมา่ กลว้ ยไข่ มะพรา้ วขูด น้ำตาลปบี ไขไ่ ก่ แปง้ มนั น้ำกะทิ
และแปง้ ข้าวเจ้า

ข้ันตอนการทำขา้ วเมา่ ทอด มีดงั น้ี เรม่ิ จากนำข้าวเปลือกที่มี
ลกั ษณะเป็นดำเนินมาแชน่ ้ำ แล้วนำมาตำเลอื กเปลอื กขา้ วออกเป็นขา้ วเม่า
นำมะพร้าวขูดมากวนเข้ากับน้ำตาลปีบ และข้าวเม่าจนมีลกั ษณะนุ่มและเหนียวโดยใช้ไฟอ่อน ๆ นำกล้วยไข่
ลูกขนาดพอเหมาะปลอกเปลือกออกแล้วห่อด้วยข้าวเม่าท่ีกวนไว้ นำแป้งข้าวเจ้าละลายน้ำแล้วนำกล้วยที่ห่อ
ดว้ ยข้าวเม่าลงชุบแล้วทอดจนเหลอื งกรอบแล้วนำข้ึนพักไว้ นำน้ำหัวกะทผิ สมกบั แปง้ มนั นำ้ ตาลทราย เกลือ
ไข่ไก่ ตีผสมรวมกันแล้วนำมาโรยทอดฝอยในกระทะให้เหลืองกรอบแล้วตักมาโรยบนข้าวเม่าท่ีทอดไว้ แล้ว
จดั ต้งั เป็นกองผา้ ป่าขา้ วเม่าทอดถวายพระในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันลอยกระทง) ณ วัดปา่ หวายทุ่ง
ตามความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนา ในปัจจุบันประเพณีบุญผ้าปา่ ข้าวเม่าทอดยังคงปฏิบัตสิ ืบทอดกันมาจากรุ่น
สู่รุน่ เพื่ออนรุ กั ษป์ ระเพณีอนั ทรงคณุ คา่ ให้อยู่คู่กับชมุ ชนและกลุ่มชาติพนั ธล์ าวเวียงให้สืบไป

ประเพณเี ล้ียงศาลเจ้าพ่อสอน เจา้ พอ่ สาย

ประวตั คิ วามเป็นมา
“ประเพณเี ลี้ยงศาลเจ้าพ่อสอน เจ้าพ่อสาย”

จดั ข้ึนในวันอังคารของเดือนย่ี กับเดือน 6 (เดอื นมกราคม
และเดือนพฤษภาคม ของทกุ ปี) จะจัดขั้นปีละ 2 ครัง้ โดย
บรรพบุรษุ เล่าสืบต่อกนั มายังลกู หลาน วา่ ชาวบา้ นในพ้นื ที่
ตำบลป่าตาล หมทู่ ่ี 1 – 2 บา้ นหว้ ยเปย่ี ม มีความเช่ือในการ
ดำเนินชีวิตในเรื่องของการนับถอื เจา้ พอ่ สอน เจา้ พ่อสายซึ่งคอย
ปกปกั รกั ษาคนในครอบครวั และคนในหม่บู า้ นใหแ้ คล้วคลาด
จากอันตรายต่าง ๆ และบนบานขอพรและส่งิ ท่ตี ้องการแลว้ สม
ปรารถนาจงึ ได้สร้างศาลเจา้ พ่อสอนเจ้าพ่อสายไว้เพื่อประกอบ
พธิ ีเครารพบูชา โดยต้ังอยู่ท่ีหมู่ 1 บ้านหว้ ยเปี่ยม ตำบลป่าตาล
อำเภอเมือง จังหวัดลพบรุ ี บรเิ วณใกลก้ บั หนองอโี ลง่ ในหมู่บา้ นหว้ ยเปี่ยม

การประกอบพิธี / ความเช่ือ
“ประเพณีเล้ียงศาลเจ้าพ่อสอน เจ้าพ่อสาย” เป็นความเชื่อของชาวบ้านในเรอื่ งการดำเนิน

ชีวิตประจำวัน การนับถือเจ้าพ่อสอน เจ้าพ่อสาย ในการดูแลปกปักรักษาคนในหมู่บ้านให้พ้นจากอันตราย
ทุกขภ์ ัยตา่ งๆ และจากส่ิงอวมงคล โดยในวันอังคารของเดือนย่ี กับเดือน 6 ชาวบ้านหมู่ท่ี 1 – 2 บ้านห้วย
เป่ียม แต่ละครัวเรือนจะทำขนมบัวลอยหรือขนมปรากิม เหล้าขาว ดอกไม้ ไปเลี้ยงศาลเจ้าพ่อสอน เจ้าพ่อ
สาย โดยนำไปวางไว้รอบ ๆ ศาล แล้วเจ้าพ่อจะมีร่างทรงถือดาบ ปืน ซึ่งทำด้วยก้านมะพร้าวถือเป็นอาวุธ
ประจำกายของเจ้าพ่อเดินรอบศาลจำนวน 3 รอบ ระหว่างเดินก็จะมีการร้องรำแตรวงเพื่อความสนกุ สนาน
และถ้าบ้านใครมีเคราะห์เจ้าพ่อจะใช้ดาบช้ีไปที่ถาดใส่ของไหว้และให้เจ้าของบ้านนำออกมาทำพิธีรดน้ำมนต์
นอกจากน้ันหากใครบนบานก็จะได้ในสิ่งที่ปรารถนาและจะนำสิ่งของมาแก้บนตามที่ไดข้ อไว้ โดยสงิ่ ที่ชาวบ้าน
นิยมนำมาแก้บน ไดแ้ ก่ ไก่ต้ม หัวหมู เหล้าขาวและแตรวง หรือ กลองยาว ตามความเช่ือและศรัทธาของ
ชาวบ้าน

ประเพณีเล้ียงศาลเจ้าพ่อขุนศรี-เจ้าแมบ่ ุญมี

ประวตั ิความเปน็ มา
ศาลเจ้าพ่อขนุ ศรี - เจ้าแม่บุญมี ตงั้ อยู่

บริเวณหมู่ ๗ ตำบลปา่ ตาล ฝั่งคลองชลประทาน
สรา้ งมาตั้งแตร่ นุ่ ป่ยู า่ ตา - ยาย กว่า ๑๐๐ ปีมาแลว้
มเี รอื่ งเลา่ ถงึ ความศกั ด์ิสทิ ธ์ิว่า ในสมยั ก่อนมีการขุด
คลองชลประทานได้ว่าจา้ งรถแบคโฮเพือ่ ขุดดนิ เมื่อ
รถแบคโฮขับไปใกลศ้ าลแต่ไม่เห็นวา่ มีศาลอยู่ จงึ ทำ
ใหเ้ ครอื่ งยนตร์ ะเบิดท้งั สองคัน

การประกอบพธิ ี / ความเช่ือ
การไหวศ้ าลเจา้ พอ่ ขนุ ศรี – เจ้าแมบ่ ญุ มี

จะไหว้กันเดือน 3 กับเดือน 6 โดยชาวบ้านป่าหวายทุ่ง หมู่ที่ 7 จะมารวมตัวกันนำอาหารต่าง ๆ ได้แก่
ไก่จำนวน 4 ตัว ท่ีเลี้ยงไว้นำมาถวายเมื่อถวายเสร็จแล้วก็จะนำไปต้มให้สุกและนำมาถวายเจ้าพ่อขุนศรี –
เจ้าแม่บุญมีอีกครั้งหนึ่ง นอกจากน้ันยังมีมะพร้าวอ่อน ข้าวผสมน้ำตาลปีบ ขนมต้ม หมากพูล บุหร่ี (ยาว
มวน) และส่ิงที่ทุกบ้านจะต้องนำมาไหว้ศาล คือ ขนมบัวลอยและเหล้าขาว และกรวยดอกไม้สีขาวโดยใน
สมัยก่อนจะใช้ดอกฝ้ายเน่ืองจากชาวบ้านจะปลูกฝ้ายไว้สำหรับทอผ้าทำให้มีดอกฝ้ายจำนวนมาก และเป็นสี
ขาวซ่ึงเป็นสีมงคลในการไหว้ศาล แต่ปัจจุบันใช้เป็นสำลีแทนเนื่องจากไม่มีดอกฝ้ายเหมือนในอดีตที่ผ่านมา
โดยจะมผี ู้นำในการประกอบพธิ ี ถ้าเปน็ ชายเรียก “พอ่ กวน” หากเป็นผู้หญิงเรียก “แมก่ วน”

ประเพณีเลี้ยงศาลเจา้ พอ่ ขนุ ไกร

ประวตั คิ วามเป็นมา
ศาลเจา้ พ่อขนุ ไกร ตั้งอยู่หมู่ 3 บา้ นกกมะเกลือ

บริเวณบา้ นนายสมจิต ทาบุตร
เรอื่ งเล่าจากความเชื่อของชาวบ้านถึงความ

ศักดิส์ ิทธิข์ องเจา้ พอ่ ขุนไกร วา่ มีชาวบา้ นปนี ข้ึนไปตัดไม้ไผ่
บริเวณใกล้ ๆ กับศาลเจ้าพ่อขุนไกร ซง่ึ อยู่สงู กวา่ ศาลของท่าน
โดยไมไ่ ด้บอกกล่าว หรือ ขออนุญาต จึงตกลงมา

การประกอบพิธี / ความเช่ือ
การไหวเ้ จา้ พ่อขุนไกร จะไหว้ในเดอื น ย่ี หรือ เดือน 2 สำหรบั อาหารทีช่ าวบา้ นนำมา

ไหว้ศาลเจ้าพ่อขุนไกร คือ ไก่ต้ม หวั หมู ซึ่งในอดีตจะเป็นไก่ทีช่ าวบ้านเล้ยี งไว้นำมาถวายและส่งิ ทีท่ ุกบ้าน
จะตอ้ งนำมาไหวศ้ าล คอื ขนมบวั ลอยและเหลา้ ขาว โดยมคี วามเชื่อวา่ ขนมบัวลอยจะทำใหช้ วี ติ มแี ตเ่ ฟอื่ งฟู
เจริญรงุ่ เรอื งมีแต่ลอยขึ้นไม่ลม่ จม

ประเพณเี ลยี้ งศาลป่ตู า

ประวัติความเป็นมา

ศาลปตู่ า ต้ังอยูบ่ ริเวณหลังโรงพยาบาล
สง่ เสริมสุขภาพตำบลป่าตาล หมู่ที่ ๖ ตำบลป่าตาล
สร้างปรับปรงุ เม่ือวนั ที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๙ โดยชาว
บา้ นป่าหวายเกา่ มีความเชื่อว่า การไหวศ้ าลปตู่ าจะ
ปกปกั รักษาหมูบ่ า้ นใหอ้ ย่เู ยน็ เปน็ สุข ปดั เป่าอนั ตราย
เช่น เวลาน้ำท่วมกจ็ ะชว่ ยให้ท่วมไมม่ ากนักมนี ้ำกินน้ำ
ใช้อดุ มสมบรู ณ์เวลาฝนตกฟ้าแรงมาก ๆ ปู่ตากจ็ ะช่วย
ปัดเปา่ ใหพ้ ายุเบาลง

การประกอบพธิ ี / ความเชื่อ

การไหวศ้ าลปตู่ าจะไหวก้ ันเดือน 3 กับเดือน 6 โดยชาวบา้ นจะมารวมตัวกันนำ
อาหารไดแ้ ก่ ตม้ ไก่ ขนมตม้ ขาวแดง มะพร้าวอ่อน หมากพลู บุหรี่ (ยามวน) ขา้ วสวยกบั
น้ำตาลปบี ส่วนใครทจี่ ะแก้บนกจ็ ะนำเอาของแกบ้ นมาร่วมในการไหว้ด้วย โดยจะมผี ู้นำในการ
ประกอบพธิ ี ถา้ เปน็ ชายเรียก “พอ่ กวน” หากเป็นผูห้ ญิงเรียก “แมก่ วน” และส่ิงทีท่ กุ บา้ น
จะต้องนำมาไหว้ศาล คอื ขนมบัวลอยและเหลา้ ขาว สำหรบั การไหว้ศาลปู่ตาในช่วงเดอื น 6
จะทำพธิ ีก่อนฤดูกาลทำนาเพ่ือความเปน็ ศริ มิ งคลในการทำนาให้ได้ผลผลิตดี

ประเพณีทำบุญกลางบ้าน

ประวัติความเปน็ มา
“ประเพณีทำบุญกลางบ้าน” หรอื “บุญเดือน 6” จัดข้ึนในช่วงกลางเดือน 6 (ประมาณ

เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน ของทุกปี) ชาวบ้านทั้ง 8 หมู่บ้าน จะร่วมกันทำบุญตามกลุ่มบ้านของตนเอง
โดยบรรพบุรุษเล่าสืบต่อกันมายังลูกหลาน ว่า ประเพณีการทำบุญกลางบ้าน เป็นความเช่ือของคนโบราณ
เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตและการขับไล่สิ่งไม่ดี สิ่งอวมงคลออกจากบ้านเรือนและหมู่บ้าน โดยแต่ละกลุ่มบ้าน
จะคัดเลือกสถานท่วี ่าจุดไหนเป็นจุดกึ่งกลางของกลุ่มบ้านและจะใช้เป็นสถานทปี่ ระกอบพิธกี รรมตามความเชือ่
การประกอบพิธี / ความเช่อื

การประกอบพิธีกรรมตามความเช่อื ชาวบ้านแต่ละครัวเรือนจะนำถัง หรือ ตะกรา้ ใส่ทราย
หญ้าคา (หรือ หญ้ากุศะ ซ่ึงเป็นหญ้าที่มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา โดยพราหมณ์ ชื่อ โสตถิยะ
ถือ หญ้าคามา 8 กำ และได้ถวายกำหญ้าทั้ง 8 น้ันต่อพระพุทธองค์ พระองค์ทรงรับไว้แล้วนำไปปูเป็น
อาสนะสำหรับประทับนั่งที่โคนต้นไม้ใหญ่ ท่ีทรงผจญกับกิเลสเป็นครั้งสุดท้าย หญ้าคา หญ้าที่เป็นประดุจ
บัลลังก์อันพระพุทธองค์ประทับน่ังตรัสรู้สำหรับหญ้าคาทั้ง 8 กำ มีคำอธิบายว่า เปรียบกับ มรรค 8 อัน
เป็นหนทางปฏิบัติเพื่อให้พ้นทุกข์นั่นเอง) ดอกไม้ ธูป เทียน ขวดใส่น้ำ สายสินญ์ นำไปต้ังรวมกันแล้วมีพิธี
สวมมนต์ในช่วงเย็นเป็นเวลา 3 วันติดต่อกัน ระหว่างพระสวดมนต์ชาวบ้านก็จะตีฆ้องเป็นระยะๆ วันท่ี 4
จะเป็นพิธีทำบุญเลย้ี งพระในตอนเช้า ซึ่งแต่ละบ้านจะนำอาหารคาวหวานมาถวายพระ และจะนำกระจาดใส่
อาหารคาว หวาน ขนมจีน ข้าวขาว ข้าวแดง และป้ันดินเหนียวเป็นรูปคน และสัตว์ต่าง ๆ ที่เล้ียงไว้ใน
บา้ น โดยส่วนใหญ่จะเป็นสัตว์ท่ีใช้ในการประกอบอาชีพ เช่น วัว ควาย ใส่รวมกนั ในกระจาด เมื่อพระสวด
มนต์แล้วก็จะนำกระจาด หรือตะกร้าใส่ของดังกล่าวมารวมกันแล้วนำไปท้ิงท้ายหมู่บ้าน โดยมีคนจุดคบไฟไล่
ตาม ถือเป็นความเช่ือในการคับไล่ภูตผีออกจากบ้านเรือนและหมู่บ้านของตนเอง จากน้ันจะนำทรายไปโรย
รอบ ๆ บา้ น นำหญ้าคา ดอกไม้ไปปักไว้ที่ชายคาบ้าน และนำสายสินญ์ไปผูกรอบชายคาบ้านเพื่อป้องกันส่ิง
ไมด่ ีท่จี ะเขา้ มารบกวนคนในบ้าน และไดถ้ ือปฏบิ ัตเิ ปน็ “ประเพณีทำบญุ กลางบา้ น” มาจนถงึ ทกุ วนั นี้

ประเพณใี ต้หางประทีป

“ ม้าประทีป ” หรือ “ใต้หางประทีป” จัดข้ึนในช่วงประเพณีวันออกพรรษา ขึ้น 14 - 15 ค่ำ
เดือน 11 และแรม 1 ค่ำ เดือน 11 (เดือนตุลาคมของทุกปี) ซึ่งจัดติดต่อกันเป็นระยะเวลา 3 วัน
โดยบรรพบุรุษเล่าสืบต่อกันมาสู่ลูกหลาน ว่า ประเพณีม้าประทีป เป็นความเชื่อของคนโบราณเก่ียวกับ
พระพุทธศาสนา ม้าประทีปเป็นสัตว์พาหนะของพระพุทธเจ้า เม่ือถึงวันออกพรรษาม้าประทีปจะลงมาจาก
สวรรค์ เพ่ือให้ชาวบ้านได้กราบไหว้บูชาและขอพรให้กับตนเองและครอบครัว บ้างก็เชื่อกันว่าม้าประทีปจะ
นำพาพรต่าง ๆ ที่ขอและดอกไม้ ธปู เทยี นไปกราบบูชาพระพุทธเจ้าบนสวรรค์

การประกอบพธิ ี / ความเช่ือ
ในช่วงวนั ออกพรรษา วัดแต่ละวัดในพน้ื ที่ตำบลปา่ ตาล จะทำม้าประทีปโดยใช้ตน้ กล้วยทำเป็นตัวม้า
หางทำด้วยก้านมะพร้าวหรือก้านกล้วย ต้ังไว้บริเวณวัดเมื่อเวลาพลบค่ำของวันข้ึน 14 - 15 ค่ำ เดือน
11 และแรม 1 คำ่ เดือน 11 ชาวบ้านก็จะนำดอกไม้ ธูป เทียน ไปกราบไหวข้ อพรตามความเชื่อที่เล่า
สบื ต่อกันมาและได้ถือปฏิบตั ิเป็นประเพณี “ม้าประทีป” โดยท่ีวัดหว้ ยเปี่ยมยังคงอนุรกั ษ์ประเพณี “การไหว้
ม้าประทีป” มาถงึ ทุกวนั น้ี

ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน

ภมู ิปญั ญาท้องถ่ินด้านหัตถกรรม

นางขนั ทอง วงษ์คำภา เกดิ วนั ท่ี 15 มถิ ุนายน 2484
เป็นบุตรของ นายแมน้ ท่านที และนางนาค ทา่ นที
ท่อี ยู่ 19 หมูท่ ่ี 3 ต.ปา่ ตาล อ.เมือง จ.ลพบรุ ี
จบการศึกษา ป. 4 จากโรงเรยี นวดั นาค จ.พระนครศรีอยุธยา

นางขันทอง วงษ์คำภา เปน็ ผ้สู งู อายุในหมบู่ า้ น ซง่ึ หลงั จาก
ประกอบอาชีพขายไข่มาแลว้ 15 ปี กอ็ ยู่บา้ นเฉยๆ เกดิ ความคิด
อยากหางานอดเิ รกทำ จึงคดิ สานพัด และทำเปน็ อาชพี มาอยา่ งต่อเนื่อง ซง่ึ การสานพดั เปน็ อาชีพที่ถา่ ยทอดมา
จากบรรพบรุ ุษ ประกอบอาชพี สานพดั มาตั้งแต่รนุ่ ป่ยู า่ ตายาย ทำใชเ้ องในครัวเรือนและทำเพอ่ื แจกจ่ายเพือ่ น
บ้าน ซงึ่ ในปัจจุบัน การสานพัดมีการย้อมสี มหี ลายลาย หลายรูปทรง มดี ้ามถือเพอ่ื อำนวยความสะดวกแก่
ผูใ้ ช้งาน ปัจจุบนั นางขนั ทอง รบั สานพดั เพ่ือสง่ จำหนา่ ยทจ่ี ังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ด้านหตั ถกรรม

นายแสวง วงษ์คำภา เกิดวันท่ี 24 พฤศจกิ ายน 2475 2484
เปน็ บตุ รของ นายยา วงษค์ ำภาและนางศรี วงษค์ ำภา
ที่อยู่ 19 หมูท่ ี่ 3 ต.ป่าตาล อ.เมือง จ.ลพบุรี
จบการศกึ ษา ป. 4 จาก โรงเรียนวัดป่าหวายทุ่ง

นายแสวง วงษ์คำภา เปน็ ผสู้ ูงอายทุ เี่ กิดในตำบลป่าตาล ซึ่งหลัง
จากประกอบอาชพี ทำนา พร้อมทั้งเรียนรู้การจักรสานเครอื่ งมอื
เครื่องใชต้ า่ งๆ มาตงั้ แตเ่ ด็ก ในสมยั น้ัน มีการจักรสานอปุ กรณ์
เพ่อื ใช้สอยในชวี ิตประจำวนั เชน่ กระด้ง ตะกร้า กระบงุ ไม้กวาด ไซดักปลา เป็นต้น โดยปจั จุบันมกี าร
ประยกุ ต์การจักรสานใหเ้ หมาะกบั การใชง้ านเพม่ิ ข้ึนและสามารถจักรสานผลติ ภณั ฑเ์ พื่อนำสง่ ออกจำหน่ายใน
สถานทตี่ ่างๆและเพิม่ รายได้ในครวั เรอื นได้อีกดว้ ย

ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินด้านสมนุ ไพรและยาพื้นบ้าน

ประวตั ิ
ชอ่ื นายยอด เมืองสุวรรณ์
วนั /เดือน/ปี เกดิ 14 เมษายน พ.ศ. 2511
เปน็ บุตรของ นายอรณุ และ นางทองสขุ เมืองสวุ รรณ์
ท่อี ยู่ 11 หมทู่ ่ี 7 ต.ป่าตาล อ.เมือง จ.ลพบรุ ี
จบการศกึ ษา ม. 6 จาก การศกึ ษานอกโรงเรยี นจังหวดั ลพบุรี

ในสมัยโบราณยาแผนปัจจุบันนั้นหายาก และการไปรักษาตามโรงพยาบาลเป็นไปอย่างยากลำบาก
เนื่องจากมีข้อจำกัดในเรื่องการเดินทาง การคมนาคม ยาสมุนไพรจึงมีความสำคัญมากเม่ือเวลามีผู้เกดิ อาการ
เจบ็ ป่วยตา่ ง ๆ ข้ึนในหมบู่ ้าน และในปจั จบุ นั การใช้ยาปฏชิ วี นะบางอย่างกอ่ ให้เกดิ ผลข้างเคยี งกบั ร่างกาย
สรรพคุณ/การรักษา

นายยอด เมืองสุวรรณ์ เป็นผู้หนึ่งที่มีความรู้เรือ่ งการใช้ยาสมุนไพรพ้ืนบ้าน โดย ได้รับใบ
ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย สาขา เภสัชกรรมไทย และจบหลักสูตรการนวดแผนไทยจากกระทรวง
สาธารณสุข โดยนำพืชสมุนไพรพื้นบ้านมาเป็นยารักษาโรคต่าง ๆ และใช้ในการนวดประคบเพื่อรักษาอาการ
ปวดเมื่อย ซ่ึงได้ปลูกและนำสมุนไพรต่าง ๆ เช่น รางจึด บรเพชร แห้วหมู ไพร ขมิ้น ดีปรี ทองพันชั่ง
วา่ นเฒ่าหนังแห้ง ฟ้าทะลายโจร มาใชใ้ นการรกั ษาแพทย์แผนไทย และได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่เด็ก เยาวชน
และประชาชนที่สนใจ นอกจากน้ันนายยอด เมืองสุวรรณ์ ยังได้ประกอบอาชีพเลี้ยงปูนาเพื่อสร้างรายได้ตาม
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ภูมิปญั ญาท้องถ่ินด้านอาหาร

นางประดิษฐ์ ภูป่ รางค์
เกดิ วันท่ี 4 มกราคม 2492
เป็นบตุ รของ นายหวด และนางพัน ทาบุตร
ท่ีอยู่ 19 หมทู่ ่ี 3 ต.ปา่ ตาล อ.เมือง จ.ลพบุรี
จบการศกึ ษา ป. 4 จาก โรงเรียนวัดป่าหวายท่งุ

นางประดิษฐ์ ภปู่ รางค์ เปน็ ผ้สู งู อายุท่เี กิดในตำบล
ปา่ ตาล ซง่ึ หลงั จากประกอบอาชพี ทำนา กไ็ ด้เรยี นรู้การ
ประกอบอาหารคาวหวานตา่ งๆ จากบรรพบรุ ษุ มาตง้ั แต่เด็ก
ในสมัยนน้ั ไดม้ ีการทำขนมหวานแบบพ้ืนบ้านเพื่อรับประทานและนิยมนำไปทำบุญใจงานบญุ ต่าง ๆ เชน่
ขนมบวั ลอยสมนุ ไพร ถั่วแปบ ตะโก้ ข้าวเหนียวเปยี ก ขนมตาล ขนมตม้ เป็นต้น และได้อนรุ กั ษ์ไว้จนถงึ
ปัจจบุ ันและได้ถ่ายทอดเป็นภูมิปญั ญา ด้านการทำขนมไทย สู่คนรนุ่ หลงั สืบไป

ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ดา้ นอาหาร

ประวัติ
ช่ือ นางพัด หอลดั ดา
วัน/เดอื น/ปี เกิด 10 กรกฎาคม 2484
เป็นบุตรของ นายสมุ่ อว้ นศรี และนางมะลิ อว้ นศรี
ทอ่ี ยู่ 33/2 หมทู่ ่ี 1 ต.ปา่ ตาล อ.เมือง จ.ลพบุรี
จบการศึกษา ป. 4 จาก โรงเรียนวดั ห้วยเปีย่ ม ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมือง จังหวดั ลพบรุ ี

นางพัด หอลัดดา เป็นผู้สูงอายุในพ้ืนที่ตำบลป่าตาล ได้เรียนรู้การประกอบอาหารคาว
หวานต่าง ๆ จากบรรพบุรุษมาต้ังแต่เด็ก ในสมัยนั้นได้มีการทำอาหารคาวแบบพื้นบ้านเพ่ือรับประทานและ
นิยมนำไปทำบุญในงานบญุ ตา่ ง ๆ คือ ห่อหมกหนอ่ ไม้ ซึ่งเปน็ พืชผกั ที่ขึ้นอยทู่ ั่วไปในพื้นท่ี หากินง่ายในสมัย
นั้น ในอดตี หอ่ หมกหน่อไม้จะไม่ใชใ้ บตองจะปรงุ ส่วน
ผสมต่าง ๆ ลงในหม้อ เรยี กว่า “หมกหมอ้ หนอ่ ไม้”
สว่ นผสมกไ็ มม่ กี ะทแิ ละหมู ตอ่ มาได้มีการดดั แปลง
สูตรและรูปแบบให้เข้ากบั ยุคสมยั มาข้นึ โดยการนำ
ใบตองมาห่อเพ่อื ความสวยงาม และมีกลน่ิ หอมของใบตอง
และสะดวกในการรบั ประทานหรอื นำไปทำบุญหรือเป็นของฝาก
โดยมีสว่ นผสมคอื หน่อไม้รวกดิบเผาไฟแล้วนำมาขูดเปน็ เส้นแล้วนำไปต้น กะทิ ขา้ วเบอื ปลาร้า พริกแกง
เผ็ด น้ำใบย่านาง เนื้อหมูสามช้ัน ใบยอ ใบแมงลัก และเรียกว่า “ห่อหมกหน่อไม้” และยังเป็นอาหาร
พน้ื บา้ นทีน่ ยิ มรบั ประทานกันมาจนกระทัง่ ถึงปัจจบุ ันน้ี

ภูมิปัญญาท้องถ่นิ ดา้ นพธิ กี รรม การบายศรีสู่ขวัญ
ประวัติ
ชอื่ นายจำลอง สนามทอง
วัน/เดือน/ปี เกิด 18 ธันวาคม 2481
เป็นบตุ รของ นายเปีย และนางนอง สนามทอง
ที่อยู่ 26/2 หมทู่ ่ี 7 ต.ปา่ ตาล อ.เมอื ง จ.ลพบรุ ี
จบการศึกษา ป. 4 จาก โรงเรียนวดั ป่าหวายทงุ่ ตำบลปา่ ตาล อำเภอเมือง จงั หวัดลพบุรี

นายจำลอง สนามทอง เป็นผู้สูงอายุในพ้ืนท่ีตำบลป่าตาล ได้เรียนรู้การบายศรีสู่ขวัญจาก
บรรพบุรษุ โดยมีความเชอื่ วา่ เป็นการเรียกขวัญและกำลังใจให้กบั ชาวบ้านใหห้ ายจากอาการเจ็บปว่ ย หรือการ
เดินทางมาจากทอ่ี ื่นกม็ ีการเรียกขวัญให้มาอยู่กับตัว และเพื่อความเป็นสิริมงคลให้กับผู้ที่ได้รับการสู่ขวัญ โดย
มพี ิธีกรรมประกอบด้วยการจัดทำบายศรีที่ทำจากใบตอง ไข่ไก่ต้ม ถั่ว งา ข้าวต้มมัด ด้ายสายสิญจน์สำหรับ
ใหผ้ ้เู ฒ่าผ้แู ก่ผกู ขอ้ มือเพอื่ ทำพธิ เี รยี กขวัญใหก้ บั ชาวบ้าน ลูกหลาน หรอื ผู้ทเี่ ดนิ ทางมาเย่ยี มเยอื น

.....................................................................................................................


Click to View FlipBook Version