แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 16101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา............ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เศษส่วน เรื่อง เตรียมความพร้อม เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............. เดือน........................................ พ.ศ. ................... ครูผู้สอน........................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ จ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และการน าไปใช้ 2. ตัวชี้วัดชั้นปี เปรียบเทียบเรียงล าดับเศษส่วนและ จ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (ค 1.1 ป.6/1) หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจ านวนคละ (ค 1.1 ป.6/7) แสดงวิธีหาค าตอบของโจทย์ปญหา เศษส่วนและจ านวนคละ 2 – 3 ขั้นตอน (ค 1.1 ป.6/8) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบ เรียงล าดับเศษส่วนและจ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (K) 2. มีความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ (P) 3. มีความสามารถในเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ (P) 4. มีความสามารถในการให้เหตุผล (P) 5. มีความมุมานะในการท าความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A) 6. มีความมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. มีความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
5. สาระส าคัญ - การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท า ตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจ ท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ - การเปรียบเทียบจ านวนคละ ให้เปรียบเทียบจ านวนนับ ของจ านวนคละก่อน ถ้าจ านวนนับเท่ากัน จึงเปรียบเศษส่วน - การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจ านวนคละ อาจเขียน จ านวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียนเศษเกิน ในรูปจ านวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ 6. สาระการเรียนรู้ เตรียมความพร้อม 7. กิจกรรมการเรียนรู้ Step 1 : ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. ครูใช้สถานการณ์ “ท าน้ าให้ใส” หน้า 45 น าสนทนา เพื่อกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับการใช้ เศษส่วนในชีวิตจริง โดยให้ นักเรียนช่วยกันตอบค าถาม และอาจใช้ค าถามเพิ่มเติม เช่น - ทรายละเอียดมีปริมาณเป็นกี่เท่าของกรวดละเอียด - ถ้าบรรจุทรายละเอียดสูง 6 เซนติเมตร ขวดพลาสติกนี้จะมีความสูงอย่างน้อยกี่เซนติเมตร ซึ่งนักเรียนอาจจะยังหาค าตอบไม่ได้และครูยังไม่ต้องเฉลยค าตอบ แต่ควรให้นักเรียนกลับมาหาค าตอบอีกครั้ง หลังจาก มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ แล้ว 2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเศษส่วน จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายเช่นจากการ สังเกต การร่วมสนทนากับเพื่อนในชั้นเรียน จากหนังสือเรียนหรืออินเทอร์เน็ต Step 2 : ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing) 3. เตรียมความพร้อมเป็นการตรวจสอบความรู้พื้นฐานที่จ าเป็น ในการเรียนรู้เรื่องเศษส่วน 4. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานที่จ าเป็น โดยให้นักเรียนท ากิจกรรมหน้า 46 ส าหรับข้อ 2 และข้อ 3 วิธี หาค าตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน
Step 3 : ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 5. ครูให้นักเรียนท าแบบฝึกหัด 2.1 ในหนังสือเรียนแบบฝึกหัด จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อนเพื่อ ร่วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง 6. ครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีคิดต่าง ๆ Step 4 : ขั้นสื่อสารและน าเสนอ (Applying the Communication Skill) 7. นักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 8. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการท างานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการท างาน ที่มีแบบแผน Step 5 : ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 9. นักเรียนน าความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับเศษส่วน ไปช่วยแนะน าเพื่อน ๆ ที่ยังไม่เข้าใจให้เกิดความเข้าใจ ยิ่งขึ้น 10. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการท ากิจกรรม ในประเด็นต่อไปนี้ - สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร - นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด - นักเรียนจะน าความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไป ได้อย่างไร จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการท างานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม เกิดประโยชน์ ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง ส าหรับการท างานในครั้งต่อไป 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 1 2. หนังสือเรียนแบบฝึกหัด
9. การวัดและประเมินผล 9.1 การวัดผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ แบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 9.2 การประเมินผล ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 1. เกณฑ์การ ประเมินการ ท าแบบฝึกหัด ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 90 ขึ้นไป ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 80 - 89 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 60 - 79 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องต่ ากว่า ร้อยละ 60 2. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ สื่อสาร สื่อ ความหมาย ทาง คณิตศาสตร์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง แต่ขาดรายละเอียด ที่สมบูรณ์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง บางส่วน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอไม่ได้ 3. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ เชื่อมโยง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้บางส่วน ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง
ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) ได้อย่างสอดคล้อง เหมาะสม 4. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ ให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุนหรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้อย่างสมบูรณ์ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้บางส่วน รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง แต่ไม่ น าไปสู่การสรุปที่มี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้งไม่ได้ 5. เกณฑ์การ ประเมินความ มุ่งมั่นในการ ท างาน มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนใหญ่ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนน้อย มีความมุ่งมั่นในการ ท างานแต่ไม่มีความ รอบคอบ ส่งผลให้ งานไม่ประสบ ผลส าเร็จอย่างที่ ควร 10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 10.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................
2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในคณิตศาสตร์ (K) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3. นักเรียนเกิดทักษะทางคณิตศาสตร์ (P) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 10.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 10.3 ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง.............................................. 11. ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย 1. ความเหมาะสมของกิจกรรม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 2. ความเหมาะสมของเนื้อหา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................
3. ความเหมาะสมของเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 4. ความเหมาะสมของสื่อ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 5. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง..............................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 16101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา............ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เศษส่วน เรื่อง การเปรียบเทียบเศษส่วนและจ านวนคละ เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............. เดือน........................................ พ.ศ. ................... ครูผู้สอน........................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ จ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และการน าไปใช้ 2. ตัวชี้วัดชั้นปี เปรียบเทียบเรียงล าดับเศษส่วนและ จ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (ค 1.1 ป.6/1) หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจ านวนคละ (ค 1.1 ป.6/7) แสดงวิธีหาค าตอบของโจทย์ปญหา เศษส่วนและจ านวนคละ 2 – 3 ขั้นตอน (ค 1.1 ป.6/8) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบ เรียงล าดับเศษส่วนและจ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (K) 2. มีความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ (P) 3. มีความสามารถในเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ (P) 4. มีความสามารถในการให้เหตุผล (P) 5. มีความมุมานะในการท าความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A) 6. มีความมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. มีความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
5. สาระส าคัญ - การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท า ตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจ ท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ - การเปรียบเทียบจ านวนคละ ให้เปรียบเทียบจ านวนนับ ของจ านวนคละก่อน ถ้าจ านวนนับเท่ากัน จึงเปรียบเศษส่วน - การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจ านวนคละ อาจเขียน จ านวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียนเศษเกิน ในรูปจ านวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ 6. สาระการเรียนรู้ การเปรียบเทียบเศษส่วนและจ านวนคละ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ Step 1 : ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. ครูทบทวนการเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน แต่ตัวส่วนไม่เท่ากัน และการเปรียบเทียบ เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน 2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน แต่ตัวส่วนไม่ เท่ากัน จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายเช่น จากการสังเกต การร่วมสนทนากับเพื่อนในชั้นเรียน จากหนังสือ เรียนหรืออินเทอร์เน็ต Step 2 : ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing) 3. ครูสนทนาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษและตัวส่วนไม่เท่ากัน โดยใช้สถานการณ์ หน้า 47 และใช้การถาม-ตอบจนนักเรียนบอกได้ว่า การเปรียบเทียบ เศษส่วนที่มีตัวเศษและตัวส่วนไม่ เท่ากัน ต้องท าเศษส่วน ทั้งสองจ านวนให้มีตัวส่วนเท่ากัน แล้วจึงเปรียบเทียบตัวเศษ เศษส่วนใดที่มีตัวเศษ มากกว่า เศษส่วนนั้นจะมากกว่า 4. นักเรียนพิจารณาการท า 7 10 และ 3 4 ให้เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน โดยใช้ตารางการคูณหน้า 48
โดยให้นักเรียนหาพหุคูณของ 10 และ 4 จากนั้น ให้นักเรียนบอกพหุคูณของ 10 และ 4 ที่เท่ากันว่าเป็น จ านวนใดบ้าง ซึ่งได้แก่ 20, 40, 60, … 5. นักเรียนพิจารณาเพิ่มเติมว่าต้องท าตัวส่วนของ 7 10 และ 3 4 ให้เป็น 20, 40, 60, … แล้วแสดง การเปรียบเทียบเศษส่วน ดังนี้ 7 10 = 7×2 10×2 = 14 20 กับ 3 4 = 3×5 4×5 = 15 20 เนื่องจาก 14 20 < 15 20 แสดงว่า 14 20 < 15 20 หรือ 7 10 = 7×4 10×4 = 28 40 กับ 3 4 = 3×10 4×10 = 30 40 เนื่องจาก 28 40 < 30 40 แสดงว่า 28 40 < 30 40 หรือ 7 10 = 7×6 10×6 = 42 60 กับ 3 4 = 3×15 4×15 = 45 60 เนื่องจาก 42 60 < 45 60 แสดงว่า 42 60 < 45 60 แสดงว่า 7 10 < 3 4 6. นักเรียนสังเกตว่า 20 เป็นผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด หรือ ค.ร.น. ของ 10 และ 4 ดังนั้น การ เปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนทุกจ านวนให้เท่ากัน โดยอาจท าตัวส่วน ให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วนแล้วจึงเปรียบเทียบ 7. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาการเปรียบเทียบจ านวนคละ จากสถานการณ์หน้า 49 โดยใช้การ ถาม - ตอบประกอบการอธิบาย แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อน าไปสู่ข้อสรุปที่ว่า - การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ - การเปรียบเทียบจ านวนคละ ให้เปรียบเทียบจ านวนนับ ของจ านวนคละก่อน ถ้าจ านวน นับเท่ากัน จึงเปรียบเทียบเศษส่วน - การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจ านวนคละ อาจเขียน จ านวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียน เศษเกินในรูปจ านวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ 8. ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างหน้า 50 - 51 แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการท าตัวส่วนของ เศษส่วนทุกจ านวน ให้เท่ากัน โดยท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน 9. ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย แล้วให้นักเรียน เลือกวิธีที่เหมาะสมกับตนเอง จากนั้น ร่วมกันท ากิจกรรม หน้า 51
Step 3 : ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 10. ครูให้นักเรียนท าแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียนแบบฝึกหัด จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน เพื่อร่วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง 11. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษส่วน ดังนี้ - การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ - การเปรียบเทียบจ านวนคละ ให้เปรียบเทียบจ านวนนับ ของจ านวนคละก่อน ถ้าจ านวน นับเท่ากัน จึงเปรียบเทียบเศษส่วน - การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจ านวนคละ อาจเขียน จ านวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียน เศษเกินในรูปจ านวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ Step 4 : ขั้นสื่อสารและน าเสนอ (Applying the Communication Skill) 12. นักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 13. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการท างานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการท างาน ที่มีแบบแผน Step 5 : ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 14. นักเรียนน าความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษส่วนและจ านวนคละ ไปช่วยแนะน าเพื่อน ๆ ที่ยัง ไม่เข้าใจให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น 15. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการท ากิจกรรม ในประเด็นต่อไปนี้ - สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร - นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด - นักเรียนจะน าความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไป ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการท างานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม เกิดประโยชน์ ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง ส าหรับการท างานในครั้งต่อไป 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 1 2. หนังสือเรียนแบบฝึกหัด 9. การวัดและประเมินผล 9.1 การวัดผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ แบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 9.2 การประเมินผล ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 1. เกณฑ์การ ประเมินการ ท าแบบฝึกหัด ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 90 ขึ้นไป ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 80 - 89 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 60 - 79 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องต่ ากว่า ร้อยละ 60 2. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ สื่อสาร สื่อ ความหมาย ทาง คณิตศาสตร์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง แต่ขาดรายละเอียด ที่สมบูรณ์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง บางส่วน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอไม่ได้ 3. เกณฑ์การ ประเมินความ ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น
ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) สามารถในการ เชื่อมโยง เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้อย่างสอดคล้อง เหมาะสม เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้บางส่วน เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง 4. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ ให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุนหรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้อย่างสมบูรณ์ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้บางส่วน รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง แต่ไม่ น าไปสู่การสรุปที่มี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้งไม่ได้ 5. เกณฑ์การ ประเมินความ มุ่งมั่นในการ ท างาน มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนใหญ่ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนน้อย มีความมุ่งมั่นในการ ท างานแต่ไม่มีความ รอบคอบ ส่งผลให้ งานไม่ประสบ ผลส าเร็จอย่างที่ ควร
10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 10.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในคณิตศาสตร์ (K) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3. นักเรียนเกิดทักษะทางคณิตศาสตร์ (P) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 10.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 10.3 ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง..............................................
11. ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย 1. ความเหมาะสมของกิจกรรม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 2. ความเหมาะสมของเนื้อหา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 3. ความเหมาะสมของเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 4. ความเหมาะสมของสื่อ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 5. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง..............................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 16101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา............ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เศษส่วน เรื่อง การเรียงล าดับเศษส่วนและจ านวนคละ เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............. เดือน........................................ พ.ศ. ................... ครูผู้สอน........................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ จ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และการน าไปใช้ 2. ตัวชี้วัดชั้นปี เปรียบเทียบเรียงล าดับเศษส่วนและ จ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (ค 1.1 ป.6/1) หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจ านวนคละ (ค 1.1 ป.6/7) แสดงวิธีหาค าตอบของโจทย์ปญหา เศษส่วนและจ านวนคละ 2 – 3 ขั้นตอน (ค 1.1 ป.6/8) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบ เรียงล าดับเศษส่วนและจ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (K) 2. มีความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ (P) 3. มีความสามารถในเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ (P) 4. มีความสามารถในการให้เหตุผล (P) 5. มีความมุมานะในการท าความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A) 6. มีความมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. มีความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
5. สาระส าคัญ - การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท า ตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจ ท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ - การเปรียบเทียบจ านวนคละ ให้เปรียบเทียบจ านวนนับ ของจ านวนคละก่อน ถ้าจ านวนนับเท่ากัน จึงเปรียบเศษส่วน - การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจ านวนคละ อาจเขียน จ านวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียนเศษเกิน ในรูปจ านวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ 6. สาระการเรียนรู้ การเรียงล าดับเศษส่วนและจ านวนคละ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ Step 1 : ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษส่วน ดังนี้ - การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ - การเปรียบเทียบจ านวนคละ ให้เปรียบเทียบจ านวนนับ ของจ านวนคละก่อน ถ้าจ านวน นับเท่ากัน จึงเปรียบเทียบเศษส่วน - การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจ านวนคละ อาจเขียน จ านวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียน เศษเกินในรูปจ านวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ 2. นักเรียนท าแบบฝึกทักษะที่ 2.1 เพื่อทบทวนความรู้เรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วน แล้วหลังจากนั้น ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2.1 Step 2 : ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing) 3. การสอนการเรียงล าดับเศษส่วนและจ านวนคละ ครูควร ทบทวนวิธีเรียงล าดับเศษส่วน และ จ านวนคละที่มีตัวส่วนตัวหนึ่ง เป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง เช่น 2 3 4 , 5 2 , 19 8 และ 2 5 16 โดยร่วมกัน อภิปรายเพื่อน าไปสู่ข้อสรุปที่ว่า การเรียงล าดับเศษส่วนและจ านวนคละ ให้เปรียบเทียบทีละคู่ แล้วเรียงล าดับ จากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก
4. นักเรียนเรียงล าดับ 2 3 4 , 5 2 , 19 8 และ 2 5 16 จากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก ครูใช้การถาม - ตอบประกอบการอธิบายการเรียงล าดับ เศษส่วนและจ านวนคละหน้า 52 - 53 5. ให้นักเรียนสังเกตว่า นอกจากการเขียนเศษเกินในรูปจ านวนคละ หรือเขียน จ านวนคละในรูป เศษเกินแล้ว อาจใช้วิธีเปรียบเทียบเศษส่วน กับ 1 2 และ 1 6. ครูแนะน าเพิ่มเติมว่า การเรียงล าดับ เศษส่วนและจ านวนคละ อาจใช้หลายวิธีผสมผสานกัน ตาม ความเหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจ านวนที่น ามาเรียงล าดับ 7. ครูใช้การถาม - ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง หน้า 54 - 55 แล้วร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 56 แล้วท าแบบฝึกทักษะที่ 2.2 Step 3 : ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 8. ครูให้นักเรียนท าแบบฝึกหัด 2.3 ในหนังสือเรียนแบบฝึกหัด จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน เพื่อร่วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง 9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษส่วน ดังนี้ - การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ - การเปรียบเทียบจ านวนคละ ให้เปรียบเทียบจ านวนนับ ของจ านวนคละก่อน ถ้าจ านวน นับเท่ากัน จึงเปรียบเทียบเศษส่วน - การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจ านวนคละ อาจเขียน จ านวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียน เศษเกินในรูปจ านวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ Step 4 : ขั้นสื่อสารและน าเสนอ (Applying the Communication Skill) 10. นักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 11. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการท างานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการท างาน ที่มีแบบแผน
Step 5 : ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 12. นักเรียนน าความรู้เกี่ยวกับการเรียงล าดับเศษส่วนและจ านวนคละ ไปช่วยแนะน าเพื่อน ๆ ที่ยังไม่ เข้าใจให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น 13. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการท ากิจกรรม ในประเด็นต่อไปนี้ - สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร - นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด - นักเรียนจะน าความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไป ได้อย่างไร จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการท างานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม เกิดประโยชน์ ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง ส าหรับการท างานในครั้งต่อไป 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 1 2. หนังสือเรียนแบบฝึกหัด 3. แบบฝึกทักษะที่ 2.1 - 2.2 9. การวัดและประเมินผล 9.1 การวัดผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ แบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
9.2 การประเมินผล ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 1. เกณฑ์การ ประเมินการ ท าแบบฝึกหัด ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 90 ขึ้นไป ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 80 - 89 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 60 - 79 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องต่ ากว่า ร้อยละ 60 2. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ สื่อสาร สื่อ ความหมาย ทาง คณิตศาสตร์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง แต่ขาดรายละเอียด ที่สมบูรณ์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง บางส่วน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอไม่ได้ 3. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ เชื่อมโยง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้อย่างสอดคล้อง เหมาะสม ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้บางส่วน ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง 4. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ ให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุนหรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้อย่างสมบูรณ์ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้บางส่วน รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง แต่ไม่ น าไปสู่การสรุปที่มี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้งไม่ได้
ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 5. เกณฑ์การ ประเมินความ มุ่งมั่นในการ ท างาน มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนใหญ่ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนน้อย มีความมุ่งมั่นในการ ท างานแต่ไม่มีความ รอบคอบ ส่งผลให้ งานไม่ประสบ ผลส าเร็จอย่างที่ ควร 10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 10.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในคณิตศาสตร์ (K) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3. นักเรียนเกิดทักษะทางคณิตศาสตร์ (P) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................
10.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 10.3 ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง.............................................. 11. ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย 1. ความเหมาะสมของกิจกรรม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 2. ความเหมาะสมของเนื้อหา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 3. ความเหมาะสมของเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................
4. ความเหมาะสมของสื่อ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 5. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง..............................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 16101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา............ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เศษส่วน เรื่อง การบวกและการลบเศษส่วน เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............. เดือน........................................ พ.ศ. ................... ครูผู้สอน........................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ จ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และการน าไปใช้ 2. ตัวชี้วัดชั้นปี เปรียบเทียบเรียงล าดับเศษส่วนและ จ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (ค 1.1 ป.6/1) หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจ านวนคละ (ค 1.1 ป.6/7) แสดงวิธีหาค าตอบของโจทย์ปญหา เศษส่วนและจ านวนคละ 2 – 3 ขั้นตอน (ค 1.1 ป.6/8) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน ของเศษส่วนและจ านวนคละ (K) 2. มีความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ (P) 3. มีความสามารถในเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ (P) 4. มีความสามารถในการให้เหตุผล (P) 5. มีความมุมานะในการท าความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A) 6. มีความมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. มีความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
5. สาระส าคัญ - การบวกหรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดย อาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ 6. สาระการเรียนรู้ การบวกและการลบเศษส่วน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ Step 1 : ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษส่วน ดังนี้ - การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ - การเปรียบเทียบจ านวนคละ ให้เปรียบเทียบจ านวนนับ ของจ านวนคละก่อน ถ้าจ านวน นับเท่ากัน จึงเปรียบเทียบเศษส่วน - การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจ านวนคละ อาจเขียน จ านวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียน เศษเกินในรูปจ านวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ 2. ครูให้นักเรียนท าแบบฝึกทักษะที่ 2.3 เพื่อทบทวนความรู้เรื่องการเปรียบเทียบจ านวนคละ แล้ว หลังจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2.3 3. ครูทบทวนการบวก การลบเศษส่วนที่มี ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของตัวส่วนของเศษส่วนอีกตัว หนึ่ง จากนั้นครูใช้แผ่นพลาสติกใสแสดงเศษส่วนสาธิตประกอบ การอธิบายสถานการณ์ปัญหาหน้า 57 Step 2 : ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing) 4. นักเรียนพิจารณาตัวอย่าง สถานการณ์ปัญหาอื่นเพิ่มเติมโดยใช้สื่อชุดนี้สาธิตประกอบ การอธิบาย จากนั้นร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีหาค าตอบ จากสถานการณ์ปัญหาเพื่อน าไปสู่ข้อสรุปที่ว่า การบวก หรือการ ลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วน ของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของ ตัวส่วน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ 5. ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างการบวกกับการลบ จ านวนนับ โดยใช้การซักถามเพื่อให้นักเรียน แสดงวิธีคิด เพื่อหาจ านวนที่แทน เช่น
7 + 2 = จะได้ – 2 = 7 และ – 7 = 2 8 – 3 = จะได้ 8 – = 3 และ 3 + = 8 6. ครูก าหนดสัญลักษณ์แทนจ านวน เช่น แล้วให้นักเรียนหาความสัมพันธ์ ดังนี้ ถ้า + = จะได้ – = และ – = 7. ให้นักเรียนพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการบวก กับการลบเศษส่วนหน้า 58 โดยใช้การถามตอบประกอบ การอธิบาย และยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างการบวก กับการลบเศษส่วนเพิ่มเติม 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อน าไปสู่ ข้อสรุปที่ว่า การหาความสัมพันธ์ระหว่างการบวก กับ การลบเศษส่วน ใช้วิธีการเดียวกันกับ การหาความสัมพันธ์ระหว่างการบวกกับการลบจ านวนนับ 9. ครูใช้การถาม - ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง หน้า 59 และตอบในรูปเศษส่วนอย่างต่ า จ านวน คละ หรือจ านวนนับ 10. ครูย้ าให้นักเรียนตรวจสอบค าตอบ โดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างการบวกกับการลบเศษส่วน จากนั้น ร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 59 Step 3 : ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 11. ครูให้นักเรียนท าแบบฝึกหัด 2.4 ในหนังสือเรียนแบบฝึกหัด จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน เพื่อร่วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง 12. คูรและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการบวกเศษส่วน ดังนี้ - การบวกหรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน ก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ Step 4 : ขั้นสื่อสารและน าเสนอ (Applying the Communication Skill) 13. นักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 14. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการท างานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการท างาน ที่มีแบบแผน
Step 5 : ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 15. นักเรียนน าความรู้เกี่ยวกับการบวกและการลบเศษส่วนไปช่วยแนะน าเพื่อน ๆ ที่ยังไม่เข้าใจให้ เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น 16. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการท ากิจกรรม ในประเด็นต่อไปนี้ - สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร - นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด - นักเรียนจะน าความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไป ได้อย่างไร จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการท างานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม เกิดประโยชน์ ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง ส าหรับการท างานในครั้งต่อไป 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 1 2. หนังสือเรียนแบบฝึกหัด 3. แบบฝึกทักษะที่ 2.3 9. การวัดและประเมินผล 9.1 การวัดผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ แบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
9.2 การประเมินผล ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 1. เกณฑ์การ ประเมินการ ท าแบบฝึกหัด ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 90 ขึ้นไป ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 80 - 89 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 60 - 79 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องต่ ากว่า ร้อยละ 60 2. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ สื่อสาร สื่อ ความหมาย ทาง คณิตศาสตร์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง แต่ขาดรายละเอียด ที่สมบูรณ์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง บางส่วน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอไม่ได้ 3. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ เชื่อมโยง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้อย่างสอดคล้อง เหมาะสม ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้บางส่วน ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง 4. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ ให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุนหรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้อย่างสมบูรณ์ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้บางส่วน รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง แต่ไม่ น าไปสู่การสรุปที่มี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้งไม่ได้
ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 5. เกณฑ์การ ประเมินความ มุ่งมั่นในการ ท างาน มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนใหญ่ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนน้อย มีความมุ่งมั่นในการ ท างานแต่ไม่มีความ รอบคอบ ส่งผลให้ งานไม่ประสบ ผลส าเร็จอย่างที่ ควร 10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 10.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในคณิตศาสตร์ (K) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3. นักเรียนเกิดทักษะทางคณิตศาสตร์ (P) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................
10.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 10.3 ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง.............................................. 11. ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย 1. ความเหมาะสมของกิจกรรม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 2. ความเหมาะสมของเนื้อหา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 3. ความเหมาะสมของเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................
4. ความเหมาะสมของสื่อ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 5. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง..............................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 16101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา............ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เศษส่วน เรื่อง การบวกและการลบจ านวนคละ (1) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............. เดือน........................................ พ.ศ. ................... ครูผู้สอน........................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ จ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และการน าไปใช้ 2. ตัวชี้วัดชั้นปี เปรียบเทียบเรียงล าดับเศษส่วนและ จ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (ค 1.1 ป.6/1) หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจ านวนคละ (ค 1.1 ป.6/7) แสดงวิธีหาค าตอบของโจทย์ปญหา เศษส่วนและจ านวนคละ 2 – 3 ขั้นตอน (ค 1.1 ป.6/8) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน ของเศษส่วนและจ านวนคละ (K) 2. มีความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ (P) 3. มีความสามารถในเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ (P) 4. มีความสามารถในการให้เหตุผล (P) 5. มีความมุมานะในการท าความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A) 6. มีความมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. มีความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
5. สาระส าคัญ - การบวกจ านวนคละ อาจท าได้โดย น าจ านวนนับ บวกกับจ านวนนับ และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน ถ้าผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วนอยู่ในรูปเศษเกิน ให้ท าเป็นจ านวนคละ แล้วน าจ านวนนับของจ านวนคละ ไปบวกกับผลบวกของจ านวนนับ 6. สาระการเรียนรู้ การบวกและการลบจ านวนคละ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ Step 1 : ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เกี่ยวกับการบวกเศษส่วน ดังนี้ - การบวกหรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน ก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ 2. นักเรียนท าแบบฝึกทักษะที่ 2.4 – 2.5 เพื่อทบทวนความรู้เรื่องการเปรียบเทียบจ านวนคละ แล้ว หลังจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2.4 – 2.5 3. ครูควรทบทวน การบวกและการลบจ านวนคละ โดยเขียนจ านวนคละ ในรูปเศษเกิน โดยใช้การ ถาม-ตอบประกอบการอธิบาย ตัวอย่าง เช่น หาผลบวกของ 35 4 9 + 27 1 6 Step 2 : ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing) 4. นักเรียนร่วมกัน พิจารณาสถานการณ์หน้า 60 โดยครูอาจใช้แผ่นพลาสติกใส สาธิตประกอบการ อธิบายเพื่อน าไปสู่การหาผลบวก และสรุปค าตอบ ซึ่งจะได้ว่า แม่ค้ามีขนมถั่วกวน และขนมเผือกกวน ทั้งหมด 314 15 ถาด 5. นักเรียนสังเกตและร่วมกันอภิปรายวิธีหาผลบวก จากสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งจะได้ว่าการบวก จ านวนคละ อาจท าได้โดย น าจ านวนนับบวกกับจ านวนนับ และเศษส่วน บวกกับเศษส่วน 6. นักเรียนช่วยกันแสดงขั้นตอนการหาผลบวก ของจ านวนคละหน้า 61 โดยน าจ านวนนับบวกกับ จ านวนนับ และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน และให้นักเรียนแสดงขั้นตอน การหาผลบวกดังกล่าวโดยเขียน จ านวนคละในรูปเศษเกิน แล้วเปรียบเทียบค าตอบที่ได้
7. นักเรียนหาผลบวกของ 35 4 9 + 27 1 6 โดยน าจ านวนนับบวกกับจ านวนนับ และเศษส่วนบวกกับ เศษส่วน เพื่อเปรียบเทียบวิธีการบวกจ านวนคละทั้งสองวิธี Step 3 : ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 8. ครูให้นักเรียนท าแบบฝึกทักษะที่ 2.6 – 2.7 จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน เพื่อร่วมกันตรวจสอบ และแก้ไขให้ถูกต้อง 9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการบวกจ านวนคละ ดังนี้ - การบวกจ านวนคละ อาจท าได้โดย น าจ านวนนับ บวกกับจ านวนนับ และเศษส่วนบวกกับ เศษส่วน ถ้าผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วนอยู่ในรูปเศษเกิน ให้ท าเป็นจ านวนคละ แล้วน า จ านวนนับของจ านวนคละ ไปบวกกับผลบวกของจ านวนนับ Step 4 : ขั้นสื่อสารและน าเสนอ (Applying the Communication Skill) 10. นักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 11. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการท างานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการท างาน ที่มีแบบแผน Step 5 : ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 12. นักเรียนน าความรู้เกี่ยวกับการบวกและการลบจ านวนคละไปช่วยแนะน าเพื่อน ๆ ที่ยังไม่เข้าใจให้ เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น 13. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการท ากิจกรรม ในประเด็นต่อไปนี้ - สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร - นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด - นักเรียนจะน าความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไป ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการท างานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม เกิดประโยชน์ ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง ส าหรับการท างานในครั้งต่อไป 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 1 2. หนังสือเรียนแบบฝึกหัด 3. แบบฝึกทักษะที่ 2.4 – 2.7 9. การวัดและประเมินผล 9.1 การวัดผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ แบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 9.2 การประเมินผล ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 1. เกณฑ์การ ประเมินการ ท าแบบฝึกหัด ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 90 ขึ้นไป ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 80 - 89 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 60 - 79 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องต่ ากว่า ร้อยละ 60 2. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ สื่อสาร สื่อ ความหมาย ทาง คณิตศาสตร์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง แต่ขาดรายละเอียด ที่สมบูรณ์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง บางส่วน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอไม่ได้
ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 3. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ เชื่อมโยง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้อย่างสอดคล้อง เหมาะสม ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้บางส่วน ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง 4. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ ให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุนหรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้อย่างสมบูรณ์ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้บางส่วน รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง แต่ไม่ น าไปสู่การสรุปที่มี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้งไม่ได้ 5. เกณฑ์การ ประเมินความ มุ่งมั่นในการ ท างาน มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนใหญ่ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนน้อย มีความมุ่งมั่นในการ ท างานแต่ไม่มีความ รอบคอบ ส่งผลให้ งานไม่ประสบ ผลส าเร็จอย่างที่ ควร
10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 10.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในคณิตศาสตร์ (K) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3. นักเรียนเกิดทักษะทางคณิตศาสตร์ (P) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 10.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 10.3 ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง..............................................
11. ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย 1. ความเหมาะสมของกิจกรรม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 2. ความเหมาะสมของเนื้อหา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 3. ความเหมาะสมของเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 4. ความเหมาะสมของสื่อ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 5. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง..............................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 16101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา............ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เศษส่วน เรื่อง การบวกและการลบจ านวนคละ (2) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............. เดือน........................................ พ.ศ. ................... ครูผู้สอน........................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ จ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และการน าไปใช้ 2. ตัวชี้วัดชั้นปี เปรียบเทียบเรียงล าดับเศษส่วนและ จ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (ค 1.1 ป.6/1) หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจ านวนคละ (ค 1.1 ป.6/7) แสดงวิธีหาค าตอบของโจทย์ปญหา เศษส่วนและจ านวนคละ 2 – 3 ขั้นตอน (ค 1.1 ป.6/8) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน ของเศษส่วนและจ านวนคละ (K) 2. มีความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ (P) 3. มีความสามารถในเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ (P) 4. มีความสามารถในการให้เหตุผล (P) 5. มีความมุมานะในการท าความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A) 6. มีความมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. มีความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
5. สาระส าคัญ - การลบจ านวนคละ อาจท าได้โดย น าจ านวนนับ ลบกับจ านวนนับ และเศษส่วนลบกับเศษส่วน ถ้า การลบเศษส่วน มีตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ให้กระจายผลลบของจ านวนนับมา 1 โดยเขียน ในรปูเศษส่วน แล้ว น าไปบวกกับตัวตั้ง จากนั้นจึงหาผลลบ - การบวกและการลบจ านวนคละ อาจเขียนจ านวนคละ ในรูปเศษเกิน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ 6. สาระการเรียนรู้ การบวกและการลบจ านวนคละ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ Step 1 : ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เกี่ยวกับการบวกเศษส่วน ดังนี้ - การบวกหรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน ก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ 2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการบวกเศษส่วน จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายเช่นจาก การสังเกต การร่วมสนทนากับเพื่อนในชั้นเรียน จากหนังสือเรียนหรืออินเทอร์เน็ต Step 2 : ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing) 3. นักเรียนร่วมกันพิจารณาการหาผลลบหน้า 66 จากสถานการณ์หน้า 64 โดยครูอาจใช้แผ่น พลาสติกใสสาธิต ประกอบการอธิบายเพื่อน าไปสู่วิธีหาผลลบ ซึ่งจะสังเกตได้ว่า เศษส่วนที่เป็นตัวตั้งน้อยกว่า เศษส่วนที่เป็นตัวลบ 4. ครูแนะน าให้กระจายจ านวนนับที่เป็นตัวตั้งมา 1 เพื่อน าไปรวมกับ เศษส่วนที่เป็นตัวตั้ง แล้วจึงหา ผลลบ ซึ่งสามารถสรุป ค าตอบได้ว่า นุ่นรีดนมวัวได้น้อยกว่าอ้อ 1 7 10 ถัง 5. นักเรียนสังเกตและร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีหา ผลลบจากสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งจะได้ว่า การ ลบจ านวนคละอาจท าได้โดย น าจ านวนนับลบกับจ านวนนับ และเศษส่วนลบกบัเศษส่วน เนื่องจากการลบ เศษส่วน มีตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบจึงกระจายผลลบของจ านวนนับมา 1 โดยเขียนในรูปเศษส่วน แล้วน าไปบวก กับตัวตั้ง จากนั้นจึงหาผลลบ
6. นักเรียนช่วยกันแสดงขั้นตอนการหาผลลบ ของจ านวนคละหน้า 67 โดยน าจ านวนนับลบกับ จ านวนนับ และเศษส่วนลบกับเศษส่วน 7. นักเรียนช่วยกันแสดง ขั้นตอนการหาผลลบดังกล่าว โดยเขียนจ านวนคละ ในรูปเศษเกิน แล้ว เปรียบเทียบค าตอบที่ได้ 8. ครูใช้การถาม – ตอบประกอบการอธิบายการหาผลบวก จากตัวอย่างข้อ 1 หน้า 68 และการหา ผลลบจากตัวอย่าง ข้อ 2 หน้า 69 โดยตัวอย่างข้อ 1 ให้นักเรียนแสดงวิธีหาผลบวก โดยน าจ านวนนับบวก กับจ านวนนับ และเศษส่วน บวกกับเศษส่วน ส่วนตัวอย่างข้อ 2 ให้นักเรียนแสดงวิธีหาผลลบพร้อมสังเกต การลบเศษส่วน ซึ่งเมื่อท าตัวส่วนให้เท่ากัน แล้ว พบว่า 2 12 ที่เป็นตัวตั้ง จะน้อยกวา่ 3 12 ที่เป็นตัวลบ จึงต้อง กระจายผลลบของจ านวนนับมา 1 ซึ่งเขียนในรูป 12 12 แล้วน าไปบวกกับ 2 12 เป็น 14 12 จากนั้นหาผลลบ 9. ให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 69 โดยอาจแบ่ง นักเรียนเป็นกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มน าเสนอ วิธีคิด ที่แตกต่างกัน เพื่อให้นักเรียนได้เห็นวิธีคิดที่หลากหลาย Step 3 : ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 10. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มท าแบบฝึกหัด 2.5 ในหนังสือแบบฝึกหัด จากนั้นสลับผลงานกับกลุ่มอื่น เพื่อร่วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง 11. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อน าไปสู่ข้อสรุปที่ว่า - การบวกจ านวนคละ อาจท าได้โดย น าจ านวนนับบวกกับจ านวนนับ และเศษส่วนบวกกับ เศษส่วน ถ้าผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วนอยู่ในรูปเศษเกิน ให้ท าเป็นจ านวนคละ แล้ว น าจ านวนนับของจ านวนคละ ไปบวกกับผลบวกของจ านวนนับ - การลบจ านวนคละ อาจท าได้โดย น าจ านวนนับลบกับจ านวนนับ และเศษส่วนลบกับ เศษส่วน ถ้าการลบเศษส่วน มีตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ให้กระจาย ผลลบของจ านวนนับมา 1 โดยเขียนในรูปเศษส่วน แล้วน าไปบวกกับตัวตั้ง จากนั้นจึงหาผลลบ - การบวกและการลบจ านวนคละ อาจท าได้โดย เขียนจ านวนคละในรูปเศษเกิน แล้วจึงหา ผลบวก หรือผลลบ
Step 4 : ขั้นสื่อสารและน าเสนอ (Applying the Communication Skill) 12. นักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 13. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการท างานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการท างาน ที่มีแบบแผน Step 5 : ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 14. นักเรียนน าความรู้เกี่ยวกับการบวกและการลบจ านวนคละไปช่วยแนะน าเพื่อน ๆ ที่ยังไม่เข้าใจให้ เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น 15. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการท ากิจกรรม ในประเด็นต่อไปนี้ - สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร - นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด - นักเรียนจะน าความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไป ได้อย่างไร จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการท างานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม เกิดประโยชน์ ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง ส าหรับการท างานในครั้งต่อไป 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 1 2. หนังสือเรียนแบบฝึกหัด
9. การวัดและประเมินผล 9.1 การวัดผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ แบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 9.2 การประเมินผล ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 1. เกณฑ์การ ประเมินการ ท าแบบฝึกหัด ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 90 ขึ้นไป ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 80 - 89 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 60 - 79 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องต่ ากว่า ร้อยละ 60 2. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ สื่อสาร สื่อ ความหมาย ทาง คณิตศาสตร์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง แต่ขาดรายละเอียด ที่สมบูรณ์ ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอได้ถูกต้อง บางส่วน ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และ น าเสนอไม่ได้ 3. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ เชื่อมโยง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ได้บางส่วน ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆ หรือ ศาสตร์อื่น ๆ และ น าไปใช้ในชีวิตจริง
ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) ได้อย่างสอดคล้อง เหมาะสม 4. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ ให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุนหรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้อย่างสมบูรณ์ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง เพื่อน าไปสู่ การสรุปโดยมี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ ได้บางส่วน รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้ง แต่ไม่ น าไปสู่การสรุปที่มี ข้อเท็จจริงทาง คณิตศาสตร์รองรับ รับฟังและให้เหตุผล สนับสนุน หรือ โต้แย้งไม่ได้ 5. เกณฑ์การ ประเมินความ มุ่งมั่นในการ ท างาน มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนใหญ่ มีความมุ่งมั่นในการ ท างานอย่าง รอบคอบ จนงาน ประสบผลส าเร็จ เรียบร้อยส่วนน้อย มีความมุ่งมั่นในการ ท างานแต่ไม่มีความ รอบคอบ ส่งผลให้ งานไม่ประสบ ผลส าเร็จอย่างที่ ควร 10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 10.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนจ านวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนี่ไม่ผ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................
2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในคณิตศาสตร์ (K) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3. นักเรียนเกิดทักษะทางคณิตศาสตร์ (P) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 10.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 10.3 ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง.............................................. 11. ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย 1. ความเหมาะสมของกิจกรรม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 2. ความเหมาะสมของเนื้อหา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................
3. ความเหมาะสมของเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 4. ความเหมาะสมของสื่อ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ........................................................................................................................................ 5. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................................... (..........................................................) ต าแหน่ง..............................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 16101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา............ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เศษส่วน เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารระคน (1) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่............. เดือน........................................ พ.ศ. ................... ครูผู้สอน........................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ จ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และการน าไปใช้ 2. ตัวชี้วัดชั้นปี เปรียบเทียบเรียงล าดับเศษส่วนและ จ านวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ (ค 1.1 ป.6/1) หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจ านวนคละ (ค 1.1 ป.6/7) แสดงวิธีหาค าตอบของโจทย์ปญหา เศษส่วนและจ านวนคละ 2 – 3 ขั้นตอน (ค 1.1 ป.6/8) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน ของเศษส่วนและจ านวนคละ (K) 2. มีความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ (P) 3. มีความสามารถในเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ (P) 4. มีความสามารถในการให้เหตุผล (P) 5. มีความมุมานะในการท าความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A) 6. มีความมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. มีความสามารถในการสื่อสาร 2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
5. สาระส าคัญ ข้อตกลงเกี่ยวกับล าดับขั้นการค านวณที่มากกว่า 1 ขั้นตอน เป็นดังนี้ ขั้นที่1 ค านวณในวงเล็บ (ถ้ามี) ขั้นที่2 คูณ หรือ หาร โดยค านวณจากซ้ายไปขวา ขั้นที่3 บวก หรือ ลบ โดยค านวณจากซ้ายไปขวา 6. สาระการเรียนรู้ การบวก ลบ คูณ หารระคน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ Step 1 : ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. นักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เกี่ยวกับการบวก ลบ เศษส่วน ดังนี้ - การบวกหรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องท าตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน ก่อน โดยอาจท าให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ - การบวกจ านวนคละ อาจท าได้โดย น าจ านวนนับ บวกกับจ านวนนับ และเศษส่วนบวกกับ เศษส่วน ถ้าผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วนอยู่ในรูปเศษเกิน ให้ท าเป็นจ านวนคละ แล้วน า จ านวนนับของจ านวนคละ ไปบวกกับผลบวกของจ านวนนับ - การลบจ านวนคละ อาจท าได้โดย น าจ านวนนับ ลบกับจ านวนนับ และเศษส่วนลบกับ เศษส่วน ถ้าการลบเศษส่วน มีตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ให้กระจายผลลบของจ านวนนับมา 1 โดยเขียน ในรปูเศษส่วน แล้วน าไปบวกกับตัวตั้ง จากนั้นจึงหาผลลบ 2. ครูทบทวนล าดับขั้นการค านวณ โดยยกตัวอย่าง เช่น 18 – 12 ÷ 3 × 2 กับ 18 – 12 ÷ (3 × 2) ให้นักเรียนบอกล าดับขั้นการค านวณพร้อมหาผลลัพธ์
Step 2 : ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing) 3. ครูใช้การซักถามและอธิบายแสดงเหตุผลวิธีหาผลลัพธ์ หน้า 71-72 โดยให้นักเรียนบอกล าดับขั้น การค านวณ 4. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน แล้วให้แต่ละกลุ่มแสดงวิธีหา ผลลัพธ์ ครูเลือกกลุ่มที่มี วิธีคิดที่แตกต่างกันน าเสนอ หน้าชั้นเรียน 5. นักเรียนพิจารณาการเขียนแสดงวิธีหาผลลัพธ์ของ 1 3 22 ÷ (1 7 33 – 8 11 ) × 11 24 หน้า 73 โดยครูใช้การ ถาม-ตอบ ประกอบ Step 3 : ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing the Knowledge) 6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มท าแบบฝึกทักษะที่ 2.8 จากนั้นสลับผลงานกับกลุ่มอื่น เพื่อร่วมกัน ตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง 7. จากกิจกรรมครูและนักเรียนสรุปขั้นตอนการค านวณที่มากกว่า 1 ขั้นตอน เป็นดังนี้ ขั้นที่1 ค านวณในวงเล็บ (ถ้ามี) ขั้นที่2 คูณ หรือ หาร โดยค านวณจากซ้ายไปขวา ขั้นที่3 บวก หรือ ลบ โดยค านวณจากซ้ายไปขวา Step 4 : ขั้นสื่อสารและน าเสนอ (Applying the Communication Skill) 8. นักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการท างานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการท างาน ที่มีแบบแผน Step 5 : ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 10. นักเรียนน าความรู้เกี่ยวกับการบวก ลบ คูณ หารระคนไปช่วยแนะน าเพื่อน ๆ ที่ยังไม่เข้าใจให้เกิด ความเข้าใจยิ่งขึ้น 11. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการท ากิจกรรม ในประเด็นต่อไปนี้ - สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร - นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
- เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด - นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด - นักเรียนจะน าความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไป ได้อย่างไร จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการท างานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม เกิดประโยชน์ ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง ส าหรับการท างานในครั้งต่อไป 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 1 2. แบบฝึกทักษะที่ 2.8 9. การวัดและประเมินผล 9.1 การวัดผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ แบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 9.2 การประเมินผล ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ก าลังพัฒนา) 1 (ต้องปรับปรุง) 1. เกณฑ์การ ประเมินการ ท าแบบฝึกหัด ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 90 ขึ้นไป ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 80 - 89 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องร้อยละ 60 - 79 ท าแบบฝึกหัดได้ อย่างถูกต้องต่ ากว่า ร้อยละ 60 2. เกณฑ์การ ประเมินความ สามารถในการ สื่อสาร สื่อ ความหมาย ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร ใช้รูป ภาษา และ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร