The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะของพยาบาล โรงพยาบาลทั่วไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by I'Ming Rattanawan, 2022-07-06 10:25:04

คู่มือการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะของพยาบาล โรงพยาบาลทั่วไป

คู่มือการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะของพยาบาล โรงพยาบาลทั่วไป

Keywords: คู่มือการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ,ะบบทางเดินปัสสาวะ,การคาสายสวนปัสสาวะ

คู่มือการปฏิบัตกิ ารปอ้ งกันการติดเชอื้ ระบบทางเดนิ ปสั สาวะที่
สมั พนั ธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะของพยาบาล โรงพยาบาลทว่ั ไป

จัดทาโดย
นางศภุ ลกั ษณ์ อุณฑพนั ธ์ุ
นกั ศกึ ษาหลกั สูตรพยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ
สาขาวชิ าการพยาบาลผ้ปู ่วยโรคตดิ เชอ้ื และการควบคุมการตดิ เชอื้
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่

อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา
รองศาสตราจารย์ ดร. นงคค์ ราญ วิเศษกลุ
ศาสตราจารย์ ดร.นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล



คานา

การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะเป็นการ
ติดเช้ือในโรงพยาบาลที่พบบ่อย ส่งผลกระทบต่อตัวผู้ป่วยและโรงพยาบาล ทาให้ผู้ป่วยต้อง
นอนโรงพยาบาลนานข้ึน โรงพยาบาลต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
การป้องกันการติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการ คาสายสวนปัสสาวะจึงมี
ความสาคัญ ดังนั้นพยาบาลซ่ึงมีบทบาทสาคัญในการป้องกันการติดเช้ือระบบทางเดิน
ปสั สาวะที่สัมพนั ธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะจึงจาเป็นตอ้ งมีความรูแ้ ละการปฏิบัตทิ ถ่ี กู ต้อง

คู่มือการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวน
ปัสสาวะในโรงพยาบาลทั่วไปสาหรับพยาบาลเล่มนี้เพื่อให้ทราบถึง สถานการณ์การติดเชื้อ
กลไกการติดเช้ือ ปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อ ผลกระทบที่เกิดจากการติดเช้ือ เกณฑ์การ
วินิจฉัยการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ และการ
ปฏิบัติการป้องกันการติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือเล่มนี้จะเกิดประโยชน์ช่วยส่งเสริมความรู้และการปฏิบัติการ
ป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะของพยาบาล
ใหถ้ กู ตอ้ ง

ศุภลกั ษณ์ อณุ ฑพนั ธ์ุ
มีนาคม 2565



สารบญั

เรอื่ ง หนา้
คานา ก
สารบัญ ข
การป้องกันการติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวน 1
ปสั สาวะในโรงพยาบาลทั่วไป
1
1. สถานการณ์การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคา
สายสวนปสั สาวะ 2

2. กลไกการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคา 3
สายสวนปัสสาวะ
4
3. ปัจจยั เส่ยี งของการติดเชอ้ื ระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการ
คาสายสวนปสั สาวะ 5

4. ผลกระทบทีเ่ กดิ จากการตดิ เชือ้ ระบบทางเดนิ ปสั สาวะท่สี มั พนั ธก์ บั 6-18
การคาสายสวนปสั สาวะ
19-20
5. เกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับ
การคาสายสวนปัสสาวะ

6. การปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์
กับการคาสายสวนปัสสาวะ
เอกสารอ้างองิ

1

การปอ้ งกันการตดิ เชอื้ ระบบทางเดนิ ปสั สาวะทส่ี มั พันธ์กบั
การคาสายสวนปัสสาวะ

สถานการณ์การติดเชอื้ ระบบทางเดินปสั สาวะท่สี มั พนั ธก์ ับการคาสายสวนปัสสาวะ

การติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะเป็นการติดเช้ือในโรงพยาบาลท่ี
พบได้บ่อย ประมาณรอ้ ยละ 12-16 ของการตดิ เชอื้ ทั้งหมดสาหรับประเทศไทย พบอัตราการติดเช้ือระบบทางเดิน
ปัส ส า ว ะ ท่ี สั ม พั น ธ์ กั บ ก าร ค า ส า ย ส ว น ปั ส ส า ว ะ มา ก ถึ ง ร้ อ ย ล ะ 3 8 . 3 ข อ ง ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ท้ั ง ห ม ด
(เพชรรตั น์ ด่านธารงกูล, 2563) จากรายงานของสมาคมควบคมุ การตดิ เช้อื ในโรงพยาบาลนานาชาติ พบอัตราการ
ติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะในหอผู้ป่วยวิกฤติอายุรกรรมในปี ค.ศ. 2012
ถึงปี ค.ศ. 2017 4.4 ครั้งต่อ 1,000 วันคาสายสวนปัสสาวะ สาหรับการศึกษาของประเทศไทย จากการรวบรวม
ข้อมูลโรงพยาบาลทุกระดับในประเทศไทยของกองการพยาบาล สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปี พ.ศ. 2558 ถึงปี พ.ศ. 2560 พบอัตราการติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ
1.17, 1.10 และ 1.15 คร้ังต่อ 1,000 วันคาสายสวนปสั สาวะ (กองการพยาบาล สานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข,
2561) และจากข้อมูลการรายงานการติดเชื้อในโรงพยาบาล ปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2563 ของโรงพยาบาล
ทั่วไปแห่งหนึ่งของประเทศไทย พบอัตราการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ
เทา่ กับ 0.69, 0.50 และ 0.58 ครัง้ ต่อ 1,000 วันคาสายสวนปสั สาวะ แยกตามแผนกหอผู้ป่วยวิกฤติ พบอัตราการ
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ ดังนี้ หอผู้ป่วยวิกฤติอายุรกรรม เท่ากับ 1.67, 1.59 และ 0.97 และหอผู้ป่วย
ก่งึ วิกฤติอายุรกรรมเท่ากับ 1.00, 0.23 และ 1.93 ครั้งตอ่ 1,000 วันคาสายสวนปัสสาวะ

2

กลไกการติดเชอ้ื ระบบทางเดินปัสสาวะทีส่ ัมพนั ธ์กบั
การคาสายสวนปสั สาวะ

สาเหตุของโรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสาคัญ คือ แบคทีเรีย ซ่ึงส่วนใหญ่แล้วเป็น
แบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในลาไส้ของคน โดยมีกลไกการติดเชื้อ คือ แบคทีเรีย ดังกล่าวมีการเคล่ือนท่ี
จากลาไส้มาปนเปื้อนบริเวณส่วนนอกของทวารหนัก จากนั้นเข้าสู่บริเวณช่องเปิดของท่อปัสสาวะ
และเคล่ือนข้ึนไปตามท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ ท่อไต และไต จึงทาให้เกิดการติดเช้ือใน
อวัยวะทเ่ี คล่อื นไปถึง ท้งั นี้ หนทางเข้าของเชอ้ื มี 4 ทาง ได้แก่ เข้าทางปลายสายสวนปัสสาวะขณะที่
คาสายสวนปัสสาวะ รอยต่อระหว่างสายสวนปัสสาวะและถุงรองรับปัสสาวะ บริเวณเย่ือบุ
ท่อปัสสาวะกับสายสวนปัสสาวะด้านนอก และส่วนปลายของถุงรองรับปัสสาวะ (Agency for
Healthcare Research and Quality, 2017)

ภาพที่ 1 หนทางทเ่ี ช้อื จลุ ชพี เข้าสรู่ า่ งกายจากการคาสายสวนปัสสาวะ 4 ทาง

ปัจจัยเส่ยี งของการตดิ เชื้อระบบทางเดนิ ปัสสาวะทส่ี มั พนั ธก์ บั 3

ปจั จัยด้านผปู้ ว่ ย การคาสายสวนปสั สาวะ

- เพศ การติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะพบได้บ่อยใน
เพศหญิงมากกว่าเพศชาย เนื่องจากเพศหญิงมีท่อปัสสาวะส้ันกว่าเพศชายและปลายเปิดท่อ
ปัสสาวะอยู่ใกล้ทวารหนักทาให้เช้ือจุลชีพเข้าสู่ท่อปัสสาวะได้ง่ายและก่อให้เกิดการติดเชื้อระบบ
ทางเดินปสั สาวะ (Flores-Mireles et al., 2019)

- อายุ พบว่าเมือ่ อายุมากขนึ้ ระบบภมู ิคุม้ กันในรา่ งกายลดลง โดยเฉพาะภมู คิ มุ้ กันด้านเซลล์ทาให้มี
ความเสย่ี งในการติดเชอ้ื ทั้งเชอื้ แบคทีเรียและเช้อื ไวรัสได้งา่ ย (Simon et al., 2015)

- โรคเรื้อรัง และการได้รับการรักษาแบบกดภูมิคุ้มกัน ส่งผลให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายลดลง
และระบบไหลเวียนโลหิตมีประสิทธิภาพลดลง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคไต
(Bursle et al., 2015; Oumer et al., 2021)

- โรคระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ ต่อมลูกหมากโต เน้ืองอกที่ท่อ
ทางเดนิ ปสั สาวะ ภาวะกลั้นปสั สาวะไม่ได้ หรอื ภาวะปสั สาวะค่งั ปสั สาวะไหลย้อนกลบั และภาวะ
ไตบวมน้า ผู้ป่วยมีความจาเป็นคาสายสวนปัสสาวะไว้ ซ่ึงการคา สายสวนปัสสาวะเป็นหนทางนา
เช้อื จลุ ชพี เขา้ สรู่ ะบบทางเดนิ ปสั สาวะ จงึ ทาให้มกี ารเจริญของเช้ือจุลชีพและ ทาให้เกิดการติดเชื้อ
ระบบทางเดนิ ปัสสาวะ (Holzman et al., 2021; Oumer et al., 2021; Perrin et al., 2021)

ปัจจยั ด้านเชื้อกอ่ โรค

เชื้อจุลชีพท่ีเป็นสาเหตุท่ีทาให้เกิดการติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวน
ปัสสาวะ คือ Escherichia coli ซ่ึงพบถึงร้อยละ 51.11 ตามด้วยPseudomonas aeruginosa
และ Klebsiella pneumoniae (Mladenovic et al., 2015; Perrin et al., 2021)

ปจั จยั ด้านสิ่งแวดลอ้ ม

ส่ิงแวดล้อมที่มีชีวิต คือ “บุคลากรทางการแพทย์” หากมีการปฏิบัติที่ไม่เหมาะสมตามแนว
ปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ เช่น
การทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ก่อนการคาสายสวนปัสสาวะไม่ดีพอ เทคนิคการคาสายสวน
ปัสสาวะของบุคลากรไม่ถูกต้อง และการดูแลผู้ป่วยระหว่างการคาสายสวนปัสสาวะไม่ถูกต้อง
เป็นต้น (Henry, 2018) ส่งผลให้ทาให้เกิดการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคา
สายสวนปัสสาวะได้

ส่ิงแวดล้อมไม่มีชีวิต คือ สถานท่ีคาสายสวนปัสสาวะ การนอนโรงพยาบาลนาน การเลือก
ขนาดสายสวนปสั สาวะ ระยะเวลาคาสายสวนปัสสาวะ และการคาสายสวนปัสสาวะอาจเป็น
ช่องทางของเชอ้ื จลุ ชีพเข้าสู่ร่างกายและก่อให้เกิดการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์
กบั การคาสายสวนปสั สาวะได้

4

ผลกระทบจากการติดเชื้อระบบทางเดินปสั สาวะทสี่ มั พนั ธก์ บั
การคาสายสวนปัสสาวะ

ผลกระทบตอ่ ผู้ปว่ ย ผลกระทบดา้ นคา่ ใช้จ่าย

- ระยะเวลาในการรักษาในโรงพยาบาล - สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา
นานข้ึน โดยมีระยะเวลานอนเฉลี่ย 34 วัน แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ วิ นิ จ ฉั ย ท า ง
- ระยะเวลานอนรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤติ หอ้ งปฏบิ ัติการ
เฉลี่ย 28 วัน

- การติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะท่ี
สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะท่ีมี
ความรุนแรงส่งผลทาให้ผู้ป่วยมีอัตราการ
เสยี ชีวติ สงู ถึงรอ้ ยละ 6.6

- ประเทศไทย พบอัตราการเสียชีวิตจาก
ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ร ะ บ บ ท า ง เ ดิ น ปั ส ส า ว ะ ที่
สั ม พั น ธ์ กั บ ก า ร ค า ส า ย ส ว น ปั ส ส า ว ะ
รอ้ ยละ 20 ของการเสยี ชีวติ ทง้ั หมด

5

เกณฑ์การวินิจฉยั การตดิ เชือ้ ระบบทางเดินปสั สาวะทส่ี มั พันธก์ บั
การคาสายสวนปสั สาวะ

ก า ร ติ ด เ ช้ื อ ร ะ บ บ ท า ง เ ดิ น ปั ส ส า ว ะ ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ ก า ร ค า ส า ย ส ว น ปั ส ส า ว ะ
(Catheter-Associated Urinary Tract Infection) หมายถึง ภาวะท่ีมีอาการแสดงของการอักเสบ
(inflammation) ของระบบทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ ร่วมกับการตรวจพบว่ามี
แบคทีเรียในปัสสาวะ ซ่ึงตรวจพบแบคทีเรียมากกว่าหรือเท่ากับ 105 ต่อมิลลิลิตรของปัสสาวะ
(Behzadi, 2018)

เกณฑ์การวินิจฉัยการติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะท่ีสัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ
(catheter-associated urinary tract infection [CAUTI]) ตามเกณฑ์การวินิจฉัยปี ค.ศ. 2019 ของ
ศนู ย์ควบคมุ และปอ้ งกันโรค ประเทศสหรฐั อเมรกิ า (CDC, 2019) ตอ้ งมีลักษณะ และอาการหรืออาการ
แสดงครบถ้วนตามเกณฑ์ 3 ข้อ ดังน้ี

1. ผู้ป่วยมีการคาสายสวนปัสสาวะมามากกว่า 2 วันปฏิทิน (วันแรกที่คาสายสวนปัสสาวะ
นับเป็นวันที่ 1 ปฏิทิน) และ ณ วันแรกที่เกิดการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ (date of event) หรือ
1 วนั กอ่ น date of event จะต้องยังมีการคาสายสวนปัสสาวะอยู่

2. มอี าการ อยา่ งน้อย 1 ขอ้ ตอ่ ไปน้ี

2.1 มีไข้ (> 38.0 องศาเซลเซียส)

2.2 กดเจบ็ บริเวณหวั หน่าวโดยไม่มสี าเหตุอนื่

2.3 ปวดหลงั หรือกดเจ็บบรเิ วณ costovertebral angle โดยไมม่ ีสาเหตอุ ่นื

2.4 ปวดปสั สาวะเฉยี บพลนั (urinary urgency)

2.5 ปสั สาวะบ่อย (urinary frequency)

2.6 ปัสสาวะแสบขดั (dysuria)

3. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบเช้ือไม่เกิน 2 ชนิดโดยเชื้อแบคทีเรียอย่างน้อย
1 ชนิด มีจานวน ≥ 105 CFU/ml

หมายเหตุ เชื้อก่อโรคท่ีไม่จัดอยู่ในการวินิจฉัยการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับ
การคาสายสวนปัสสาวะ ได้แก่ ยีสต์ (yeast) เชื้อรา (mold) เชื้อราที่มีคุณลักษณะ dimorphic fungi
และเชอ้ื ปรสิต (parasite)

6

การปฏบิ ัตกิ ารปอ้ งกนั การตดิ เช้ือระบบทางเดินปสั สาวะทีส่ ัมพนั ธ์
กับการคาสายสวนปัสสาวะ

พยาบาลมีบทบาทหน้าท่ีสาคัญเน่ืองจากให้การดูแลผู้ป่วยอย่าง
ใกล้ชิด และมีกิจกรรมทางการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการป้องกันการ
ติดเชื้อระบบทางเดนิ ปัสสาวะท่ีสัมพนั ธก์ ับการคาสายสวนปัสสาวะ ดังน้ี

1. การเตรียมอปุ กรณ์การคาสายสวนปัสสาวะ
2. วธิ กี ารคาสายสวนปัสสาวะ
3. การดแู ลสายสวนปัสสาวะ
4. การเปลยี่ นสายสวนปัสสาวะและถงุ รองรับปัสสาวะ
5. การเกบ็ ปัสสาวะเพื่อสง่ ตรวจเพาะเชื้อ

7

1. การเตรยี มอปุ กรณ์
การคาสายสวนปัสสาวะ

1.1 ทาความสะอาดมอื ดว้ ยนา้ กบั สบู่ผสมน้ายาฆา่ เช้ือกอ่ นเตรียมอุปกรณ์การคาสายสวนปสั สาวะ
1.2 เตรยี มอปุ กรณ์การคาสายสวนปสั สาวะด้วยเทคนคิ ปราศจากเชอ้ื ไดแ้ ก่

- ชดุ สวนปสั สาวะปราศจากเชื้อ ประกอบด้วย
1. ภาชนะรองรบั ปสั สาวะ
2. ถว้ ยกลม 1 ใบ สาหรับใส่สาลี 6-8 กอ้ น
3. ผา้ ก๊อซ ขนาด 3*3 น้ิว
4. คมี คบี ชนิดไม่มีเคี้ยว
5. ผ้าสเ่ี หลย่ี มเจาะกลาง

- ถงุ รองรบั ปัสสาวะ
- สารหล่อล่นื ปราศจากเช้ือชนิดใชค้ รั้งเดียว
- กระบอกฉดี ยาปราศจากเชื้อขนาด 10 มลิ ลลิ ติ ร
- น้ากล่นั ปราศจากเชือ้
- ถุงมอื ปราศจากเชอื้
- พลาสเตอร์
- ชามรูปไตสาหรบั เก็บขยะ
- สายสวนปัสสาวะปราศจากเช้ือ สาหรับผู้ใหญ่ เบอร์ 12-18 Fr. หรือตามความเหมาะสม มีแนวทางใน
การเลอื กสายสวนปัสสาวะในผหู้ ญิงและผู้ชาย ดังนี้

เพศหญงิ ใช้ขนาด 14-16 Fr. นิยมใชข้ นาด 14 Fr.
เพศชายใช้ขนาด 18-20 Fr. นยิ มใช้ขนาด 18 Fr.
สาหรับผู้ป่วยที่มีน้าปัสสาวะขุ่น อาจพิจารณาใช้สายสวนปัสสาวะท่ีมีขนาดใหญ่ข้ึนตามความ
เหมาะสม
สาหรบั ผ้ปู ว่ ยทม่ี ีเลือดออกหลังผา่ ตดั อาจมีเลือดปะปนพจิ ารณาใช้ขนาด 18-20 Fr.
1.3 เตรยี มอุปกรณ์การทาความสะอาดอวยั วะสบื พนั ธภุ์ ายนอก ได้แก่
- ชดุ ทาความสะอาดอวยั วะสืบพนั ธุภ์ ายนอก
- ถุงมอื สะอาด
- นา้ กลัน่ ปราศจากเชือ้
- สบู่

ภาพท่ี 2 อปุ กรณ์ทาความสะอาดอวยั วะสืบพันธุ์ภายนอก

2. วธิ ีการคาสายสวนปสั สาวะ 8

2.1 อธิบายให้ผู้ป่วยทราบความจาเป็นในการคาสายสวนปัสสาวะ และการปฏิบัติขณะทาการคา
สายสวนปัสสาวะ

2.2 ทาความสะอาดมือด้วยน้ากับสบผู่ สมนา้ ยาฆา่ เชื้อ โดยทาทุกครัง้ กอ่ นการคาสายสวนปัสสาวะ
วิธีการ คือ ใช้น้ากับสบู่ผสมน้ายาฆ่าเช้ือ 3-5 มิลลิลิตร ทั่วมือโดยใช้ฝ่ามือถูหลังมือทั้งสองข้าง
กางน้ิวมือแล้วถูง่ามนิ้วมือ ถูน้ิวมือ ข้อน้ิวมือด้านหลัง และหัวแม่มือทั้งสองข้าง ใช้ปลายนิ้วมือถูฝ่ามือทั้งสอง
ข้าง และถูรอบข้อมือทั้งสองข้าง แล้วล้างออกด้วยน้าสะอาดเช็ดด้วยกระดาษเช็ดมือ โดยใช้ระยะเวลาใน
การทาความสะอาดมอื รวม 40-60 วินาที

ภาพท่ี 3 ข้นั ตอนการทาความสะอาดมือ
2.3 นาชุดสวนปัสสาวะปราศจากเชื้อ ชุดทาความสะอาดอวัยวะสบื พนั ธ์ภุ ายนอก และอุปกรณ์ท่ีใช้ในการ
คาสายสวนปสั สาวะไปท่เี ตยี งผูป้ ว่ ย
2.4 จดั ท่านอนผปู้ ว่ ยใหเ้ หมาะสมสาหรับการคาสายสวนปัสสาวะ โดย
- ผหู้ ญงิ นอนหงายชันเขา่
- ผชู้ าย นอนหงายแยกขา

ภาพท่ี 4 ผูป้ ่วยหญิงนอนหงายชันเขา่ ผปู้ ว่ ยชายนอนหงายแยกขา

9

2. วธิ ีการคาสายสวนปสั สาวะ

2.5 สวมถุงมอื สะอาด
2.6 ทาความสะอาดบรเิ วณอวยั วะสบื พันธุ์ภายนอกดว้ ยน้ากบั สบู่

สาหรับผู้ปว่ ยหญงิ มขี ัน้ ตอนในการทาความสะอาดอวยั วะสบื พนั ธภ์ุ ายนอก ดงั ตอ่ ไปนี้
1) ใชค้ มี คีบสาลชี ุบนา้ กบั สบทู่ าความสะอาด ดังนี้
ขัน้ ตอนที่ 1 เช็ดบรเิ วณหวั หน่าวจากด้านบนลงด้านลา่ ง
ขน้ั ตอนท่ี 2 เช็ดบรเิ วณขาหนบี จนถึงต้นขาด้านไกลตัว
ขนั้ ตอนท่ี 3 เชด็ บรเิ วณขาหนีบจนถึงต้นขาด้านใกลต้ วั
ขัน้ ตอนที่ 4 เช็ดบรเิ วณแคมใหญแ่ ละแคมเล็กดา้ นไกลตวั โดยเชด็ จากดา้ นบนลงดา้ นล่าง
ขั้นตอนท่ี 5 เช็ดบรเิ วณแคมใหญแ่ ละแคมเล็กด้านใกลต้ วั โดยเช็ดจากดา้ นบนลงด้านล่าง
ข้ันตอนที่ 6 แหวกแคมใหญ่และแคมเล็กออกเชด็ บริเวณ clitoris และรเู ปิดทอ่ ทางเดนิ ปสั สาวะผ่าน
ลงมาถึงทวารหนกั
2) ใช้คีมคบี สาลชี บุ น้าสะอาดเช็ดสบอู่ อกใหห้ มดโดยทาเชน่ เดียวกับข้ันตอนที่ 1-6 แล้วใช้สาลี
สะอาดเชด็ ให้แห้ง

สาหรบั ผปู้ ว่ ยชาย มีขั้นตอนในการทาความสะอาดอวัยวะสืบพนั ธภ์ุ ายนอก ดังต่อไปน้ี
1) จับองคชาตยิ กขนึ้ รน่ หนงั หุ้มปลายออกใหเ้ หน็ รูเปดิ ท่อทางเดินปัสสาวะใช้คีมคีบสาลชี บุ น้ากับสบู่

ทาความสะอาด ดังน้ี
ขั้นตอนที่ 1 ทาความสะอาดเรม่ิ จากรอบรเู ปดิ ท่อทางเดินปสั สาวะ โดยเช็ดเปน็ วงกลมออกให้ทัว่
ขน้ั ตอนที่ 2 เชด็ บรเิ วณองคชาติจากสว่ นปลายมายงั โคนโดยรอบ
ขั้นตอนท่ี 3 เชด็ บรเิ วณสว่ นอณั ฑะดา้ นบนและดา้ นล่างให้ทวั่
ขัน้ ตอนท่ี 4 เชด็ บริเวณหวั หน่าวจากด้านบนลงด้านลา่ ง
ขน้ั ตอนที่ 5 เชด็ บริเวณขาหนีบจนถึงโคนขาด้านในดา้ นไกลตัว
ขน้ั ตอนท่ี 6 เชด็ บรเิ วณขาหนีบจนถึงโคนขาดา้ นในดา้ นใกลต้ วั
2) ใช้คีมคบี สาลชี บุ นา้ สะอาดเช็ดสบู่ออกใหห้ มด โดยทาแบบเดียวกับขั้นตอนท่ี 1-6 แลว้ ใชส้ าลสี ะอาด

เช็ดให้แหง้
การทาความสะอาดอวยั วะสืบพนั ธภุ์ ายนอกแต่ละข้ันตอนใช้สาลีก้อนใหม่และไมเ่ ชด็ ย้อนไปมา

2.7 ถอดถุงมือ และทาความสะอาดมือด้วยนา้ กับสบู่ผสมน้ายาฆา่ เช้ือ

10

2. วิธกี ารคาสายสวนปัสสาวะ

2.8 คาสายสวนปสั สาวะตามประเภทของผู้ปว่ ย

ผู้ป่วยเพศหญิง มีขั้นตอนการคาสายสวนปัสสาวะ ดงั นี้

1) วางชดุ สวนปัสสาวะปราศจากเชอ้ื ไว้ระหวา่ งขาของผูป้ ่วย

2) เปิดชดุ สวนปัสสาวะปราศจากเชอ้ื ด้วยวิธปี ราศจากเช้อื

3) เทนา้ กล่ันปราศจากเช้อื ลงบนสาลีในถว้ ยกลมให้สาลีเปยี ก

4) บบี สารหลอ่ ลนื่ ปราศจากเชอื้ ชนดิ ใช้ครง้ั เดยี วลงบนผ้าก๊อซ

5) สวมถุงมือปราศจากเชื้อ
6) ทดสอบการรัว่ ของบอลลูนของสายสวนปัสสาวะ
7) หล่อล่ืนสายสวนปัสสาวะด้วยสารหล่อลื่นปราศจากเช้ือชนิดใช้คร้ังเดียว ประมาณ 2-3 นิ้ว
แลว้ วางสายสวนปสั สาวะไว้ในภาชนะรองรับปัสสาวะ
8) ปผู า้ สเี่ หลีย่ มเจาะกลาง ดว้ ยเทคนคิ ปราศจากเชือ้
9) ใชค้ บี คีมสาลีชุบนา้ กล่ันปราศจากเชอื้ ทาความสะอาดอวัยวะสืบพนั ธภ์ุ ายนอก ตามลาดบั ดงั นี้

9.1 เช็ดแคมใหญ่ ดา้ นไกลตัวจากด้านบนลงด้านล่างและดา้ นใกล้ตวั จากด้านบนลงด้านลา่ ง
9.2 เชด็ แคมเล็กดา้ นไกลตวั จากด้านบนลงดา้ นลา่ ง และด้านใกล้ตัวจากด้านบนลงดา้ นลา่ ง
9.3 แหวกแคมเลก็ ออก และเช็ดรอบรเู ปิดท่อทางเดนิ ปัสสาวะ
10) ใช้คีมคีบสอดสายสวนปัสสาวะเข้าท่อรูเปิดทางเดินปัสสาวะอย่างช้า ๆ ลึกประมาณ 2-3 น้ิว
จนมีปสั สาวะไหลออกมา (ขณะสอดสายสวนปัสสาวะ ถ้าผู้ป่วยมีอาการเกร็ง แนะนาให้ผู้ป่วยผ่อนคลายโดยการ
หายใจเข้า-ออกลึก ๆ แล้วสอดสายสวนปัสสาวะเข้าไปใหม่ ถ้าไม่สามารถสอดสายสวนปัสสาวะเข้าไปได้ ให้
เปลี่ยนสายสวนปัสสาวะขนาดเล็กลง และถ้าไม่สามารถสอดสายสวนปัสสาวะเข้าไปได้อีกให้หยุดและรายงาน
แพทย์)

ภาพที่ 5 การคาสายสวนปสั สาวะในผู้หญิง

2. วธิ กี ารคาสายสวนปัสสาวะ 11

11) ภายหลังน้าปัสสาวะไหล แล้วเลื่อนสายสวนปัสสาวะเขา้ ไปให้ลึกอกี 1-2 นว้ิ ใช้กระบอกฉีดยาที่บรรจุ
น้ากล่ันปราศจากเชอ้ื ดนั น้าเขา้ ลกู โป่งสายสวนปสั สาวะ 10-20 มิลลิลติ ร (สว่ นมากใช้ 10 มลิ ลิลติ ร) แลว้ คอ่ ย ๆ
ดงึ สายสวนปัสสาวะออกจนลูกโป่งตรงึ กระชบั กับสว่ นล่างของกระเพาะปสั สาวะพอดี

ภาพที่ 6 การฉีดน้าเข้าลกู โป่งและการตรงึ กระชบั ลูกโปง่ กับสว่ นลา่ งของกระเพาะปสั สาวะ

12) จับส่วนปลายของสายสวนปัสสาวะไว้แล้วเอาผ้าสี่เหล่ียมเจาะกลางออก แล้วต่อสายสวนปัสสาวะ
เขา้ กบั ทอ่ ทต่ี ่อลงถุงรองรับปัสสาวะ แลว้ จัดให้ถุงรองรับปสั สาวะอยตู่ ่ากวา่ ระดับกระเพาะปัสสาวะ

13) ใชค้ ีมคบี สาละอาดเช็ดบรเิ วณอวัยวะสืบพนั ธุภ์ ายนอกให้สะอาดและแหง้
14) ยดึ ตรงึ สายสวนปัสสาวะดว้ ย พลาสเตอร์ให้ตรึงสายสวนปัสสาวะท่ีบริเวณโคนขาด้านในของผู้ป่วย
ไม่ให้หย่อนห15ร)ือแตขึงเวกนินถไงุปรองรับปัสสาวะไว้ข้างเตียง ในระดับทต่ี า่ กวา่ กระเพาะปัสสาวะของผู้ปว่ ย

ภาพที่ 7 การยดึ ตรงึ สายสวนปสั สาวะในผหู้ ญิง
ภาพที่ 8 แสดงการแขวนถุงรองรับปัสสาวะท่ีถกู ต้อง

2. วิธีการคาสายสวนปสั สาวะ 12

ผ้ปู ่วยชาย มีข้นั ตอนการคาสายสวนปัสสาวะ ดงั นี้

1) วางชดุ สวนปัสสาวะปราศจากเชือ้ ไว้ระหวา่ งขาของผูป้ ่วย

2) เปดิ ชดุ สวนปสั สาวะปราศจากเชอ้ื ด้วยวธิ ปี ราศจากเชอ้ื

3) เทนา้ กลน่ั ปราศจากเช้อื ลงบนสาลใี นถ้วยกลมให้สาลีเปยี ก

4) บีบสารหลอ่ ลืน่ ปราศจากเชอื้ ชนิดใชค้ รั้งเดียวลงบนผ้ากอ๊ ซ

5) สวมถงุ มอื ปราศจากเช้ือ

6) ทดสอบการรัว่ ของบอลลูนของสายสวนปัสสาวะ

7) หล่อลื่นสายสวนปัสสาวะด้วยสารหล่อลื่นปราศจากเชื้อชนิดใช้คร้ังเดียว ประมาณ 5-8 น้ิว แล้ววาง
สายสวนปัสสาวะไว้ในภาชนะรองรบั ปสั สาวะ

8) ปูผ้าสี่เหล่ียมเจาะกลางด้วยเทคนิคปราศจากเช้ือ ให้องคชาติอยู่ตรงกลางช่อง และใช้ผ้าก๊อชจับ
องคชาติยกขน้ึ

9) ใชค้ ีมคีบสาลีชบุ น้ากลน่ั ปราศจากเชอ้ื ความสะอาดอวยั วะสบื พันธ์ุภายนอก ตามลาดับดังนี้
9.1 รน่ หนงั หุ้มปลายลงแล้วทาความสะอาดบริเวณรเู ปิดท่อทางเดินปัสสาวะ โดยเช็ดเป็นวงกลมออก

ใหท้ ว่ั
9.2 เชด็ บริเวณองคชาติจากดา้ นบนลงดา้ นล่าง

10) ยกองคชาติ 60-90 องศากับหน้าขา และสอดสายสวนปัสสาวะด้วยนิ้วหัวแม่มือและน้ิวชี้ แล้วสอด
สายสวนปัสสาวะเข้ารูเปิดท่อทางเดินปัสสาวะอย่างช้า ๆ ลึกประมาณ 5-8 นิ้วในผู้ใหญ่หรือจนปัสสาวะไหลออก
สะดวกดี (ขณะสอดสายสวนปัสสาวะ ถ้าผู้ป่วยมีอาการเกร็ง แนะนาให้ผู้ป่วยผ่อนคลายโดยการหายใจเข้า-ออก
ลึก ๆ แล้วสอดสายวนปัสสาวะเข้าไปใหม่ ถ้าไม่สามารถสอด สายสวนปัสสาวะเข้าไปได้ ให้เปลี่ยนสายสวน
ปัสสาวะขนาดเล็กลง และถ้าไมส่ ามารถสอดสายสวนปสั สาวะเข้าไปได้อีก ใหห้ ยุดและรายงานแพทย์)

ภาพที่ 9 การคาสายสวนปัสสาวะในผชู้ าย

11) ภายหลงั น้าปัสสาวะไหล แล้วเล่ือนสายสวนปัสสาวะเข้าไปให้ลึกอีก 1-2 นิ้ว ใช้กระบอกฉีดยา
ปราศจากเช้ือท่ีบรรจุน้ากลั่นปราศจากเชื้อดันน้าเข้าลูกโป่งสายสวนปัสสาวะ 10-15 มิลลิลิตร (ส่วนมากใช้
10 มิลลิลิตร) แลว้ ค่อย ๆ ดึงสายสวนปัสสาวะออกจนรู้สึกลูกโป่งตรึงกระชับกับส่วนล่างของกระเพาะปัสสาวะ
พอดี เพือ่ ทดสอบการเล่ือนหลุด

12) จับส่วนปลายของสายสวนปัสสาวะไว้แล้วเอาผ้าสี่เหล่ียมเจาะกลางออก แล้วต่อสายสวน
ปสั สาวะเขา้ กับทอ่ ทต่ี ่อลงถงุ รองรับปัสสาวะ แล้วจดั ใหถ้ งุ รองรบั ปัสสาวะอยูต่ า่ กว่าระดับกระเพาะปสั สาวะ

13) ใชค้ ีมคีบสาละอาดเช็ดรูเปดิ ท่อปัสสาวะ และองคชาติให้สะอาด แล้วดึงหนังหุ้มปลายเข้าที่เดิม
หลงั จากนั้นเช็ดบริเวณอนื่ ใหส้ ะอาดและแห้ง

13

วธิ ีการคาสายสวนปสั สาวะ

14) ยึดตรึงสายสวนปัสสาวะด้วยพลาสเตอร์บริเวณหน้าขาหรือหน้าท้องของ
ผปู้ ว่ ย โดยไมใ่ หต้ งึ หรอื หยอ่ นเกินไป

ภาพท่ี 10 การยึดตรงึ สายสวนปสั สาวะในผูช้ าย
15) แขวนถุงรองรับปัสสาวะไว้ขา้ งเตียง ในระดับทต่ี า่ กวา่ กระเพาะปสั สาวะของผู้ปว่ ย

ภาพท่ี 11 การแขวนถุงรองรับปัสสาวะท่ีถูกตอ้ ง

2.9 แจง้ ให้ผปู้ ว่ ยทราบว่าการคาสายสวนปสั สาวะเสรจ็ แล้ว
2.10 เปล่ียนเส้ือผ้า และผา้ ปทู ีน่ อนให้ผู้ป่วยถ้าเปยี กชื้น
2.11 จัดท่าให้ผ้ปู ว่ ยในทา่ ทีส่ ุขสบาย
2.12 สงั เกตสี ลกั ษณะ และตวงปัสสาวะ
2.13 เก็บเครอื่ งใชน้ าไปทาความสะอาดและเก็บใหเ้ รยี บร้อย
2.14 ทาความสะอาดมือดว้ ยน้ากบั สบู่ผสมน้ายาฆ่าเชื้อ

14

3. การดแู ลสายสวนปสั สาวะ

3.1 ทาความสะอาดมอื ด้วยน้ากบั สบ่กู ่อนและหลังสมั ผัสสายสวนปัสสาวะและถุงรองรับปสั สาวะ หรือเมื่อต้องการ
ทาความสะอาดอวยั วะสืบพันธภุ์ ายนอก รวมถึงทาความสะอาดมือกอ่ นและหลังการถอดถุงมอื ทุกครง้ั

วิธีการ คือ ใช้น้ากับสบู่ ฟอกมือให้ทั่วมือ โดยใช้ฝ่ามือถูกัน ใช้ฝ่ามือถูหลังมือท้ังสองข้าง กางน้ิวมือแล้ว
ถูงา่ มน้ิวมือ ถนู ว้ิ มือ ขอ้ น้ิวมอื ด้านหลงั และหวั แม่มอื ทั้งสองข้าง ใชป้ ลายนิ้วถฝู า่ มือทั้งสองข้าง และถูรอบข้อมือทง้ั
สองขา้ ง แล้วล้างออกด้วยนา้ สะอาด เชด็ ด้วยผ้าสะอาดหรือกระดาษเช็ดมือ โดยใช้ระยะเวลาในการถูมอื อยา่ งน้อย
20 วินาที

กรณีที่มือไม่ปนเป้ือน อาจใช้แอลกอฮอล์เจล ปริมาตรอย่างน้อย 3 มิลลิลิตร ถูให้ท่ัวมือโดยการถูมือให้
ปฏบิ ตั เิ ชน่ เดียวกับการลา้ งมือดว้ ยนา้ กับสบ่โู ดยใชร้ ะยะเวลาถูมือ 20-30 วินาที หรอื ใหแ้ อลกอฮอลร์ ะเหยจนแหง้

ภาพที่ 12 การทาความสะอาดมอื ด้วยแอลกอฮอล์เจล

3.2 ดูแลสายสวนปัสสาวะให้เป็นระบบปิดตลอดเวลา และให้ปัสสาวะไหลลงสู่ถุงรองรับปัสสาวะได้
สะดวก สายสวนปัสสาวะไม่หักพับงอหรืออุดตัน จัดสายสวนปัสสาวะให้ลาดลงจากท่อปัสสาวะสู่
ถงุ รองรับปสั สาวะที่แขวนไว้ต่ากวา่ ระดบั กระเพาะปสั สาวะ

ถ้ามีการเคล่ือนย้ายผู้ป่วยให้หนีบสายสวนปัสสาวะ ป้องกันการไหลย้อนกลับของน้าปัสสาวะ
ระหวา่ งการเคล่อื นยา้ ย เม่ือถงึ ทาการเปดิ สายสวนปสั สาวะทนั ที

ภาพท่ี 13 อุปกรณ์การหนีบสายสวนปสั สาวะระหว่างการเคล่ือนย้าย

15

การดแู ลสายสวนปัสสาวะ

3.3 เทปัสสาวะออกเมอ่ื มนี ้าปสั สาวะประมาณ ¾ ของถุงรองรับปสั สาวะ หรือในระยะเวลาท่ีกาหนด

ภาพที่ 14 แสดงปรมิ าณน้าปัสสาวะทีค่ วรเทปัสสาวะออก
3.4 หากถุงรองรับปัสสาวะหรอื สายต่อร่ัวให้เปล่ยี นถุงรองรบั ปสั สาวะและสายใหม่ทั้งชดุ
3.5 การเทปัสสาวะใช้สาลีชุบ 70% แอลกอฮอล์ เช็ดปลายท่อปัสสาวะก่อนและหลังเทปัสสาวะ ระมัดระวัง
ไมใ่ ห้ท่อเปิดเทปสั สาวะสมั ผัสกับภาชนะรองรบั ปัสสาวะ

ภาพที่ 15 การเทปสั สาวะ

3.6 ทาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ุด้วยน้ากับสบู่อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น และหลังถ่ายอุจจาระ
ทกุ ครัง้
3.7 ตรวจสอบการยึดตรึงของสายสวนปัสสาวะท่ีหน้าขา หน้าท้อง เพ่ือป้องกันการเล่ือนเข้า-ออก และตรวจสอบ
การอุดตันหรือการรั่วของสายสวยปัสสาวะทุกคร้ังท่ีมีกิจกรรมการดูแลเก่ียวกับสายสวนปัสสาวะ หรือทุกครั้งท่ี
พลกิ ตะแคงตัว
3.8 กรณที ีม่ ีการอุดตนั ของสายสวนปสั สาวะ ไมแ่ นะนาให้สวนล้างกระเพาะปสั สาวะ ควรเปลี่ยนสายสวนปัสสาวะ
ทั้งระบบ
3.9 การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ ไม่ควรปฏิบัติเป็นประจา เมื่อจาเป็นต้องสวนล้างกระเพาะปัสสาวะเพ่ือการ
รกั ษา ควรสวนล้างกระเพาะปสั สาวะด้วยระบบปิดโดยใช้เทคนิคปราศจากเช้ือ
3.10 ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้นาน ควรพิจารณาสวนปัสสาวะแบบคร้ังคราว (intermittent
catheterization)
3.11 ไม่ต้องเปลี่ยนสายสวนปัสสาวะและถุงรองรับปัสสาวะเป็นประจา ให้พิจารณาเปล่ียนสายสวนปัสสาวะและ
ถงุ รองรับปสั สาวะในกรณีทมี่ ีการอุดตนั หรือร่ัว

16

4. การเปล่ยี นสายสวนปสั สาวะและถงุ รองรบั ปสั สาวะ

4.1 เปลี่ยนสายสวนปัสสาวะเมื่อมีการอุดตันหรือรั่ว กรณีสายต่อรั่วให้เปล่ียนท้ังสายสวนปัสสาวะและ
ถุงรองรบั ปัสสาวะใหม่
4.2 เปลี่ยนสายสวนปัสสาวะและถุงรองรับปัสสาวะ เม่ือมีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ ปัสสาวะขุ่น
มตี ะกอน หรอื มกี ลน่ิ เหมน็ ผดิ ปกติ
4.3 เวลาในการเปล่ียนสายสวนปัสสาวะท่ีเหมาะสม คือ ระยะเวลานานที่สุดที่ไม่มีหินปูนเกาะมากจนเป็น
อุปสรรคต่อการดงึ สายสวนปสั สาวะออก

ข้นั ตอนการถอดสายสวนปัสสาวะออก มรี ายละเอยี ดดงั น้ี
1. ควรถอดสายสวนปัสสาวะออกทันทเี มื่อหมดข้อบ่งชี้
2. ทาความสะอาดมือ ด้วยน้ากับสบู่ผสมนา้ ยาฆ่าเช้ือกอ่ นถอดสายสวนปสั สาวะ
3. เตรียมอุปกรณ์ในการถอดสายสวนปัสสาวะให้พร้อม ได้แก่ ถุงมือสะอาด กระบอกฉีดยา

ปราศจากเชอื้ ขนาด 10 มลิ ลลิ ิตร
4. อธิบายให้ผู้ป่วยทราบเหตุผลในการถอดสายสวนปัสสาวะ เพ่ือให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือ และลด

ความวติ กกงั วล
5. ทาความสะอาดอวัยวะสบื พนั ธ์ุภายนอกดว้ ยนา้ กบั สบกู่ ่อนถอดสายสวนปัสสาวะ
6. สวมถุงมือสะอาด ต่อกระบอกฉีดยาปราศจากเช้ือกับปลายสายสวนปัสสาวะทางหางที่เป็นแถบสี

ดูดน้ากลั่นปราศจากเช้ือออกจากบอลลูนจนหมด ปลดกระบอกฉีดยาปราศจากเชื้อ ไม่จาเป็นต้องหักสายสวน
ปัสสาวะ แล้วดึงสายสวนปัสสาวะออกอย่างนุ่มนวล ตรวจสอบปลายสายสวนปัสสาวะหากพบความผิดปกติ
รายงานแพทย์

7. ทาความสะอาดอวัยวะสืบพนั ธภุ์ ายนอกดว้ ยน้ากับสบูอ่ ีกคร้งั หลังถอดสายสวนปัสสาวะ
8. ทิ้งสายสวนปัสสาวะและถงุ รองรบั ปสั สาวะในถงั ขยะติดเช้ือ ถอดถุงมือ และทาความสะอาดมือด้วย
นา้ กบั สบู่ผสมนา้ ยาฆ่าเชื้อ

ภาพท่ี 16 การตอ่ กระบอกฉีดยาปราศจากเชอื้ กบั ปลายสายสวนปสั สาวะ

17

สงิ่ ที่ไม่ควรปฏบิ ัติ

1. การใส่ยาต้านจลุ ชีพหรือนา้ ยาฆ่าเชือ้ เข้าถงุ รองรบั ปัสสาวะ
2. ทาความสะอาดอวยั วะสืบพนั ธด์ ้วยน้ายาฆา่ เชื้อ
3. การส่งปัสสาวะตรวจ และ/หรือ เพาะเช้ือในผู้ป่วยที่ไม่มีอาการของการ
ตดิ เช้อื ระบบทางเดนิ ปสั สาวะ
4. การสวนลา้ งกระเพาะปัสสาวะ โดยไม่มีขอ้ บง่ ช้ี
5. การใหย้ าต้านจลุ ชพี เพ่ือปอ้ งกนั การติดเชอ้ื
6. การเปลี่ยนสายสวนปสั สาวะและชดุ ระบายนา้ ปสั สาวะเป็นประจา (routine)
7. การส่งปลายสายสวนปสั สาวะเพาะเชอื้

18

5. การเก็บปสั สาวะเพ่ือส่งตรวจเพาะเช้อื

5.1 ทาความสะอาดมือด้วยน้ากับสบู่ผสมน้ายาฆา่ เช้ือ

5.2 เกบ็ ปัสสาวะสง่ ตรวจเพาะเชอ้ื ด้วยเทคนิคปราศจากเชอื้

5.3 ใช้ตัวหนีบหนีบสายต่อถุงรองรับปัสสาวะตาแหน่งใกล้กับสายสวนปัสสาวะนานประมาณ
15 – 30 นาที หรือตามบริบทของผู้ป่วยแตล่ ะราย

5.4 สวมถุงมือสะอาด
5.5 ทาความสะอาดบริเวณปลายสายสวนปัสสาวะบริเวณตาแหน่งที่จะดูดน้าปัสสาวะ ด้วยน้ายาฆ่า
เชอ้ื ระดับปานกลาง
5.6 ต่อเข็มเบอร์ 23 - 25 กับกระบอกฉีดยาปราศจากเชื้อขนาด 10 มิลลิลิตร ดูดน้าปัสสาวะบริเวณ
ตาแหน่งท่ีเชด็ ทาความสะอาด ดว้ ยเทคนคิ ปราศจากเช้อื
5.7 หลังเก็บปัสสาวะ เช็ดทาความสะอาดบริเวณท่ีเก็บน้ายาฆ่าเช้ือระดับปานกลาง และปลดตัวหนีบ
ออก
5.8 ปลดเขม็ ออก คอ่ ยดนั นา้ ปัสสาวะลงในภาชนะเก็บปสั สาวะส่งตรวจปราศจากเชอ้ื
5.9 ถอดถงุ มือ แล้วทาความสะอาดมือด้วยนา้ กับสบู่ผสมน้ายาฆา่ เชอ้ื

ภาพที่ 17 การเกบ็ ปัสสาวะเพื่อสง่ ตรวจเพาะเชอ้ื

19

เอกสารอ้างอิง

กองการพยาบาล สานกั ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ . (2561). รายงานขอ้ มลู สาคัญด้านการพยาบาล ปงี บประมาณ 2556 – 2560. ระบบ
สารสนเทศทางการพยาบาล. http:/don.go.th/ITNurse/Report2556-2560.pdf

โรงพยาบาลท่ัวไปแหง่ หนึ่งในประเทศไทย. (2564). รายงานการตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาล ปี งบประมาณ 2561-2563. งานป้องกนั การ
ติดเชอ้ื และการควบคุมการติดเชอ้ื ในโรงพยาบาล.

สถาบนั บาราศนราดรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ . (2561). คู่มือวนิ ิจฉยั การติดเชอื้ ในโรงพยาบาล. สานักพมิ พ์อกั ษรกราฟฟคิ
แอนดด์ ไี ซน์.

สถาบันบาราศนราดูร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ . (2563). แนวปฏิบตั ิเพ่อื ป้องกนั และควบคุมการตดิ เช้ือในโรงพยาบาล.
สานักพิมพอ์ กั ษรกราฟฟคิ แอนด์ดไี ซน์.

อะเคอ้ื อุณหเลขกะ. (2556). ระบาดวทิ ยาและแนวปฏิบตั ใิ นการป้องกนั การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล. มงิ่ เมืองนวรตั น.์
Agency for Healthcare Research and Quality. (2017). Urinary catheter types and care for residents with catheters.

Retrieved from https://qrgo.page.link/KWyAj
Centers for Disease Control and Prevention. (2019).Guideline for Prevention of Catheter - Associated Urinary Tract

Infections (2009) (last update June 6, 2019). http:// Guideline for prevention of catheter-associated
urinary tract infections (2009) (cdc.gov)
Kotikula, I., & Chaiwarith, R. (2018). Epidemiology of catheter-associated urinary tract infections at Maharaj nakorn
Chiang mai hospital, northern Thailand. Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health,
49(1), 113-122.
Mitchell, B. G., Ferguson, J.K., Anderson, M., Sear, J., & Barnett, A. (2016). Length of stay and mortality associated
with urinary tract infections: a multi-state model. Journal of Hospital Infection, 93(1), 92-99.
Oumer, Y., Regasa Dadi, B., Seid, M., Biresaw, G., & Manila, A. (2021). Catheter-associated urinary tract Infection:
incidence, associated factors, and drug resistance patterns of bacterial isolates in Southern Ethiopia.
Infection and Drug Resistance, 14, 2883-2894.
Perrin, K., Vats, A., Qureshi, A., Hester, J., Larson, A., Felipe, A., Sleiman, A., Baron – Lee, J., & Busl, K. (2021).
Catheter-associated urinary tract infection (CAUTI) in the neuroICU: Identification of risk factors and
time -to -CAUTI using a case -control design. Neurocritical Care Society, 34, 271 – 278.

20

เอกสารอา้ งอิง

Perrin, K., Vats, A., Qureshi, A., Hester, J., Larson, A., Felipe, A., Sleiman, A., Baron-Lee, J., & Busl, K. (2021). Catheter-associated
urinary tract infection (CAUTI) in the neuroICU: identification of risk factors and time-to-CAUTI using a case-control design.
Neurocritical Care Society, 34, 271-278.

Rosenthal, D. V., Al-Abdely, M. H., El-Kholy, A. A., Alkhawaja, A. S., Leblebicioglu, H., Mehte, Y., Rai, V., Viet, H. N., Sami, K. S., Salama,
F. M., Salgado-Yepez, E., Elahi, N., Otero, M. R., Apisarnthanarak, A., Carvalho, B., Ider, E. B., Fisher, D., Buenaflor, C. M.,
Petrov, M. M., …, Kushner-Davalos, L. (2020). International nosocomial infection control consortium report, data summary
of 45 countries for 2012-2107: device-associated module. American Journal of Infection Control, 48(4), 423-432.

Shepard, J., Frederick, J., Wong, F., Madison, S., Tompkins, L., & Hadhaszy, E. (2020). Could the prevention of health care-associated
infections increase hospital cost? the financial impact of health care-associated infections from a hospital management
perspective. American Journal of Infection Control, 48(3), 255-260.

Simon, A. K., Hollander, G. A., & McMichael, A. (2015). Evolution of the immune system in humans from infancy to old age.
Proceedings of the royal society B biological sciences, 282(1821), 1-9.

Teymourzadeh, E., Bahadori, M., Fattahi, H., Rahdar, H., Mirzaei Moghadam, S., & Shokri, A. (2021). Prevalence and predictive factors
for nosocomial infection in the Military Hospitals: a systematic review and meta-analysis. Iran Journal of Public Health,
1(50), 58-68.

Weiner-Lastinger, M. L., Abner, S., Edwards, R. J., Kallen, J. A., Karlsson, M., Magill, S. S., Pollock, D., See, I., Soe, M. M., Walters, S. M.,
& Dudeck, A. M. (2020). Antimicrobial-resistant pathogens associated with adult healthcare-associated infections: Summary
of data reported to the national healthcare safety network, 2015-2017. Infection Control & Hospital Epidemiology, 41(1),
1-18.

Yongzhi, L., Shi, Y., Jia, L., Yili, L., Xingwang, Z., & Xue, G. (2018). Risk factors for urinary tract infection in patients with urolithiasis-
primary report of a single center cohort. BMC Urology, 18(45), 1-6.


Click to View FlipBook Version