The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by por_14422, 2021-12-30 02:27:11

แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษต

แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษต

ศูนย์ติดตามและแกไ้ ขปัญหาภัยพบิ ตั ดิ ้านการเกษตร จังหวดั อ่างทอง
จดั ทำโดย “สำนกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั อา่ งทอง” ธนั วาคม 2564

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง

คำนำ

ตามท่ีกรมอุตุนิยมวิทยาประกาศสนิ้ สุดฤดูฝนและเริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว เมอ่ื วนั ที่ 2 พฤศจิกายน 2564
ในชว่ งต้นฤดูหนาว ชว่ งเดือนพฤศจิกายน 2564 ถงึ ปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2565 โดยฤดหู นาวของประเทศไทยปีน้ี
คาดว่า บริเวณประเทศไทยตอนบน จะเริ่มต้นในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 ซึ่งช้ากว่าค่าเฉลี่ยปกติประมาณ
2 สัปดาห์และจะสิ้นสุดประมาณปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2565 อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยประเทศไทยตอนบน 20 – 21
องศาเซลเซียส ซึ่งจะสูงกว่าค่าปกติประมาณ 0.5 องศาเซลเซียส (ค่าปกติ 19.9 องศาเซลเซียส) และจะมีอากาศ
หนาวเย็นใกลเ้ คยี งปที ี่ผ่านมา (อณุ หภูมิตำ่ สดุ เฉลี่ยปีท่ผี ่านมา 20.2 องศาเซลเซยี ส) สำหรับบรเิ วณยอดดอยและยอด
ภรู วมท้งั เทอื กเขาจะมีอากาศหนาวถึงหนาวจัดและจะมีน้ำค้างแข็งเกิดขึ้นได้ สว่ นบรเิ วณภาคใตจ้ ะมอี ากาศเย็นบางแห่ง
ในบางวันสว่ นมากตอนบนของภาค และยงั คงมีฝนตกชุกหนาแน่นต่อไป สำหรับสถานการณ์น้ำของประเทศไทย ในปี
2564 มีปริมาณน้ำต้นทุนทั้งประเทศมากกว่า ปี 2563 ร้อยละ 46 จึงคาดการณ์ว่าสถานการณ์ภัยแล้ง ในปี
2564/65 ไม่ส่งผลกระทบรุนแรง โดยสามารถวางแผนการบริหารจัดการน้ำแบบยั่งยืน ให้สอดคล้องกับปริมาณน้ำ
ต้นทุน สนับสนุนการใช้น้ำทุกกิจกรรมในพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึงและพอเพียง สำหรับภาคใต้จะยังคงมีฝนตกชุก
หนาแน่นทางฝั่งตะวันออกของภาคตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป โดยเฉพาะในช่วงเดือนตุลาคมถึงต้นเดือนมกราคม
จะมีฝนตกชุกหนาแน่นเกือบทั่วไปกับมีฝนตกหนักหลายพื้นท่ีและหนักมากในบางแห่ง ซึ่งจะก่อให้เกิดสภาวะน้ำท่วม
ฉบั พลนั น้ำป่าไหลหลาก และนำ้ ลน้ ตล่งิ ในบางแหง่

ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและลดผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้ง
ที่จะเกิดขึ้นต่อภาคการเกษตร จังหวัดอ่างทองจึงได้จัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตร
ในช่วงฤดูแล้ง ปี 2564/65 สำหรับใช้เป็นกรอบแนวทางการดําเนินงานของส่วนราชการ ในการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร และเตรียมการให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกร
ทอี่ าจไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณภ์ ยั แลง้ ใหเ้ ป็นไปอย่างรวดเร็วและมปี ระสทิ ธิภาพ

กล่มุ งานช่วยเหลือเกษตรกรและโครงการพิเศษ
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง
ธนั วาคม 2564

กษ.จว.อท.

แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดูแล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง

สารบญั

สว่ นท่ี หนา้

1. ข้อมูลท่วั ไปของจงั หวัดอ่างทอง 1
- สภาพพ้นื ที่ 2
- ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ 2
- ลกั ษณะภูมิอากาศ 3
- ข้อมลู ด้านการเกษตร 3
- แหลง่ น้ำธรรมชาตทิ ีส่ ำคัญ 3
- แหล่งน้ำชลประทาน 4
- สถานการณน์ ำ้ 4
- บ่อบาดาลของจงั หวัดอ่างทอง 5
6
2. กรอบการดำเนินงานตามแผนป้องกันและเผชิญเหตภุ ยั แลง้ ปี 2564/65 7
- กรอบแนวคิด 7
- การประเมินความเส่ยี ง 7
- การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย 8
- การป้องกันและลดผลกระทบ 8
- การเตรียมความพรอ้ ม 8
- การจดั การในภาวะฉุกเฉนิ 8
- การฟน้ื ฟูและสรา้ งใหม่ใหด้ ีกวา่ เดมิ 9
- แนวโน้มสถานการณ์ 9
- มาตรการรองรับสถานการณ์ขาดแคลนนำ้ ฤดูแลง้ ปี 2564/65 15
17
3. กระบวนการแจง้ เตอื น 18
4. สถานการณ์ความเส่ียงและพื้นท่เี ฝ้าระวังดา้ นการเกษตร ปี 2564/65 18
19
- ด้านพืช 20
- ดา้ นประมง 21
-ด้านปศสุ ตั ว์ 21
5.แผนการจดั สรรน้ำในช่วงฤดแู ลง้ ปี 2564/65 22
- โครงการชลประทานอ่างทอง 22
- โครงการสง่ น้ำและบำรุงรักษายางมณี 22
- โครงการสง่ นำ้ และบำรุงรักษาชัณสูตร 23
- โครงการส่งน้ำบำรงุ รกั ษามหาราช 24
- โครงการส่งน้ำและบำรงุ รักษาสามชกุ
- โครงการสง่ น้ำบำรุงรกั ษาผักไห่
6. แผนการเพาะปลูกพืชฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง

กษ.จว.อท.

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ลง้ ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง

สารบญั (ตอ่ )

สว่ นท่ี หนา้

7. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 26
ของจงั หวดั อา่ งทอง
(การดำเนินงานตามกรอบการดำเนนิ งานตามภารกิจของหนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ 27
การประเมนิ ความเส่ยี ง (Risk Assessment), การป้องกันและลกผลกระทบ 27
(Prevention & Mitigation), การจัดการในภาวะฉกุ เฉิน(Emergency Management), 31
การฟ้ืนฟูท่ดี ีกวา่ (Recovery be back better)) 32
- การเตรียมรับสถานการณ์ (ดา้ นพืช) 33
- การเตรียมการสถานการณ์ (ด้านประมง) 34
- การเตรยี มการสถานการณ์ (ด้านปศสุ ตั ว)์ 35
- การเตรยี มรบั สถานการณ์ ด้านนำ้ (ชลประทาน) 36
- สำนักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดอา่ งทอง 36
- สถานีพฒั นาทดี่ นิ อา่ งทอง 37
- สำนกั งานการปฏิรปู ที่ดินจงั หวดั อ่างทอง 38
- สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง 40
- สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณอ์ า่ งทอง 42
- สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรเขต 7 44
45
8. การติดตามและประเมินผล 53
9. บญั ชียานพาหนะ เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ เครื่องใช้ 70
10. ผปู้ ระสานงานและช่องทางการติดตอ่ 73
ภาคผนวก
76
- แผนงาน/โครงการ เพ่ือการป้องกันและเผชิญเหตุภยั แล้งด้านการเกษตร
- รายงานแหลง่ น้ำ ลุ่มนำ้ เจา้ พระยา 78
- คำส่งั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- กรอบการจดั ทำแผนป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตร ในชว่ งฤดูแลง้
ปี 2564/65 ระดบั จังหวัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ภาพการประชมุ คณะกรรมการศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภยั พบิ ัตดิ า้ นการเกษตร
จงั หวัดอ่างทอง
- คณะทำงาน

กษ.จว.อท.

แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดูแลง้ ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 1

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไปของจังหวดั อ่างทอง

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไปของจงั หวัดอา่ งทอง

แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จังหวัดอ่างทอง 2

สว่ นที่ 1
ข้อมูลทั่วไป

สภาพทางภูมศิ าสตร์

1. สภาพพื้นที่

จังหวัดอ่างทองเป็นพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง พิกัดภูมิศาสตร์เส้นรุ้งที่ 14 องศา 35 ลิปดา
12 พิลิปดาเหนือ เส้นแวงที่ 100 องศา 27 ลิปดา ห่างจากรุงเทพมหานครมาตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
32 (บางปะอิน-พยุหะคีรี) ระยะทางประมาณ 105 กิโลเมตร และเส้นทางเรือตามแม่น้ำเจ้าพระยาถึงตลาดท่า
เตียน ระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร มีรูปร่างลักษณะคล้ายรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีส่วนกว้างตามแนวทิศ
ตะวนั ออกถึงทิศตะวนั ตก และส่วนยาวตามแนวทิศเหนือถึงทศิ ใต้ใกล้เคียงกนั คอื ประมาณ 40 กิโลเมตร มีพื้นท่ี
ท้งั หมด 968.372 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 605,232.5 ไร่ โดยมีอาณาเขต ดงั นี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอคา่ ยบางระจนั อำเภอพรหมบรุ ี และอำเภอท่าชา้ ง
จงั หวดั สงิ ห์บรุ ี และอำเภอทา่ วุ้ง จงั หวดั ลพบุรี

ทิศใต้ ติดต่อกบั อำเภอผกั ไห่ และอำเภอบางบาล จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับ อำเภอบางปะหัน อำเภอมหาราช และอำเภอบ้านแพรก

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทิศตะวนั ตก ติดต่อกับ อำเภอเมอื งสพุ รรณบรุ ี อำเภอศรปี ระจนั ต์ อำเภอสามชุก

และอำเภอเดมิ บางนางบวช จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

2. ลักษณะภมู ิประเทศ
จังหวัดอ่างทอง มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ลักษณะคล้ายอ่างไม่มีภูเขา

ไม่มีป่าไม้ ดินเป็นดินเหนียวปนทราย พื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การทำนาข้าว ทำไร่ และทำสวน มีแม่น้ำสายสำคัญ
ไหลผ่าน 2 สาย คือ แม่น้ำเจ้าพระยา และแม่น้ำน้อย โดยแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านจังหวัดอ่างทอง จากทิศเหนือ
ไปทศิ ใต้ ระยะทางยาวประมาณ 40 กิโลเมตร ไหลผา่ นท้องที่อำเภอไชโย อำเภอเมอื งอ่างทอง และอำเภอป่าโมก
จากน้นั ไหลเข้าสเู่ ขตท้องท่ีอำเภอบางปะหัน จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา สว่ นแมน่ ้ำน้อยเป็นแม่น้ำท่ีแยกจากแม่น้ำ
เจ้าพระยาที่อำเภอเมืองชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง ในเขตพื้นที่อำเภอ

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปของจังหวัดอา่ งทอง

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 3

โพธิ์ทอง อำเภอวิเศษชัยชาญ ไปบรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยาอกี ครั้งหน่ึงที่จังหวัดพระนครศรอี ยุธยารวมระยะทาง
ทีไ่ หลผา่ นจังหวัดอ่างทองยาวประมาณ 50 กโิ ลเมตร
3. ลักษณะภมู ิอากาศ

เนื่องจากจังหวัดอ่างทองตั้งอยู่ในเขตพื้นที่รอ้ นชุ่มชื้น ดังนั้น ภูมิอากาศจึงเป็นแบบฝนเมืองร้อน
โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ทำให้อากาศ
หนาวเย็น และแห้งแล้ง และได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน
ทำให้มีเมฆมากและมีฝนตกชุก

ฤดูกาล แบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ
ฤดูร้อน เริม่ ตั้งแตเ่ ดอื นมีนาคม - พฤษภาคม
ฤดฝู น เริ่มตง้ั แตเ่ ดือนมิถนุ ายน - ตุลาคม
ฤดหู นาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - กมุ ภาพันธ์
4. ข้อมูลดา้ นการเกษตร
การเพาะปลูก
จังหวัดอา่ งทอง มีพื้นท่ีท้ังหมด 605,233 ไร่ มพี ื้นท่กี ารเกษตร 434,718 ไร่ ร้อยละ 71.83
ของพื้นที่ท้งั หมด พื้นที่การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจทีส่ ำคญั คือ พืน้ ทป่ี ลูกขา้ ว พืชไร่ และออ้ ย
การเล้ยี งสัตว์
การเลย้ี งสัตวข์ องจงั หวัดอา่ งทองนบั เปน็ สาขาภาคเกษตรทสี่ ำคัญรองจากการปลูกพืช มีการเลย้ี ง
เพื่อการบริโภคเพื่อการใช้งาน และที่สำคัญคือในเชิงพาณิชย์ สัตว์เศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ไข่นกกระทา ไข่ไก่
ไข่เป็ด ไก่เนื้อ สุกร และโคเนื้อ จากข้อมูลด้านปศุสัตว์ย้อนหลัง ๓ ปี (ปี ๒๕๖๑-๒๕๖๓) การผลิตด้านปศุสัตว์
มีแนวโน้มปริมาณและราคามีแนวโน้มเพ่ิมขึน้ เช่น สกุ ร ไขน่ กระทา สำหรับผลผลติ ปศสุ ตั ว์ดา้ นอื่นๆ เปล่ียนแปลง
เลก็ น้อยตามภาวะราคาสนิ ค้า
การประมง
จังหวัดอ่างทอง มีสภาพเป็นท่ีราบลุ่มเหมาะสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ การเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้
ของเกษตรกร เป็นการเลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพเสริม และเลี้ยงเพื่อการพาณิชย์ โดยมีรูปแบบการเลี้ยงในบ่อ เลี้ยง
ในร่องสวน เล้ยี งในนาข้าว เลี้ยงในกระชัง และเลี้ยงในบ่อซเี มนต์
5. แหลง่ น้ำธรรมชาตสิ ำคัญ
แมน่ ำ้ เจา้ พระยา
ไหลผ่านตัวจังหวัดอ่างทอง โดยผ่านจากอำเภอไชโย อำเภอเมืองอ่างทอง อำเภอป่าโมก
เป็นระยะทาง 40 กิโลเมตร ในช่วงเดือนกันยายน ถึงเดือนตุลาคมหากเกิดสภาวะฝนตกชุกตอนเหนือและเขื่อน
เจ้าพระยาระบายน้ำมากเกิน 2,000 ม/วนิ าที จะเกดิ อุทกภัยแก่พนื้ ทลี่ ุ่มแมน่ ้ำเจ้าพระยาในเขตจังหวัดอ่างทองด้วย
แม่นำ้ นอ้ ย
เป็นแม่น้ำสายเล็ก สาขาของแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งไหลผ่าน อำเภอโพธิ์ทอง และอำเภอวิเศษชัย
ชาญ เป็นระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร แม่น้ำสายนี้เป็นคลองส่งน้ำสายใหญ่ โดยเป็นทางน้ำชลประทานท่ี
ควบคุม โดยมีเขื่อนทดน้ำบังคับที่โครงการสง่ นำ้ และบำรงุ รักษายางมณี และผักไห่ สามารถบังคับน้ำมใิ ห้มากเกนิ
ความจำเปน็ ด้วย
คลองส่งนำ้ ชัยนาท - อยธุ ยา
เป็นคลองส่งน้ำสายใหญ่ของฝั่งตะวันออก โดยได้รับน้ำจากเหนือเขื่อนเจ้าพระยา ส่งน้ำผ่านมา
ให้กบั พ้นื ทีใ่ นเขตอำเภอไชโย อำเภอเมอื ง อำเภอป่าโมก

กษ.จว.อท. ส่วนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของจังหวดั อา่ งทอง

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 4

6. แหล่งน้ำชลประทาน
1. โครงการส่งน้ำและบำรงุ รกั ษายางมณี มพี ้ืนที่ชลประทาน 141,464 ไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 32.

๕๒ ของพื้นที่จังหวัด พื้นที่รับผิดชอบโครงการฯ ตั้งแต่ตอนกลางของจังหวัดฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา
ครอบคลุมพื้นที่ด้านเหนือถึงด้านใต้ในเขตอำเภอไชโย อำเภอโพธิ์ทอง อำเภอวิเศษชัยชาญ อำเภอ ป่าโมก
และอำเภอเมืองอ่างทอง ซึ่งโครงการส่งนำ้ และบำรงุ รกั ษายางมณี มีคลองชลประทานที่สำคัญในพืน้ ที่ ได้แก่ คลอง
สง่ นำ้ 1 ขวา ยางมณี, คลองสง่ น้ำ 3 ซ้าย, คลองระบายใหญ่ แม่นำ้ นอ้ ย 5

2. โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาชัณสูตร เป็นโครงการชลประทานที่ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่
ของจงั หวัด มพี น้ื ท่ชี ลประทาน 2๓๔,๒๒๑ ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 5๓.๘๕ ของพืน้ ทีจ่ งั หวดั พน้ื ท่รี ับผดิ ชอบโครงการฯ
จะอยู่ในเขตจัดรูปที่ดินประเภท 1, 2 และแบบประชาอาสา ครอบคลุมพื้นที่ตอนกลางไปทางด้านตะวันตกของ
จังหวัดยาวตลอดแนวเหนือใต้บริเวณอำเภอวิเศษชัยชาญ อำเภอสามโก้ อำเภอโพธิ์ทอง และอำเภอแสวงหา
เนือ่ งจากพ้ืนท่ีบริเวณนี้ได้ผ่านการจัดรูปที่ดินดีแล้ว การสง่ นำ้ ชลประทานสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
เป็นเขตพื้นที่ปลูกข้าวนาปรังที่สำคัญของจังหวัดซึ่ง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาชัณสูตร มีคลองชลประทาน
ทส่ี ำคญั ในพ้ืนท่ี ได้แก่ คลองสง่ น้ำ 1 ขวา ชัณสตู ร, คลองระบายใหญ่ สุพรรณ 3

3. โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษามหาราช เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงานชลประทาน
ที่ 10 มีพื้นที่ชลประทาน 51,805 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1๑.๙๑ ของพื้นที่จังหวัดอ่างทอง พื้นที่รับผิดชอบของ
โครงการฯ อยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด เริ่มตั้งแต่ฝั่งซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยาจนสุดเขตจังหวัดอ่างทองตาม
แนวเหนอื ใตค้ รอบคลุมพ้ืนท่ีอำเภอเมืองอ่างทอง อำเภอไชโย และอำเภอปา่ โมก ซึ่งโครงการส่งนำ้ และบำรุงรักษา
มหาราช มีคลองชลประทานที่สำคัญในพื้นที่ ได้แก่ คลองส่งน้ำชัยนาท-อยุธยา, คลองส่งน้ำ 1 ขวา มหาราช,
คลองส่งน้ำ 2 ขวา มหาราช และคลองระบาย 1 ขวา มหาราช

4. โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาผักไห่ มีพื้นที่ชลประทาน 1,2๒๗ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๐.๒๘
ของพื้นที่จังหวัด พื้นที่รับผิดชอบโครงการฯอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดด้านอำเภอป่าโมก ซึ่งโครงการส่งน้ำ
และบำรุงรักษา ผักไห่ มคี ลองชลประทานที่สำคญั ในพน้ื ที่ได้แก่ คลองบางปลากด, คลองส่งนำ้ 1 ซ้าย และคลองระบาย
ใหญ่ แมน่ ้ำน้อย

5. โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสามชุก มีพื้นที่ชลประทานน้อยที่สุด 6 ,260 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 1.๔๔ ของพื้นที่จังหวัด พื้นที่รับผิดชอบของโครงการฯ อยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด
ด้านอำเภอสามโก้ โครงการสง่ นำ้ และบำรงุ รักษาสามชุก มคี ลองชลประทานท่ีสำคัญในพื้นท่ี ไดแ้ ก่ คลองระบายใหญ่ สุพรรณ 3

7. สถานการณน์ ำ้
สถานการณน์ ้ำในแม่น้ำสายหลกั คอื แม่นำ้ เจา้ พระยา แม่นำ้ น้อย อยู่ในภาวะปกติ

กษ.จว.อท. สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของจงั หวดั อา่ งทอง

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 5

8. บ่อนำ้ บาดาลของจังหวัดอา่ งทอง

น้ำบาดาลที่พบมีคุณภาพโดยรวมเหมาะสมสำหรับการอุปโภคบริโภค ทั้งนี้จะพบเฉพาะชั้นน้ำ
บาดาลในหินรว่ น ไดแ้ ก่ ชนั้ น้ำที่ราบน้ำท่วมถึง อายคุ วอเทอร์นารี หรือท่ีเดิมเรียกว่าชัน้ น้ำเจ้าพระยา ในทุกพื้นที่
ของจังหวัด จากข้อมูลบ่อบาดาลในจังหวัดอ่างทอง พบว่ามีการเจาะพบน้ำบาดาลตั้งแต่ระดับความลึก14 เมตร
ท่ีบา้ นคราม หมู่ที่ 6 ตำบลหวั ไผ่ อำเภอเมืองอ่างทอง (บ่อเจาะเอกชน) ไปจนถงึ ความลึกมากกว่า 460 เมตร ที่บ้าน
หลักแก้ว หมู่ท่ี 6 ตำบลหลักแก้ว อำเภอวิเศษชัยชาญ (บ่อเจาะกรมทรัพยากรธรณี) อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณา
ข้อมูลโดยรวม พบว่าทางตอนเหนือของจังหวัดอ่างทอง (อำเภอแสวงหา อำเภอไชโย และอำเภอโพธิ์ทอง) ชั้นน้ำ
บาดาลจะตื้นกว่าทางตอนใต้ (อำเภอสามโก้ อำเภอวิเศษชัยชาญ อำเภอเมืองอ่างทอง และอำเภอป่าโมก) สำหรับคา่
ระดบั น้ำปกติ (Static water level) พบวา่ ในเขตพืน้ ทอ่ี ำเภอแสวงหา ค่าระดับนำ้ ปกตจิ ะตนื้ ทส่ี ุด และความลึกจะ
เพม่ิ ข้นึ ในแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และระดับลึกทสี่ ดุ จะอย่ใู นเขตพนื้ ที่ อำเภอป่าโมก

ข้อมูลผู้ใชน้ ้ำบาดาล จงั หวัดอ่างทอง

อำเภอ อปุ โภค (บอ่ ) ธุรกิจ (บอ่ ) เกษตรกรรม (บอ่ ) รวมทัง้ หมด (บ่อ)

เมือง 52 38 46 136

วิเศษชยั ชาญ 48 19 44 111

โพธทิ์ อง 36 17 14 67

ป่าโมก 14 14 8 36

ไชโย 18 20 17 55

แสวงหา 48 16 30 94

สามโก้ 20 6 43 69

รวม 236 130 202 568

ทีม่ า : สำนกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมจังหวัดอ่างทอง (ขอ้ มูล ณ วนั จันทรท์ ี่ 1 พฤศจกิ ายน 2564)

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของจงั หวัดอ่างทอง

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในชว่ งฤดแู ลง้ ปี 2564/65 จังหวัดอ่างทอง 6

สว่ นที่ 2 กรอบการดำเนินงานตามแผนปอ้ งกนั และเผชญิ เหตุ
ภัยแลง้ ปี 2564/65

กษ.จว.อท. สว่ นที่ 2 กรอบการดำเนนิ งานตามแป้องกนั และเผชญิ เหตุภยั แลง้ ปี 2564/65

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 7

สว่ นท่ี 2
กรอบการดำเนินงานตามแผนป้องกนั และเผชญิ เหตภุ ัยแล้ง ปี 2564/65

1. กรอบแนวคดิ
คณะอนุกรรมการจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ได้กำหนดกรอบแนวคิด

ในการจัดทำนโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ โดยได้นำหลักการ “Smart DRM for 3s :
SEP – SDGs - SEDRR” คือ การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยแบบอัจฉริยะ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันตามหลัก
ปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philisophy : SEP) เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Susstainable Development Doals : SDGs) เพื่อลดความเสี่ยงเดิมและป้องกันความเสี่ยงใหม่
(Sendai Framework on Disaster Risk Reduction : SEDRR) มาเป็นแนวทางการดำเนนิ งาน เพ่อื จัดการความเส่ยี งจาก
สาธารณภยั แบบองคร์ วม

1.1 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
ความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk) หมายถึง โอกาสที่จะเกิดการสูญเสียจาก

สาธารณภัยต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน ความเป็นอยู่ และภาคบริการต่างๆ ในชุมชนใดชุมชนหนึ่ง ณ ห้วงเวลาใด
เวลาหน่งึ ในอนาคต

ความเส่ยี งจากสาธารณภยั = ภัย x ความล่อแหลม x ความเปราะบาง
ศกั ยภาพ

ภัย (Hazard) คือ เหตุการณ์หรืออันตรายที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติหรือจากการกระทำของ
มนุษย์ ท่อี าจนำมาซ่งึ ความสูญเสียตอ่ ทรพั ย์สิน ตลอดจนทำใหเ้ กิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ สงั คม และส่งิ แวดล้อม

ความลอ่ แหลม (Exposure) คอื การทีส่ ิง่ ใดๆ กต็ ามทีส่ ถานที่ตง้ั อยูภ่ ายในอาณาบรเิ วณพน้ื ทเี่ สย่ี ง
ที่อาจจะเกิดภยั และมีโอกาสไดร้ ับความเสียหายจากภยั นั้นๆ

ความเปราะบาง (Vulnerability) คือ ปัจจัยหรือสภาวะใดๆ ที่ทำให้ชุมชนหรือสังคมขาด
ความสามารถในการป้องกันตนเอง ทำให้ไม่สามารถรับมือกับภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น หรือไม่สามารถฟื้นฟู
ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วจากความเสยี หายอันเกิดจากภยั

ศักยภาพ (Capacity) คือ ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่ในชุมชน สังคม หรือ
หน่วยงานใดๆ ที่สามารถนำมาใชเ้ พือ่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายท่ตี ง้ั ไว้

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) เป็นกระบวนการที่ช่วยตรวจสอบระดับของ
ความเสี่ยงที่ชุมชนหรือสังคมมีต่อสาธารณภัย ประกอบด้วย การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) การ
วเิ คราะห์ความเสย่ี ง (Risk Analysis) และการประเมินผลความเส่ียง (Risk Evaluation)

1.2 การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management) การจัดการความ
เสี่ยงจากสาธารณภัยเป็นการจัดการสาธารณภัยแบบองค์รวม (Holistic Approach) ตั้งแต่กิจกรรมการป้องกันและลด
ผลกระทบ การเตรยี มความพร้อม การเผชิญเหตุ และบรรเทาทุกข์ ตลอดจนการฟ้นื ฟู ซงึ่ ในบางกิจกรรมการดำเนินการ
ในแต่ละห้วงเวลาการเกิดสาธารณภัยอาจมีความคาบเกี่ยวกัน (Over lap) ขณะที่บางกิจกรรมอาจเป็นการ
ดำเนินการเฉพาะของการเกดิ ภยั ในหว้ งนัน้ ๆ รวมทง้ั ระยะเวลาในการดำเนนิ การของแตล่ ะกิจกรรมข้นึ อยู่กับความ
รุนแรงของภัยเป็นสำคัญ ซึ่งวงจรการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยถูกมองในมุมมองของทั้งกรอบแนวคิดในกา
ดำเนินการ/การปฏิบัติ (Discipline) และมุมมองของกจิ กรรมหรอื วธิ ีปฏิบตั ิ (Activities and Procedures) ดังแผนภาพน้ี

กษ.จว.อท. ส่วนที่ 2 กรอบการดำเนินงานตามแปอ้ งกนั และเผชญิ เหตุภยั แลง้ ปี 2564/65

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดแู ลง้ ปี 2564/65 จังหวัดอ่างทอง 8

โดยมีแนวทางดำเนินการจัดการความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ิ ดงั น้ี
ก่อนเกดิ ภัย : การลดความเสยี่ งจากภัยพบิ ตั ิ (Disaster Risk Reduction)

การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)
1) มาตรการที่ใชโ้ ครงสรา้ ง ไดแ้ ก่ การพัฒนาแหลง่ น้ำ ระบบชลประทานเพื่อป้องกนั อทุ กภัย/ภัย
แล้ง การอนุรกั ษด์ นิ และน้ำเพือ่ ป้องกนั ดินโคลนถล่ม
2) มาตรการที่ไม่ใช้โครงสร้าง ได้แก่ วางแผนการจัดสรรน้ำ วิเคราะห์ประเมินความเสี่ยง
เพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงด้านพืช ด้านประมง ด้านปศุสัตว์ รวมทั้งพื้นที่ชุมชนพร้อมแผนบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยง
ดังกล่าว แผนปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อช่วยเหลอื พ้นื ทปี่ ระสบภัยฝนทงิ้ ช่วงและเตมิ น้ำในแหลง่ น้ำทมี่ ปี ริมาณน้อย
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
1) การปรับตัว ได้แก่ การให้คำแนะนำการเพาะปลูกในช่วงฤดูแล้ง การส่งเสริมอาชีพเสริมหรือ
วิสาหกิจชุมชนให้แก่เกษตรกรเพื่อเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพ การปรับเปลี่ยนวิธีการทำการเกษตร
ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพพ้นื ที่
2) การเตรียมรับมือกับภัยพิบัติ ได้แก่ การแจ้งเตือนสถานการณ์น้ำ การเตรียมพร้อมด้านเครื่องมือ
อุปกรณ์ เครื่องจักร ยานพาหนะ การสำรองเสบียงสัตว์ การปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรด้านพืช ด้านประมง
ด้านปศุสัตว์ ให้เป็นปัจจุบัน การจัดทำแผนปฏิบัติการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยด้านการเกษตร
เช่น แผนเฝ้าระวังและตดิ ตามสถานการณเ์ พื่อป้องกันโรคระบาดพืชและสัตว์ แผนการจัดหน่วยเฉพาะกิจลงพ้นื ที่
เพื่อให้คำแนะนำและความช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ประสบภัย การดูแลสุขภาพสัตว์ แผนการสำรวจและ
ประเมินความเสียหาย วิธีการช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกร และแผนสร้างการรับรู้
ให้เกษตรกรร้จู กั เตรียมความพร้อมรับสถานการณภ์ ยั พบิ ัติ
ขณะเกิดภัย : การจดั การภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management)
การเผชิญเหตุ (Response) ได้แก่ การบริหารจัดการน้ำ การติดตัง้ เคร่ืองสูบน้ำ การแจง้ เตือนเกษตรกร
การบรรเทาทุกข์ (Relief) ไดแ้ ก่ แจกจา่ ยเสบียงสัตว์และดแู ลสุขภาพสัตว์ จัดหน่วยเฉพาะกิจลง
พื้นที่ประสบภยั เพื่อให้คำแนะนำและความช่วยเหลือเกษตรกร สำรวจและประเมินความเสยี หายเบ้ืองต้น รายงานสถานการณ์
หลงั เกดิ ภยั : การฟ้ืนฟู (Recovery) และสร้างใหม่ใหด้ กี วา่ เดมิ (Build Back Better)
การซ่อมสร้าง (Reconstruction) ได้แก่ การประเมินความเสียหายและซ่อมสร้างระบบ
โครงสร้างพน้ื ฐานด้านชลประทาน การปอ้ งกนั รกั ษา และกำจดั โรคระบาดหรอื ศัตรพู ชื ระบาด การฟนื้ ฟูพน้ื ที่การเกษตร
การฟื้นสภาพ (Rehabilitation) ได้แก่ การวิเคราะห์ความเสียหาย (Damages)
และความสูญเสีย (Losses) ด้านการเกษตรที่เกิดจากภัย การประเมินความต้องการ/จำเป็นในการฟื้นฟูหลังเกิด
ภยั การช่วยเหลือเยยี วยาตามระเบยี บทเ่ี กี่ยวข้อง

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 2 กรอบการดำเนินงานตามแปอ้ งกันและเผชญิ เหตุภยั แลง้ ปี 2564/65

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 9

2. แนวโนม้ สถานการณ์
กรมอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์สภาพอากาศในช่วงเดือนตุลาคม 2564 ถึงปลายเดือน กุมภาพันธ์

2565 บริเวณประเทศไทยตอนบน ฤดูหนาวปีนี้จะเริม่ ตน้ ในช่วงปลายเดอื นตลุ าคม 2564 ซึ่งจะช้ากว่าคา่ เฉลย่ี
ปกติ 1 - 2 สัปดาห์ และจะส้นิ สุดประมาณปลายเดือนกุมภาพนั ธ์ 2565 ช่วงเวลาทจ่ี ะมีอากาศหนาวเย็นทส่ี ุด จะเร่ิม
ตั้งแต่ช่วงกลางเดือนธันวาคม 2564 ถึงปลายเดือนมกราคม 2565 และบริเวณยอดดอยและยอดภูรวมท้ัง
เทือกเขาจะมีอากาศหนาวถึงหนาวจัดและจะมีน้ำค้างแข็งเกดิ ข้ึนได้ สว่ นบริเวณภาคใต้จะมีอากาศเย็นบางแห่งใน
บางวันส่วนมากตอนบนของภาค และยังคงมีฝนตกชุกหนาแน่นต่อไป ในช่วงเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม
โดยเฉพาะทางดา้ นฝ่ังตะวันออกต้ังแต่จังหวัดชุมพรลงไป กับจะมีฝนตกหนกั หลายพื้นท่ี และหนักมากบางแห่ง ซึ่ง
จะทำให้เกิดสภาวะน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก รวมทั้งน้ำล้นตลิ่งได้ในบางพื้นที่ สำหรับคลื่นลมในทะเลอ่าว
ไทย จะมีกำลังแรงเปน็ ระยะๆ บางชว่ งมคี ลน่ื สงู 2 - 4 เมตร ส่วนทะเลอันดามันมีคล่นื สูง 1 - 2 เมตร

คาดว่าปรากฎการณ์ ENSO (El Niño/Southern Oscillation) มีสถานะเป็นลานีญาต่อเนื่องไป
จนถงึ ชว่ งเดือนธนั วาคม 2564 ถงึ เดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2565 จากนน้ั มีแนวโน้มทีจ่ ะเข้าสูภ่ าวะปกตติ ่อไป ซ่ึงส่งผล
กระทบให้ประเทศไทย ในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม 2564 ปริมาณฝนจะมีค่าสูงกว่าค่าปกติเล็กน้อย
สว่ นอณุ หภูมขิ องประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีค่าใกล้เคียงกับค่าปกติ

3. มาตรการรองรับสถานการณ์ขาดแคลนน้ำ ฤดแู ล้ง ปี 2564/65
สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ได้บูรณาการหน่วยงายที่เกี่ยวข้อง กำหนดมาตรการรองรับ

สถานการณ์ขาดแคลนน้ำฤดูแล้ง ปี 2564/65 ดงั น้ี

มาตรการรองรับ หนว่ ยงาน

ด้านนำ้ ต้นทุน มาตรการที่ 1 เร่งกักเกบ็ นำ้
(SUPPLY) เร่งเก็บกักน้ำในแหล่งน้ำทุกประเภท โดย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย

การสูบทอยน้ำไปเก็บไว้ในอ่างเก็บน้ำ กรมชลประทาน
แหล่งน้ำธรรมชาติ และแหลง่ น้ำใต้ดนิ - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและ

ส่ิงแวดล้อม โดย กรมทรัพยากรน้ำ กรม
ทรพั ยากรน้ำบาดาล

- กระทรวงมหาดไทย โดย การประปานคร
หลวง การประปาส่วนภูมภิ าค กรมสง่ เสริมการ
ปกครองท้องถ่ิน และกรมปอ้ งกันและบรรเทา
สาธารณภยั

มาตรการที่ 2 จดั หาแหล่งน้ำสำรอง ในพ้นื ทีเ่ สยี่ งขาดแคลนนำ้

2.1) สำรวจ ตรวจสอบ พื้นที่ที่มศี ักยภาพ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย
จะพัฒนาเป็นแหล่งเก็บกักน้ำสำรองได้ กรมชลประทาน
และจัดทำแผนปฏิบัติการสำรองน้ำใน

กษ.จว.อท. สว่ นท่ี 2 กรอบการดำเนินงานตามแปอ้ งกันและเผชญิ เหตภุ ยั แลง้ ปี 2564/65

แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 10

มาตรการรองรับ หนว่ ยงาน

พื้นที่เสี่ยงขาดแคลนน้ำดิบ เพื่ออุปโภค - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ

บรโิ ภคและการเกษตร ส่ิงแวดล้อม โดย กรมทรพั ยากรน้ำ และกรม

ทรพั ยากรนำ้ บาดาล

- กระทรวงมหาดไทย โดย การประปานคร
หลวง การประปาส่วนภมู ิภาค และกรมส่งเสรมิ
การปกครองทอ้ งถิน่

- กระทรวงคมนาคม โดย กรมเจ้าท่า

2.2) จัดทำแผนวางทอ่ น้ำประปา จากการ - กระทรวงมหาดไทย โดย การประปาส่วนภูมภิ าค
ประปาส่วนภูมิภาคสาขาข้างเคียงเพื่อ
แกไ้ ขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และแผนรับ
นำ้ ดบิ โดยตรงจากอ่างเกบ็ น้ำ เพอื่ ลดความ
สญู เสยี

2.3) จัดทำทะเบียนผู้ใช้น้ำจากแหล่งน้ำ - กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดย

เพื่อเป็นข้อมูลในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง สำนักงานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและ

และให้สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) - กระทรวงมหาดไทย โดย กรมสง่ เสรมิ การ
ตรวจสอบข้อมูลทะเบียนแหล่งน้ำ ให้ ปกครองท้องถน่ิ
สอดคล้องกับทะเบียนผู้ใช้น้ำจากภาพถ่าย
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรม
ดาวเทียม
ชลประทาน

- กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม โดยกรมทรพั ยากรนำ้ และกรม
ทรพั ยากรน้ำบาดาล

- สำนักงานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ

2.4) วางแผนผันน้ำระหว่างลุ่มน้ำ เพ่ือ - สำนกั งานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ และ
บรรเทา ภาวะน้ำแลง้ ควรพจิ ารณา จัดสรร หน่วยงาน ที่เกยี่ วขอ้ ง
น้ำอย่างรอบคอบให้ความสำคัญ กับการ
ใช้น้ำภายในลุ่มน้ำ และปฏิบัติตาม
พระราชบัญญตั ิทรพั ยากรนำ้ พ.ศ. 2561

มาตรการ 3 ปฏิบัติการเติมน้ำ

กษ.จว.อท. สว่ นท่ี 2 กรอบการดำเนนิ งานตามแปอ้ งกนั และเผชิญเหตุภยั แลง้ ปี 2564/65

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในชว่ งฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 11

มาตรการรองรับ หนว่ ยงาน

ปฏิบัติการเติมน้ำให้กับแหล่งน้ำในพื้นที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรมฝน
เกษตรและพื้นที่เสี่ยงขาดแคลนน้ำ ตาม หลวงและการบินเกษตร
สภาพอากาศ ทีเ่ หมาะสม

ด้านความ มาตรการ 4 กำหนดการจัดสรรนำ้ ฤดูแล้ง

ต้องการใชน้ ้ำ 4.1) กำหนดแผนปริมาณน้ำจัดสรร ในฤดู - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย
(DEMAND) แล้งให้ชัดเจน และแจ้งแผนให้กระทรวง กรมชลประทาน

มหาดไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
รับทราบและปฏบิ ตั ติ ามอยา่ งเคร่งครัด ส่งิ แวดล้อม โดย กรมทรัพยากรน้ำ และกรม
ทรัพยากรน้ำบาดาล
กรณีรายล่มุ นำ้ ในเขตชลประทาน
- ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปริมาณน้ำต้นทุน
มจี ำกัด ใน 4 เขื่อนหลัก สามารถสนับสนนุ - กระทรวงมหาดไทย โดย กรมสง่ เสรมิ การ
น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค รักษาระบบ ปกครองท้องถิ่น

นิเวศ พืชต่อเนื่อง และแผนเพาะปลูกนา - กระทรวงพลังงาน โดย กรมพัฒนาพลังงาน
รอบที่ 2 (นาปรัง) 2.81 ล้านไร่ โดย ทดแทนและอนุรักษ์พลงั งาน และการไฟฟ้าฝ่าย
สนับสนุน ส่งน้ำให้กับพื้นที่ลุ่มต่ำ ผลติ แหง่ ประเทศไทย
เจ้าพระยาตอนล่างทีร่ องรบั น้ำหลากในฤดู

ฝน ปี 2564 (1.20 ล้านไร)่ และ พ้ืนท่ีที่

เพาะปลูกเป็นประจำ โดยใช้น้ำจากแหล่ง

นำ้ ของตนเองและแหล่งน้ำข้างเคยี ง (1.61

ลา้ นไร่)

- ลุ่มน้ำแม่กลอง อยู่ในเกณฑ์ปีน้ำมาก

วางแผนจัดสรรน้ำสอดคล้องกับ ปริมาณ

นำ้ ตน้ ทุนทม่ี อี ยสู่ ำหรับการสง่ น้ำเพาะปลูก

น า ร อ บ ท ี ่ 2 ( น า ป ร ั ง ) ฤ ด ู แ ล ้ ง ปี

2564/65 และสามารถสนับสนุนน้ำเพ่ือ

การอุปโภคบริโภค การเกษตร และรักษา

ร ะบบน ิ เว ศ ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล ุ ่ มน ้ ำ แ ล ะ ล ุ ่ ม น้ ำ

ขา้ งเคียงตามศกั ยภาพ

- ลุ่มน้ำชีตอนกลางและตอนล่าง

มีปริมาณน้ำต้นทุนเพียงพอสนับสนุนการ

เพาะปลกู พืชฤดแู ล้ง

- ลมุ่ น้ำอ่ืนๆ วางแผนจดั สรรน้ำ

สอดคล้องกบั ปรมิ าณน้ำตน้ ทุน

4.2) ควบคุมการใช้น้ำของพื้นที่ลุ่มน้ำ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรม
ตอนบนให้เป็นไปตามแผน และมี ชลประทาน

กษ.จว.อท. ส่วนที่ 2 กรอบการดำเนินงานตามแปอ้ งกนั และเผชิญเหตภุ ัยแลง้ ปี 2564/65

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 12

มาตรการรองรบั หนว่ ยงาน

ประสิทธิภาพ เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบการ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

ขาดแคลนน้ำด้านอุปโภคบริโภคของพื้นที่ โดย กรมทรพั ยากรน้ำ และกรมทรัพยากรน้ำบาดาล

ลุ่มน้ำตอนล่าง และมอบหมาย - กระทรวงมหาดไทย โดย กรมส่งเสรมิ การ
กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับกระทรวง ปกครองท้องถน่ิ
เกษตรและสหกรณ์ และกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ประสานกับประชาชนในพนื้ ท่ี เพอื่ ควบคุม

การส่งน้ำให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดย

ใหม้ มี าตรการรองรับในระยะต่อไป

4.3) บริหารจัดการน้ำต้องคำนึงถึงระดับ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรม

น้ำ ในทางน้ำที่อาจจะลดต่ำกว่าปกติ และ ชลประทาน

สำรวจ ตรวจสอบ คนั คลอง ถนนทเ่ี ชื่อมต่อ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
กบั ทางน้ำ ในพืน้ ท่ที ่อี าจจะเกิดการทรุดตัว ส่ิงแวดล้อม โดย กรมทรัพยากรนำ้

- กระทรวงมหาดไทย โดย กรมส่งเสรมิ การ
ปกครองท้องถิ่น

- กระทรวงคมนาคม โดย กรมทางหลวง และ
กรมทางหลวงชนบท

มาตรการ 5 วางแผนเพาะปลูกพชื ฤดูแลง้

5.1) วางแผนการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย

จัดทำทะเบียนเกษตรกร โดยระบุพื้นที่ กรมชลประทาน กรมส่งเสรมิ การเกษตร

เพาะปลูก และแหล่งน้ำที่นำมาใช้ให้ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ชัดเจน ในรูปแบบแผนที่เพื่อให้การ ส่ิงแวดล้อม โดย กรมทรพั ยากรน้ำ
เพาะปลูกสอดคล้องกับปริมาณน้ำต้นทุน
โดยส่งเสริมสนับสนุนการเพาะปลูกพืชใน - กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดย
พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยเป็น สำนักงานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและ
ภมู สิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน)
อันดบั แรก

5.2) กำหนดพื้นที่เพาะปลูกพืชฤดูแล้ง - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย
(นารอบที่ 2 (นาปรัง)) ให้ชัดเจน และ กรมชลประทาน กรมสง่ เสริมการเกษตร
กำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไข การ และกรมพฒั นาท่ีดิน
เพาะปลูกนอกแผนอย่างเป็นรูปธรรม
ส่งเสรมิ การปลูกพืชใช้นำ้ น้อย เพอื่ บรรเทา
ความเดือดร้อนและความเสียหาย ที่จะ
เกิดขึ้นกรณีไม่อาจสนับสนุนน้ำ เพื่อการ
เพาะปลกู ได้

กษ.จว.อท. ส่วนที่ 2 กรอบการดำเนนิ งานตามแปอ้ งกันและเผชญิ เหตุภัยแลง้ ปี 2564/65

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 13

มาตรการรองรบั หน่วยงาน

5.3) กำหนดมาตรการเยียวยา สร้าง - กระทรวงมหาดไทย

รายได้ สร้างอาชีพ สร้างแรงงาน ในพื้นที่ท่ี - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ไม่สามารถสนับสนุนน้ำเพื่อการเพาะปลูก

พชื ฤดแู ล้งได้

มาตรการ 6 เตรียมนำ้ สำรองสำหรบั พื้นท่ีลมุ่ ตำ่

เตรียมน้ำสำรอง สำหรับพื้นที่ลุ่มต่ำเพื่อ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย
สนับสนุนน้ำเตรียมแปลงเพาะปลูกนารอบ กรมชลประทาน
ท่ี 1 (นาปี)

มาตรการ 7 เฝา้ ระวงั คุณภาพนำ้

7.1) เฝ้าระวังคุณภาพน้ำในแม่น้ำสาย - กระทรวงมหาดไทย โดย การประปานคร

หลัก สายรอง และเตรียมแผนปฏิบัติการ หลวง การประปาสว่ นภมู ภิ าค และกรมสง่ เสริม

รองรับกรณเี กดิ ปญั หา การปกครองทอ้ งถนิ่

- กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สง่ิ แวดล้อม โดย กรมควบคมุ มลพิษ

7.2) เฝ้าระวัง ตรวจวัด และควบคุม การ - กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการปกครอง และ

ปล่อยน้ำเสียจากภาคอุตสาหกรรม การเกษตร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ

และชุมชนลงสู่แหล่งน้ำ เพื่อลดปริมาณการใช้ - กระทรวงอุตสาหกรรม โดย กรมโรงงาน
นำ้ ดีไล่นำ้ เสยี อตุ สาหกรรรม และการนิคมอตุ สาหกรรมแหง่

ประเทศไทย

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรมปศุสตั ว์
กรมประมง กรมวชิ าการเกษตร และกรมสง่ เสริม
การเกษตร

7.3) ควบคุมและขึ้นทะเบียนการเลี้ยง - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรม

ปลากระชังในแหลง่ นำ้ และลำนำ้ ประมง

- กระทรวงมหาดไทย โดย กรมการปกครอง

และกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ

ด้านการ มาตรการ 8 ติดตามและประเมินผล เพื่อให้ผลการดำเนินงานเปน็ ไปตามแผน
บรหิ ารจดั การ 8.1) ติดตาม เฝ้าระวัง และรายงานเป็น ทุกหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง

ประจำ ทุกเดือนอย่างต่อเนื่อง ในพื้นที่เสี่ยง

กษ.จว.อท. ส่วนที่ 2 กรอบการดำเนนิ งานตามแปอ้ งกันและเผชิญเหตุภยั แลง้ ปี 2564/65

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ลง้ ปี 2564/65 จังหวัดอ่างทอง 14

มาตรการรองรบั หนว่ ยงาน

(MANAGEME ขาดแคลนน้ำ ต่อกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ
NT) (กอนช.)

8.2) ติดตาม ควบคุมการจัดสรรน้ำ และ - กระทรวงมหาดไทย โดย

การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง (นารอบที่ 2 (นา กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิน่

ปรัง)) ให้เป็นไปตามแผน และ ให้ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิ กรมชลประทาน และกรมส่งเสรมิ การเกษตร
สารสนเทศ (องค์การมหาชน) ทำการ
เช ื่อมโ ยงข้อมูลมาแสดงบนระบบ - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม โดย กรมทรพั ยากรน้ำ
Dashboard

- กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดย
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ
ภมู สิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน)

8. 3) ติดตาม ว ิเคราะห์ ประเมิ น - สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ รว่ มกับ
สถานการณ์และกิจกรรมใช้น้ำร่วมกับ หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง
หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้องอย่างใกล้ชิด

8.4) ในกรณีเกิดภัยแล้ง ขอให้รายงาน - กระทรวงมหาดไทย โดยจงั หวดั และกรม
สถานการณ์และการให้ความช่วยเหลือ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
มายังกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.)
โดยทันที

มาตรการ 9 สรา้ งการรับรสู้ ถานการณ์และแผนบรหิ ารจดั การน้ำ

ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้สถานการณ์ ทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
น้ำ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการใช้น้ำ
อย่างประหยัด และเป็นไปตามแผนที่
กำหนด สามารถให้ความช่วยเหลือเมื่อเกิด
เหตุได้ทนั ที

กษ.จว.อท. สว่ นที่ 2 กรอบการดำเนินงานตามแป้องกันและเผชญิ เหตุภัยแลง้ ปี 2564/65

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 15

สว่ นที่ 3 กระบวนการแจ้งเตือน

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 3 กระบวนการแจง้ เตอื น

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 16

ส่วนที่ 3
กระบวนการแจ้งเตือน

กระบวนการแจ้งเตือนแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์
(Monitoring) 2) การแจ้งเตือนลว่ งหนา้ (Early Warning) 3) การแจง้ เตอื น (Warning) 4) การอพยพ (Evacuation)

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 3 กระบวนการแจ้งเตือน

แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 17

สว่ นท่ี 4 สถานการณ์ความเสี่ยงและพื้นที่เฝ้าระวงั ด้าน
การเกษตร ปี 2564/65

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 4 สถานการณ์ความเสีย่ งและพื้นท่ีเฝา้ ระวงั ด้านการเกษตร ปี 2564/65

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดูแล้ง ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 18

ส่วนท่ี 4
สถานการณ์ความเสี่ยงและพื้นท่ีเฝา้ ระวังดา้ นการเกษตร ปี 2564/65

สถานการณ์ความเสยี่ งและพ้ืนที่เฝา้ ระวงั ด้านการเกษตร ปี 2564/65 มพี ืน้ ที่เฝา้ ระวังจงั หวดั

อา่ งทอง จำแนกเป็นด้าน ดงั นี้

1. ด้านพืช

- จำนวน 4 อำเภอ 9 ตำบล 32 หมูบ่ ้าน 2914.25 ไร่ ได้แก่

ที่ อำเภอ จำนวนตำบล จำนวนหมู่บา้ น พื้นที่การเกษตรเสย่ี งภยั (ไร)่

(ตำบล) (หมบู่ า้ น)

1 โพธทิ์ อง ตำบลรำมะสัก 12 817

2 แสวงหา ตำบลสบี วั ทอง 3 68

ตำบลศรพี ราน

ตำบลจำลอง

3 วเิ ศษชัยชาญ ตำบลไผว่ ง 4 200

ตำบลสาวร้องไห้

4 สามโก้ ตำบลสามโก้ 13 1,829.25

ตำบลมงคลธรรมนิมติ

ตำบลอบทม

จำนวน 4 อำเภอ 9 ตำบล 32 หม่บู ้าน 2914.25 ไร่

ทม่ี า : สำนักงานเกษตรจงั หวัดอ่างทอง

2. ด้านประมง
- จำนวน 7 อำเภอ 72 ตำบล 432 หมบู่ า้ น ได้แก่

ท่ี อำเภอ จำนวนตำบล จำนวนหมบู่ า้ น จำนวนสตั วน์ ้ำ

(ตำบล) (หมู่บา้ น) บ่อกุ้ง บอ่ ปลา-บอ่ ซเิ มนต์ ปลาในกระชัง

1 เมอื งอ่างทอง 13 57 0 628 326

2 วเิ ศษชยั ชาญ 15 108 0 2043 22
102 0 1107 5
3 โพธท์ิ อง 15 41 0 723 0
36 0 545 0
4 แสวงหา 7 39 0 345 99
49 0 554 1120
5 สามโก้ 5 432 0 5945 1572

6 ไชโย 9

7 ป่าโมก 8

รวม 72

ทีม่ า : สำนกั งานประมงจงั หวัดอ่างทอง

กษ.จว.อท. สว่ นที่ 4 สถานการณค์ วามเส่ยี งและพ้ืนท่ีเฝา้ ระวังดา้ นการเกษตร ปี 2564/65

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 19

3. ดา้ นปศุสัตว์
- จำนวน 4 อำเภอ 7 ตำบล 65 หมู่บ้าน ได้แก่

ท่ี อำเภอ จำนวนตำบล จำนวนหมบู่ ้าน จำนวน (ตวั )
(หมูบ่ ้าน) สุกร สตั วป์ ีก
(ตำบล) 8 โค/กระบอื 103 27100 แพะ/แกะ
23 196 358 48500 135
1 วิเศษชัยชาญ 1 20 702 492 13600 1900
14 387 270 30885 540
2 โพธิท์ อง 2 65 1780 1223 120085 160
3065 2737
3 แสวงหา 2

4 สามโก้ 2

รวม 7

ท่มี า : สำนักงานปศสุ ตั ว์จงั หวดั อา่ งทอง

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 4 สถานการณค์ วามเส่ยี งและพ้ืนทเ่ี ฝ้าระวงั ดา้ นการเกษตร ปี 2564/65

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จังหวัดอ่างทอง 20

สว่ นท่ี 5 แผนจดั สรรน้ำในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65
จังหวดั อ่างทอง

กษ.จว.อท. สว่ นท่ี 5 แผนจดั สรรนำ้ ในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอา่ งทอง

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู

สว่ นท
แผนจดั สรรนำ้ ในช่วงฤดูแล้ง ป

โครงการชลประทานอ่างทอง (ภาพรวม)

รวมพน้ื ท่ี ปรมิ าณน้ำ (ลา้ น ลบ.ม.)

ชลประทาน พ้นื ท่ีการเกษตร (ไร)่ อุปโภค อตุ สาหกร ระบบ อ

(ไร)่ ขา้ ว พืชผัก ไมผ้ ล สตั ว์นำ้ ปศสุ ตั ว์ / รม นเิ วศน์

บรโิ ภค

434,028 40.89 10.09 - - 13

โครงการส่งนำ้ และบำรุงรักษายางมณี

รวมพื้นท่ี ปรมิ าณนำ้ (ลา้ น ลบ.ม.)

ชลประทาน พ้นื ทีก่ ารเกษตร (ไร่) อปุ โภค/ อตุ สาห ระบบ อื่นๆ

(ไร)่ ข้าว พชื ผกั ไมผ้ ล สัตว์น้ำ ปศุสตั ว์ บรโิ ภค กรรม นิเวศน์

141,464 15.56 5.88 6.52

กษ.จว.อท.

แลง้ ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 21

ท่ี 5
ปี 2564/65 จังหวดั อา่ งทอง

พนื้ ทคี่ าดการณ์ (ไร่) รวม

อน่ื ๆ ข้าวนาปี พชื พชื ผัก ออ้ ย ผลไม้ ไม้ยนื บ่อปลา บอ่ อื่น
ไร่ ตน้ ก้งุ ๆ

3.23 61,628 - 271 8,980 10,339 99 2,320 - - 83,637

พื้นทีค่ าดการณ์ (ไร)่

ๆ ขา้ วนาปี พชื พชื ออ้ ย ผลไม้ ไม้ยืน บ่อปลา บ่อก้งุ อื่น รวม

ไร่ ผัก ตน้ ๆ

2 25,296.00 4,940.00 1,717. 31,953.

00 00

ส่วนที่ 5 แผนจดั สรรนำ้ ในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู

โครงการส่งนำ้ และบำรงุ รักษาชันสูตร

รวมพนื้ ที่ ปรมิ าณน้ำ (ล้าน ลบ.ม.)

ชลประทาน พืน้ ทก่ี ารเกษตร (ไร่) อุปโภค/ อตุ สาห ระบบ

(ไร)่ ข้าว พืชผัก ไมผ้ ล สตั ว์นำ้ ปศสุ ตั ว์ บรโิ ภค กรรม นเิ วศน์

50.82 50.82 - --

โครงการส่งนำ้ และบำรุงรักษามหาราช

รวมพ้ืนท่ี ปรมิ าณน้ำ (ลา้ น ลบ.ม.)
ชลประทาน
พ้ืนทกี่ ารเกษตร (ไร)่ อปุ โภค/ อุตสาห ระบบ อ
(ไร่) กรรม นเิ วศน์
ข้าว พชื ไม้ผล สตั วน์ ำ้ ปศสุ ตั ว์ บรโิ ภค
51,805 13.68 --
ผัก

-- - - -

โครงการส่งนำ้ และบำรุงรักษาสามชุก

รวมพื้นท่ี ปริมาณน้ำ (ล้าน ลบ.ม.)

ชลประทาน พืน้ ทกี่ ารเกษตร (ไร่) อปุ โภค/ อุตสาห ระบบ

(ไร)่ ข้าว พืชผัก ไมผ้ ล สตั ว์น้ำ ปศสุ ัตว์ บริโภค กรรม นิเวศน์

6,260 200 - 368 241 - - - -

กษ.จว.อท.

แลง้ ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 22

พืน้ ทค่ี าดการณ์ (ไร่)

อื่น ข้าวนา พชื พชื ผัก อ้อย ผลไม้ ไม้ บ่อปลา บ่อกุง้ อนื่ รวม
ๆ ปรงั ไร่ ยืน ๆ
ตน้

- 19,612 - 517 9,814 8,129 - 935 - - 39,007

พืน้ ทค่ี าดการณ์ (ไร่)

อืน่ ขา้ วนา พชื ไร่ พืชผกั อ้อย ผลไม้ ไมย้ ืนตน้ บอ่ บอ่ อน่ื รวม

ๆ ปรัง ปลา กุง้ ๆ

- 13,668 - - 15 - 2,347 27 - - 16,057

พืน้ ทค่ี าดการณ์ (ไร่)
อื่นๆ ขา้ วนา พชื ไร่ พืชผัก อ้อย ผลไม้ ไม้ยนื บ่อปลา บ่อกุ้ง อ่นื ๆ รวม

ปี ต้น
5,451 - - - - - - - - - 0

ส่วนที่ 5 แผนจัดสรรนำ้ ในชว่ งฤดแู ลง้ ปี 2564/65 จงั หวัดอา่ งทอง

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในช่วงฤดแู

โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาผักไห่

รวมพ้ืนที่ ปรมิ าณนำ้ (ล้าน ลบ.ม.)

ชลประทาน พืน้ ทกี่ ารเกษตร (ไร่) อปุ โภค/ อุตสาห ระบบ อ

(ไร)่ ขา้ ว พืชผัก ไมผ้ ล สตั วน์ ำ้ ปศุสตั ว์ บรโิ ภค กรรม นิเวศน์

152,465 150.46 0.34 - 68.32 - 0.31 18.15 -

กษ.จว.อท.

แล้ง ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 23

พืน้ ทคี่ าดการณ์ (ไร่)

อนื่ ๆ ขา้ วนาปรัง พืช พชื ผัก ออ้ ย ผลไม้ ไม้ยืน บอ่ บ่อกุ้ง อ่นื ๆ รวม
ไร่ ตน้ ปลา

- 143,808 - 601 - - - - 8,056 - 152,465

สว่ นท่ี 5 แผนจัดสรรนำ้ ในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 24

ส่วนที่ 6 แผนการเพาะปลกู พชื ฤดูแล้ง ปี 2564/65
จังหวดั อ่างทอง

ส่วนท่ี 6 แผนการเพาะปลกู พืชฤดูแลง้ ปี 2564/65 จังหวัดอ่างทอง

กษ.จว.อท.

แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง ปี 2564/65 จังหวัดอ่างทอง 25

ส่วนท่ี 6
แผนการเพาะปลูกพืชฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอา่ งทอง

จังหวดั อ่างทองมีพืน้ ท่ีการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งในเขตชลประทาน จำนวน 61,899 ไร่ แบ่งเป็น
พ้ืนท่ีปลกู ขา้ วนาปรัง จำนวน 61,628 ไร่ และพืน้ ท่ปี ลกู พืชผัก จำนวน 271 ดงั นี้

ร่าง แผนการเพาะปลูกพืชฤดแู ล้ง ปี 2564/65 (ไร่)

จังหวัด เขตเพาะปลูก นาปรงั พชื ไร่ พชื ผัก รวมพืชไร รวมท้ังหมด

อ่างทอง ในเขตชลประทาน พชื ผัก
รวม
61,628 - 271 271 61,899
ท่ีมา : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
61,628 - 271 271 61,899

ส่วนที่ 6 แผนการเพาะปลกู พชื ฤดูแลง้ ปี 2564/65 จังหวัดอ่างทอง

กษ.จว.อท.

แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดูแล้ง ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 26

ส่วนที่ 7 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
ด้านการเกษตรในชว่ งฤดแู ลง้ ปี 2564/65
ของจงั หวัดอา่ งทอง

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 7 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 ของจังหวดั อ่างทอง

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 27

ส่วนที่ 7
แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง

ปี 2564/65 ของจังหวดั

การเตรยี มรับสถานการณ์ (ด้านพืช)
การเตรียมการกอ่ นเกิดภัย
1. การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

1.1 ประชาสัมพนั ธ์สร้างการรบั รู้สถานการณน์ ำ้ เพอื่ การเกษตร
1. ทำการประชาสมั พนั ธใ์ ห้เกษตรกร ในพ้ืนท่ี รบั รู้ถงึ สถานการณน์ ำ้ เพ่อื การเกษตร
2. ช่องทางการกระจายข่าว สำนักงานเกษตรจังหวัด/อำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน องค์กร

ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
2. ด้านการเตรยี มความพรอ้ ม

2.1 กำหนดพื้นที่เสี่ยงได้รับผลกระทบจากการขาดน้ำ กำหนดพื้นที่เสี่ยงที่ได้รับผลกระทบจาก
การขาดนำ้ โดยดจู ากพนื้ ทีท่ ่เี คยมีการรายงานผลกระทบ

2.2 สำรวจพื้นที่เพาะปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น สำรวจพื้นที่เพาะปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น พร้อมทั้งให้
คำแนะนำในการปฏิบตั ิเพ่อื ลดผลกระทบจากการขาดน้ำ
การเตรยี มการขณะเกิดภยั
3. การจัดการในภาวะฉุกเฉนิ (Emergency Management)

3.1 สำรวจพ้ืนทเ่ี ส่ียงได้รบั ผลกระทบจากการขาดน้ำ
1. ทำการสำรวจพชื ท่ีอยู่ในพื้นทเ่ี สี่ยงได้รับผลกระทบจากการขาดน้ำ ทกุ สัปดาห์ พร้อมท้ัง

รายงานให้หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ งทราบ เพือ่ ให้การชว่ ยเหลอื ในเบื้องตน้
2. สำรวจพื้นที่เพาะปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น พร้อมทั้งให้คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อลด

ผลกระทบจากการขาดน้ำ พร้อมทั้งรายงานใหห้ น่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งทราบ เพือ่ ใหก้ ารชว่ ยเหลือในเบือ้ งตน้
การเตรียมการหลังเกิดภัย
4. การฟนื้ ฟู (Recovery) และสรา้ งใหมใ่ ห้ดกี วา่ เดิม (Build back better)

4.1 สำรวจความเสียหายเบื้องต้น ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรที่ได้รับความเสียหายทราบ
และรบั แจง้ ขอ้ มูลความเสยี หาย ตามแบบ ฯลฯ

4.2 รวบรวมข้อมลู เสนอคณะกรรมการ ก.ช.ภ.อ./ก.ช.ภ.จ. ตามลำดับ

การเตรียมรบั สถานการณ์ (ดา้ นประมง)
การเตรยี มการกอ่ นเกิดภัย
1. การปอ้ งกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

1.1 ประชาสมั พันธ์การแจ้งเตอื นเกษตรกรในการเตรยี มปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาภัยแลง้ ลว่ งหนา้
ดำเนินการประชาสัมพันธส์ ร้างการรับรูก้ ับเกษตรกรผู้เพาะเล้ียงสตั ว์นำ้ ให้ทราบถงึ ข้อควร

ปฏิบัติในการเลี้ยงสัตว์น้ำ และการเฝ้าระวังโรคสัตว์น้ำในช่วงฤดูแล้ง ให้สามารถเตรียมตัวรับสถานการณ์ หาวิธีการ
ป้องกันแก้ไขตลอดจนมีการวางแผนการเลี้ยง เพื่อปรับลดขนาดการผลิต หรืองดเว้นการเลี้ยงสัตว์น้ำ
เพ่อื หลีกเลย่ี งความเสียหายทจ่ี ะเกดิ ขึ้นให้มากทส่ี ดุ โดยดำเนนิ การในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น สร้างการรบั รู้เพื่อลดความ

กษ.จว.อท. สว่ นท่ี 7 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง ปี 2564/65 ของจงั หวัดอ่างทอง

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 28

เสี่ยงจากภัยแล้งกับเกษตรกรโดยตรง, ผ่านเวทีการประชุมกำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน, แจ้งผ่านประชาสัมพันธ์จังหวัด, แจ้งผ่าน
ผู้นำชุมชน, แจ้งผ่านประมงอาสา, ผ่านโครงการต่าง ๆ, ประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนทางสถานีวิทยุต่างๆ และ
สถานีโทรทัศน์ รวมถึงส่อื ตา่ ง ๆ ทง้ั น้ี รวมถงึ การเฝ้าระวังสตั วน์ ำ้ ในที่รกั ษาพชื พนั ธุ์ โครงการปลาหน้าวัด เป็นตน้

๒. ด้านการเตรยี มความพร้อม (Preparedness)
2.1 ประชาสัมพันธ์การแจ้งเตือนเกษตรกรในการเตรียมการป้องกัน และแก้ไขปัญหาภัยแล้ง

ล่วงหน้า และแนะนำวิธีการป้องกันและแกไ้ ขปญั หา
1. ให้เกษตรกรตดิ ตามข่าวสารพยากรณอ์ ากาศจากทางราชการอยา่ งใกลช้ ดิ
2. ให้เกษตรกรปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ที่ และต้องมีความระมดั ระวังโรคสตั ว์นำ้

ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในการเลย้ี งสัตวน์ ำ้ ในชว่ งฤดแู ลง้
กรณที ่เี ล้ียงสัตวน์ ำ้ ในบอ่ ดิน ดงั นี้

1. ควรปรับลดขนาดการผลติ หรอื งดเว้นการเล้ยี งสตั ว์น้ำ โดยทำการตากบ่อและตกแต่งบ่อเล้ียง
ในชว่ งฤดแู ลง้ แทน เพ่อื เตรียมไวเ้ ลี้ยงสตั ว์นำ้ ในรอบตอ่ ไป

2. หากจำเป็นต้องเล้ียงสัตว์น้ำควรคัดเลือกพันธุ์สัตว์น้ำที่มีความแข็งแรง จากฟาร์มผู้ผลิตที่ได้
มาตรฐานและเชื่อถอื ได้

3. ควบคุมการใช้น้ำและรักษาปริมาณน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำให้มีการสูญเสียน้อยที่สุด ป้องกัน
การรั่วซึม หรือจัดทำรม่ เงาให้กบั บ่อเลย้ี งสตั วน์ ้ำ

4. จดั เตรียมหาแหลง่ นำ้ สำรองไวใ้ ช้เพิ่มเติม
5. ควรปล่อยสัตว์น้ำลงเลี้ยงในปริมาณหนาแน่นน้อยกว่าปกติ และควรปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำที่มี
ขนาดใหญ่เพอ่ื ลดระยะเวลาการเลี้ยงให้น้อยลง
6. ควรเลอื กใชอ้ าหารสตั ว์นำ้ ที่มคี ณุ ภาพดีและให้ในปรมิ าณทเ่ี หมาะสม
7. ลดปรมิ าณอาหารสัตวน์ ้ำลง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ทีเ่ ปน็ อาหารสดเพอ่ื ป้องกันนำ้ เน่าเสีย
8. ตอ้ งเพิ่มความสนใจ สงั เกตอาการต่าง ๆ ของสตั ว์น้ำที่เกิดขนึ้ อย่างใกล้ชิด หากมีอาการผิดปกติ
จะได้แกไ้ ขและใหก้ ารรักษาไดท้ ันทว่ งที
9. ควรงดเว้นการขนถ่ายสตั ว์น้ำ ถ้าจำเป็นต้องระมัดระวังให้มากเนื่องจากจะมีผลกระทบกับการ
กินอาหารและการเจริญเติบโตของสตั วน์ ำ้ โดยตรง

10. จับสตั วน์ ำ้ ท่ไี ดข้ นาดขึน้ มาจำหน่ายหรือบรโิ ภค เพอื่ ลดปรมิ าณสตั วน์ ้ำภายในบอ่
11. ควรหมั่นตรวจสุขภาพสัตว์น้ำอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบสิ่งผิดปกติ ให้รีบหาสาเหตุและ
แก้ไขได้ทันทีในขณะเดียวกันควรแจ้งให้ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงทราบ เพื่อที่จะได้หา
มาตรการป้องกันการแพร่กระจายโรค กรณีทมี่ สี ัตวน์ ้ำปว่ ยตายควรกำจัดโดยการฝังหรือเผา ไม่ควรทิ้งสัตว์น้ำป่วย
ในบริเวณบ่อที่เลี้ยงเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นการแพร่กระจายเชื้อโรคทำให้การระบาดของโรคเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว
กรณีทเี่ ลย้ี งสตั วน์ ำ้ ในกระชัง ดงั น้ี
1. ควรปรับลดขนาดการผลิต หรืองดเว้นการเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยทำความสะอาดและซ่อมแซม
กระชงั ในช่วงฤดูแลง้ แทน เพ่ือเตรยี มไว้เล้ยี งสตั ว์นำ้ ในรอบตอ่ ไป
2. หากจำเป็นต้องเลี้ยงสัตว์น้ำควรคัดเลือกพันธ์ุสัตว์น้ำที่มีความแข็งแรง จากฟาร์มผู้ผลิตที่ได้
มาตรฐานและเชอ่ื ถือได้
3. ควรเลือกแหล่งน้ำที่ตั้งกระชังที่มีระดับความลึกเพียงพอ เมื่อตั้งกระชังแล้วพื้นกระชังควรสูง
จากพนื้ นำ้ ไม่นอ้ ยกว่า 50 เซนตเิ มตร เพอ่ื ใหน้ ำ้ ถา่ ยเทได้สะดวกตลอดเวลา

กษ.จว.อท. ส่วนที่ 7 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 ของจังหวัดอา่ งทอง

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 29

4. ควรจัดวางกระชังให้เหมาะสม ไม่วางชิดกันจนหนาแน่นมากเกินไป เพราะจะไปขัดขวาง
การไหลของกระแสน้ำ

5. ควรปล่อยสัตว์น้ำลงเลี้ยงในปริมาณหนาแน่นน้อยกว่าปกติ และควรปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำที่มี
ขนาดใหญ่เพื่อลดระยะเวลาการเลี้ยงให้น้อยลง ก่อนปล่อยสัตว์น้ำลงเลี้ยงในกระชัง ควรปรับสภาพแวดล้อม
โดยเฉพาะคุณสมบัติของน้ำในภาชนะลำเลียงสัตว์น้ำ ควรมีคุณสมบัติใกล้เคียงกันกับน้ำท่ีต้องการปล่อยสัตว์น้ำ
เชน่ อณุ หภูมิ คา่ ความเปน็ กรดดา่ ง เป็นต้น

6. ควรเลอื กใชอ้ าหารสัตว์น้ำทีม่ คี ุณภาพดีและใหใ้ นปรมิ าณทีเ่ หมาะสม
7. ลดปรมิ าณอาหารสัตวน์ ้ำลง โดยเฉพาะอย่างย่งิ ท่เี ปน็ อาหารสดเพ่ือป้องกันนำ้ เนา่ เสยี
8. ต้องเพ่ิมความสนใจ สังเกตอาการต่าง ๆ ของสัตว์น้ำที่เกิดขึ้นอย่างใกล้ชิด หากมีอาการ
ผิดปกติจะได้แกไ้ ขและให้การรกั ษาไดท้ นั ทว่ งที
9. ควรทำความสะอาดกระชังสม่ำเสมอ เพื่อกำจัดตะกอนและเศษอาหาร ซึ่งเป็นการตัดวงจรชีวิต
ปรสติ และเชอ้ื โรค นอกจากนชี้ ว่ ยให้กระแสนำ้ ไหลผา่ นกระชงั ได้ดี มีผลต่อการเจริญเติบโตและสขุ ภาพสัตว์น้ำ
10. ควรงดเว้นการขนถา่ ยสัตว์นำ้ ถา้ จำเปน็ ตอ้ งระมดั ระวงั ใหม้ ากเนอื่ งจากจะมีผลกระทบกับการ
กนิ อาหารและการเจรญิ เติบโตของสัตวน์ ำ้ โดยตรง
11. จับสัตวน์ ำ้ ท่ไี ดข้ นาดขน้ึ มาจำหน่ายหรือบริโภค เพอื่ ลดปรมิ าณสตั วน์ ้ำภายในกระชงั
12. ควรหมั่นตรวจสุขภาพสัตว์น้ำอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบสิ่งผิดปกติ ให้รีบหาสาเหตุและแก้ไข
ได้ทันที ในขณะเดียวกันควรแจ้งให้ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงทราบ เพื่อที่จะได้หามาตรการปอ้ งกัน
การแพรก่ ระจายโรค กรณีทีม่ ีสัตวน์ ำ้ ป่วยตายควรกำจัดโดยการฝังหรือเผา ไม่ควรทงิ้ สตั ว์นำ้ ปว่ ยในบริเวณแม่น้ำที่
เลยี้ งเป็นอยา่ งยิ่ง เพราะเป็นการแพร่กระจายเช้อื โรคทำให้การระบาดของโรคเป็นไปได้อย่างรวดเรว็
13. การเฝา้ ระวังโรคสตั ว์น้ำในชว่ งฤดแู ลง้ เน่ืองจากในช่วงฤดูแล้งอุณหภูมิอากาศและน้ำสูงขึ้น
มาก ปริมาณน้ำในแหล่งน้ำต่าง ๆ ลดน้อยลงช่วงนี้ถ้ามีฝนตกอุณหภูมิอากาศและน้ำจะเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็ว สภาวะต่าง ๆ ดังกล่าว จะมีผลกระทบต่อสุขภาพสัตว์น้ำที่เลี้ยงโดยตรง โดยทำให้สัตว์น้ำเครียด
อ่อนแอและยอมรับเชือ้ โรคไดง้ า่ ย โดยเฉพาะการเลย้ี งสัตวน์ ้ำในกระชังในแม่น้ำ ลำนำ้ สาขา อา่ งเกบ็ นำ้ และคลอง
สง่ น้ำตา่ ง ๆ
โรคที่ควรเฝ้าระวังในหนา้ ร้อน ได้แก่ โรคที่เกิดจากปรสิต เช่นเห็บระฆัง ปลิงใส เห็บปลา เหาปลา
และหมัดปลา เป็นต้น โรคที่เกิดจากแบคทีเรีย เช่น สเตรปโตคอสคัส (Streptococcus sp.) แอโรโมแนส
(Aeromonas hydrophila) วิบริโอ (Vibrio sp.) เป็นต้น แบคทีเรียดังกล่าว จัดอยู่ในกลุ่มแบคทีเรียนักฉวยโอกาส
Opportunistic bacteria) ทพ่ี บและอาศยั อยู่ตามแหลง่ น้ำทัว่ ไป โดยจะเขา้ ทำอนั ตรายสตั ว์น้ำเมือ่ สัตว์น้ำอ่อนแอ
และสามารถแพร่กระจายได้รวดเร็วโดยผ่านกระแสเลือดที่กระจายอยู่ทั่วตัว ความรุนแรงของโรค ขึ้นอยู่กับความ
แข็งแรงของสตั ว์น้ำ ถา้ สัตว์นำ้ มีภมู ิตา้ นทานโรคตำ่
ในขณะที่ภาพแวดล้อม (คุณภาพน้ำ) เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วหรือมีคุณสมบัติของน้ำไม่
เหมาะสมต่อการดำรงชวี ิตของสัตวน์ ้ำ
สัตว์น้ำที่มีปรสิต มีลักษณะอาการ เช่น ว่ายน้ำผิดปกติ แฉลบ หรือรวมกลุ่มที่ผิวน้ำ หายใจถี่
มีจุดแดงแผลถลอกตามผวิ ลำตวั เปน็ ต้น
สัตว์น้ำที่ติดเชื้อแบคทีเรีย มีลักษณะอาการ เช่น ซึม ไม่กินอาหาร ว่ายน้ำควงสว่าน มีแผล
เลอื ดออกตามผิวลำตัวและอวัยวะต่าง ๆ มีตุม่ ฝีทีบ่ ริเวณใตค้ างและผวิ ลำตัว ตาขุ่น โปน ครบี กร่อน ทอ้ งบวม เปน็ ตน้

กษ.จว.อท. ส่วนที่ 7 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 ของจงั หวดั อา่ งทอง

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 30

การรกั ษาโรค
1. โรคปรสิต โดยการตัดวงจรชีวิตปรสิต กำจัดตะกอนและเศษอาหารที่เกาะติดตามกระชังซ่ึง

เปน็ อาหารท่ีอย่อู าศัยและสืบพันธุว์ างไข่ และใชส้ ารเคมี เชน่ ไตรคลอรฟ์ อน (กลุม่ ยาฆ่าแมลง) อัตราการใช้ 0.5 -
0.75 ส่วนในล้านส่วน (0.5-0.75 กรัมต่อปริมาตรน้ำ 1 ตัน) ทำทุก ๆ 1 สัปดาห์ ทำซ้ำ ติดต่อกัน 3 - 4 ครั้ง
หรือ ฟอร์มาลินเข้มข้น 200-250 ส่วนในล้านส่วน (พีพีเอ็ม) (200 - 250 มิลลิลิตร (ซีซี) ต่อปริมาตรนำ้ 1 ตัน)
นาน 15 - 30 นาที “ถ้าเป็นปลาที่เลีย้ งในกระชัง ควรนำปลาขนึ้ จากกระชังชัว่ คราว พกั ใสถ่ งั หรอื บ่อ หรือใช้ผา้ ใบ
ลอ้ มกระชังปลาแล้วจงึ ใชส้ ารเคมี ไมค่ วรใส่ยาหรอื สารเคมีลงในแหลง่ นำ้ โดยตรง”

2. โรคตดิ เช้อื แบคทเี รยี โดยใช้ยาต้านจุลชีพ ผสมอาหารให้กนิ ตามคำแนะนำในฉลากยา
3. ควบคุมการใช้น้ำและรักษาปริมาณน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำให้มีการสูญเสียน้อยที่สุด ป้องกัน
การร่ัวซึม หรอื จัดทำรม่ เงาใหก้ ับบอ่ เลี้ยงสตั ว์น้ำ
4. จัดเตรยี มหาแหล่งน้ำสำรองไวใ้ ช้เพิ่มเตมิ
5. ควรปล่อยสัตว์น้ำลงเลี้ยงในปริมาณหนาแน่นน้อยกว่าปกติ และควรปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ
ที่มีขนาดใหญ่เพอื่ ลดระยะเวลาการเลี้ยงให้นอ้ ยลง
6. ควรเลือกใช้อาหารสัตว์น้ำที่มคี ุณภาพดีและให้ในปริมาณทเ่ี หมาะสม
7. ลดปริมาณอาหารสตั ว์น้ำลง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ทเ่ี ปน็ อาหารสดเพอ่ื ป้องกันนำ้ เนา่ เสีย
8. ต้องเพ่ิมความสนใจ สังเกตอาการต่าง ๆ ของสัตวน์ ้ำท่เี กิดข้ึนอย่างใกล้ชิด หากมีอาการผิดปกติ
จะไดแ้ กไ้ ขและให้การรักษาไดท้ ันท่วงที
9. ควรงดเวน้ การขนถา่ ยสตั วน์ ำ้ ถ้าจำเป็นต้องระมดั ระวังให้มากเน่ืองจากจะมผี ลกระทบกับการกนิ อาหาร
และการเจริญเตบิ โตของสตั วน์ ้ำโดยตรง

10. จบั สัตว์นำ้ ที่ไดข้ นาดขน้ึ มาจำหน่ายหรอื บรโิ ภค เพ่ือลดปริมาณสัตวน์ ำ้ ภายในบ่อ
11. ควรหมั่นตรวจสุขภาพสัตว์น้ำอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบสิ่งผิดปกติ ให้รีบหาสาเหตุและ
แก้ไขได้ทันที ในขณะเดียวกันควรแจ้งให้ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงทราบ เพื่อที่จะได้หา
มาตรการป้องกันการแพร่กระจายโรค กรณีท่มี สี ตั วน์ ้ำปว่ ยตายควรกำจัดโดยการฝงั หรือเผา ไม่ควรทิ้งสัตว์น้ำป่วย
ในบริเวณบ่อที่เลี้ยงเป็นอย่างยง่ิ เพราะเปน็ การแพร่กระจายเชื้อโรคทำใหก้ ารระบาดของโรคเป็นไปได้อย่างรวดเรว็

กรณีทีเ่ ล้ียงสัตว์น้ำในกระชัง ดงั นี้
ควรปรับลดขนาดการผลิต หรืองดเว้นการเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยทำความสะอาดและซ่อมแซมกระชัง

ในช่วงฤดแู ล้งแทน เพื่อเตรียมไว้เล้ยี งสัตวน์ ้ำในรอบต่อไป
การเตรยี มการขณะเกดิ ภยั
๓. ด้านการจัดการในภาวะฉกุ เฉิน (Emergency Response)

3.1 การสำรวจตรวจสอบและรวบรวมขอ้ มลู สตั ว์นำ้ ที่ประสบปญั หาภัยแล้ง
1. การรวบรวมขอ้ มลู ผเู้ พาะเลย้ี งสัตวน์ ้ำท่ีไดร้ บั ความเสยี หายจากภาวะภัยแล้งเพ่ือให้ความ

ช่วยเหลือต่อไป
2. การใหค้ ำแนะนำในการแกไ้ ขปญั หาตามท่เี กษตรกรรอ้ งขอ

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 7 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 ของจงั หวดั อา่ งทอง

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 31

การเตรยี มการหลังเกิดภยั
4. การฟ้ืนฟู (Recovery) และสรา้ งใหมใ่ ห้ดีกว่าเดิม (Build back better)

4.1 ให้เกษตรกรปฏิบัตติ ามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ที่ และตอ้ งมีความระมัดระวงั โรคสตั ว์นำ้

การเตรยี มรับสถานการณ์ (ด้านปศสุ ตั ว)์

การเตรียมการกอ่ นเกดิ ภัย
1. การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

1.1 แจ้งเกษตรกรให้กกั เกบ็ นำ้ ไว้ใชใ้ นฤดแู ล้ง
1. แจ้งเกษตรกรใหก้ กั เก็บนำ้ ไวใ้ นฤดูแลง้ เพื่อสำหรับเล้ยี งสตั ว์

2. การเตรยี มความพร้อม (Preparedness)
2.1 จดั เตรยี มบคุ ลากร
ประชุมเจ้าหน้าที่ของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด/ ปศุสัตว์อำเภอ เพื่อจัดตั้งหน่วยเฉพาะกิจ

ชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภัย
2.2 การจัดเตรียมวัสดอุ ปุ กรณแ์ ละยานพาหนะ
2.3 การจดั เตรียมสถานท่ีอพยพสตั วส์ ู่ทป่ี ลอดภัยหรือการสร้างแหล่งเก็บกักนำ้ ถาวรสำหรับสัตว์ในฤดแู ล้ง
2.4 การเตรียมเสบียงสตั ว์ ประสานกบั ศูนย์วิจยั และพฒั นาอาหารสัตว์ จดั เตรยี มหญ้าแหง้
2.5 การเฝา้ ระวัง จดั เตรียมเจา้ หน้าทผ่ี รู้ ับผิดชอบ กำหนดวิธีการปฏิบัตแิ ละแนวทางสงเคราะห์

ผปู้ ระสบภัยและการเคล่อื นยา้ ยสัตวไ์ ปยงั สถานทีป่ ลอดภยั
2.6 ประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงสัตว์จัดหาแหลง่ สำรองเสบยี งอาหารสัตว์

ตลอดจนคอยสดับรับฟังข่าวสารเตือนภัยจากหนว่ ยงานตา่ งๆ ของจังหวัดอ่างทองในการแจง้ เตอื นภัย
การเตรียมการขณะเกิดภัย
3. การจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Management)

3.1 ประชาสมั พนั ธ์แจง้ เตือนภัยกบั เกษตรกร
3.2 การอพยพเคลื่อนย้ายสัตว์ไปสู่ที่ปลอดภัย ปศุสัตว์จังหวัดประสานงานและสั่งการให้
เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์อำเภอที่รับผิดชอบแต่ละอำเภอช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบภัยในการเคลื่อนย้ายสัตว์ไปยัง
สถานทไ่ี ดร้ ับผลกระทบ
3.3 ให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพสตั ว์ และรกั ษาพยาบาลสตั ว์ป่วย
3.4 การสนับสนุนเสบียงสตั ว์กรณีขาดแคลน สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดและอำเภอสำรองเสบียง
อาหารสัตว์,เวชภัณฑ์,อาหารข้น และแร่ธาตุก้อนใช้ในการช่วยเหลือกรณีสัตว์ป่วยและหากจำเป็นและรีบด่วน
ดำเนนิ การใช้เงินทดรองราชการช่วยเหลอื เกษตรกรผปู้ ระสบภยั
3.5 การใหค้ วามชว่ ยเหลอื เกษตรกรขณะเกิดภยั ใช้เงนิ ทดรองราชการ
การเตรียมการหลงั เกดิ ภยั
4. การฟนื้ ฟู (Recovery) และสรา้ งใหม่ให้ดกี ว่าเดิม (Build back better)
4.1 สำรวจความเสียหาย สำนกั งานปศุสตั วจ์ งั หวัด/อำเภอเจ้าหน้าทีอ่ อกไปสำรวจความเสียหาย
ท่ีเกิดข้นึ และช่วยเหลอื เกษตรกรผ้ปู ระสบภยั พิบัติตามระเบยี บและหลกั เกณฑ์เพ่อื ฟ้ืนฟอู าชพี และสัตวเ์ ลี้ยงของเกษตรกร
4.2 ฟ้นื ฟสู ุขภาพสตั ว์
4.3 ให้ความชว่ ยเหลอื เกษตรกร โดยใชเ้ งินทดรองราชการ

กษ.จว.อท. สว่ นท่ี 7 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในชว่ งฤดูแล้ง ปี 2564/65 ของจังหวดั อ่างทอง

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในชว่ งฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 32

การเตรียมรับสถานการณ์ ดา้ นนำ้ (ชลประทาน)
การเตรียมการก่อนเกดิ ภัย
1. ดา้ นการป้องกนั และลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

1.1 รณรงค์ใหร้ าษฎรตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของนำ้ ในการบริหารจัดการน้ำชว่ งฤดแู ล้ง
1. ประชาสมั พนั ธท์ างสือ่ วทิ ยุและส่ืออื่นๆ
2. ประชมุ ราษฎรในพนื้ ที่และหนว่ ยงานภายในท้องถิ่นท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับผลกระทบ
3. ประชุมหารือเตรียมความพร้อมกับเจ้าหน้าที่จากหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

ประกอบด้วย สำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัดอ่างทอง องค์การบริหารสว่ นตำบล เทศบาล เป็นต้น
2. ดา้ นการเตรียมความพร้อม (Preparedness)

2.1 การจัดทำฐานขอ้ มูล
1. สำรวจพ้นื ท่ี ๆ คาดว่าจะไดร้ บั ผลกระทบจากภยั แล้ง
2. จดั ทำบัญชขี ้อมลู เคร่อื งมือ ยานพาหนะ อปุ กรณต์ ่างๆ

2.2 จดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารบรหิ ารจดั การนำ้
การบรหิ ารจดั การน้ำ

1. สำรวจพ้ืนท่เี สยี่ งภยั ต่อภัยแล้ง และไฟปา่
2. สำรวจสภาพอาคารชลประทานในพืน้ ที่
3. สำรวจและอา่ นค่าระดับน้ำ ณ อาคารชลประทานทุกวันเพ่ือคำนวณปรมิ าณน้ำท่ีอยู่ภายในคลอง
ตดิ ตามข่าวพยากรณ์อากาศจากสื่อต่างๆอยา่ งใกล้ชิด
การบริหารจัดการนำ้ นอกเขตพ้นื ที่ชลประทาน (ราษฎรจะใช้ น้ำจากโครงการชลประทานขนาดเล็ก )
1. สำรวจสภาพอาคารชลประทาน เชน่ ประตรู ะบายทราย ท่อ ส่งนำ้ คสู ่งน้ำ ชำรุดเสยี หายหรือไม่
2. สำรวจสภาพนำ้ ท่าที่ไหลเข้าและระดับน้ำแต่ละโครงการ ว่ามีมากน้อยเพียงใด
3. สังเกต สภาพแวดล้อมท่ัวไป เช่น สภาพป่าตน้ น้ำวา่ มีการบกุ รุกทำลายหรือไม่
4. ติดตามข่ายพยากรณ์อากาศจากสอ่ื ต่างๆ อยา่ งใกลช้ ดิ

- จดั ตั้งศูนย์ชว่ ยเหลือและแกไ้ ขปัญหาภยั แล้ง
- ประชุมเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าท่ขี อง สำนกั งานชลประทานท่ี 12
5. ประชุมเตรียมความพร้อมกับเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
สำนักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดอ่างทอง องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล เป็นต้น
- จดั ทำคำสัง่ เพอื่ ใหเ้ จ้าหนา้ ทโี่ ครงการทราบถงึ บาบาท และ หน้าทีร่ ับผดิ ชอบ
- ให้ความรว่ มมือกับทุกๆหนว่ ยงานในการแก้ปญั หาภัยแลง้ ทีเ่ กดิ ข้นึ ตามหนา้ ทีท่ ร่ี บั ผิดชอบ
2.3 การสนบั สนนุ ดา้ นเครือ่ งสูบน้ำ ยานพาหนะ และอปุ กรณอ์ น่ื ๆ
1. ทดสอบเครือ่ งสูบนำ้ ตามสถานีสูบนำ้ ใหส้ ามารถใชง้ านได้
2. เตรยี มพนื้ ท่ใี นการตดิ ตัง้ เคร่ืองสบู น้ำเคลือ่ นที่
3. จดั ทำแผนขอเครอื่ งสบู นำเคล่อื นท่จี ากหน่วยงานหลักท่ี รบั ผดิ ชอบ
2.4 การพฒั นาการแจง้ เตือนภัย
1. การพัฒนาระบบสื่อสารให้พร้อมทั้งภายในองค์กร ชลประทาน และนอกองค์กรให้
สะดวก และรวดเรว็ ไดแ้ กร่ ะบบอินเตอรเ์ น็ต ระบบวิทยสุ ่อื สาร ระบบ Application Line
2. เสาระดับน้ำที่อาคารชลประทานต่างๆ สามารถอ่านได้ ชัดเจน มีการจัดทำแผ่นป้ายสี
บอกสภาพน้ำใหช้ ดั เจนงา่ ยต่อการเขา้ ใจ

กษ.จว.อท. สว่ นที่ 7 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในช่วงฤดแู ลง้ ปี 2564/65 ของจงั หวดั อา่ งทอง

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 จังหวัดอ่างทอง 33

การเตรียมการขณะเกิดภัย
3. การจดั การในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management)

3.1 การสือ่ สาร
3.2 การระดมกำลังและประสานงานกบั หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง

1. จดั เตรยี มน้ำมนั ยานพาหนะ ให้พร้อมปฏบิ ตั งิ าน
2. จัดเตรียมทำห้อง war room เพอื่ รายงานสถานการณ์ โดยต่อเน่อื งตามสถานการณ์
การเตรียมการหลังเกดิ ภัย
4. การฟื้นฟู (Recovery) และสรา้ งใหม่ให้ดกี วา่ เดมิ (Build back better)
4.1 การฟืน้ ฟูโครงการพน้ื ทีค่ วามเสยี หาย และการให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั
1. สำรวจสภาพพ้นื ท่ีที่เสียหาย
2. สำรวจรายชอ่ื เกษตรกรในพืน้ ทที่ ไ่ี ด้รบั ความเสยี หาย
3. แจง้ หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบ ทราบเพอื่ หาแนวทางในการชว่ ยเหลอื
4.2 การรายงานและตดิ ตามประเมินผล
จัดทำรายงานสรุปและประเมินสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นเพื่อที่จะได้พัฒนาแก้ไขปัญหาต่างๆท่ี
เกดิ ขึ้นเพือ่ จะได้นำไปปรับปรุงใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านสำเรจ็ ลลุ ว่ งในคร้ังตอ่ ไป

การเตรยี มรบั สถานการณ์ (ดา้ นอ่นื ๆ)

สำนกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง

การเตรยี มการกอ่ นเกดิ ภยั
1. การป้องกนั และลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

1.1 ประเมนิ ความเสีย่ งและผลกระทบหากเกิดสถานการณภ์ ัยแล้ง
ประเมินความเสี่ยงพื้นที่เกิดภัยแล้ง และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นโดยใช้ข้อมูลจาก

สถานการณ์ในปีท่ีผ่านมา
1.2 จดั ทำฐานข้อมูลทีเ่ กย่ี วข้องหากเกดิ สถานการณ์ภยั แลง้
ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น พื้นที่เพาะปลูก พื้นที่เลี้ยงสัตว์ บัญชี

เคร่อื งมือ/อปุ กรณ์ รายชอื่ เจ้าหนา้ ท่ผี ูเ้ ก่ยี วข้อง เพื่อเตรียมการรบั มอื กบั สถานการณ์ภยั แล้ง
2. ด้านการเตรียมความพร้อม (Preparedness)

2.1 จดั ประชมุ คณะทำงานฯเพื่อเตรยี มการ ประสานส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องประชุมเพื่อเตรยี มการ
2.2 จดั ทำแผนปฏิบัติการชว่ ยเหลือเกษตรกร กรณีภัยแลง้
2.3 การประเมินสถานการณ์ภัยแล้ง จัดประชุมส่วนราชการและผู้ที่เกี่ยวข้องระดับจังหวัด
ท่ีเพื่อรับทราบการเร่มิ เกิดภัยและประเมนิ สถานการณ์ภัยเบื้องตน้
2.4 ประชาสัมพันธส์ ร้างการรับรใู้ ห้เกษตรกรและประชาชนทว่ั ไปทราบ ประชาสัมพันธ์สร้างการ
รับรู้ การใช้น้ำอย่างประหยัดการวางแผน การปลูกพืชในฤดูร้อน การดูแลรักษาไม้ยืนต้นประมง ปศุสัตว์
แกเ่ กษตรกร และประชาชนทว่ั ไปผ่านช่องทางตา่ งๆ เชน่ สถานวี ิทยุ เครอื ขา่ ยอาสาสมัครต่างๆ การลงพื้นท่ีเนื่อง
ในโอกาสต่างๆ

กษ.จว.อท. สว่ นท่ี 7 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดูแลง้ ปี 2564/65 ของจงั หวดั อา่ งทอง

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 34

การเตรียมการขณะเกดิ ภยั
3. การจดั การในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management)

3.1 การเตือนภัย หาการด์ เตือนภัยเพิ่มเกย่ี วข้องผา่ นสื่อตา่ งๆในจงั หวัด
3.2 การขอรบั ความช่วยเหลอื จากศนู ย์ปฏิบตั กิ ารฝนหลวงภาคกลาง โดยจดั ทำหนังสือเพ่ือขอรับ
ความช่วยเหลอื จากสำนักฝนหลวงการบินเกษตรภาคกลาง เพื่อทำฝนเทยี มเพมิ่ ปริมาณนำ้ ตน้ ทนุ ในพืน้ ทต่ี ่างๆ
3.3 ลงพ้นื ทีต่ ิดตามสถานการณ์
3.4 รายงานสถานการณใ์ หก้ ระทรวงฯ ทราบ
การเตรียมการหลงั เกิดภยั
4. การฟ้นื ฟู (Recovery) และสร้างใหมใ่ ห้ดกี วา่ เดิม (Build back better)
4.1 ใหค้ วามช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภัย

1. คอื เรอื่ งประชุมคณะกรรมการ ก.ช.ภ.จ. เพ่ือพิจารณาใหค้ วามช่วยเหลอื
2. สรุปผลการให้ความช่วยเหลือคณะกรรมการ ก.ช.ภ.อ. และก.ช.ภ.จ. ให้หน่วยงานที่
เก่ยี วขอ้ งและกระทรวงฯทราบ

สถานีพัฒนาท่ดี ินอา่ งทอง
การเตรียมการกอ่ นเกดิ ภยั
1. เรอื่ งการป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

1.1 สรา้ งแหล่งน้ำเพ่ือใช้ในฤดแู ลง้ ดำเนินการสรา้ งแหลง่ นำ้ เพอื่ ใช้ในฤดแู ล้ง
2. ด้านการเตรยี มความพร้อม (Preparedness)

2.2 สำรวจแหลง่ นำ้ สาธารณะขนาดเลก็
1. ประสานงานกบั หมอดินอาสาและองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ พนื้ ที่
2. ประสานงานกับหมอดนิ อาสาและเจา้ หนา้ ทพ่ี นื้ ที่

การเตรียมการขณะเกดิ ภัย
3. การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Response)

3.1 สำรวจความเสยี หายและหาวธิ ีการแก้ไข
1. ประสานงานกับหมอดินอาสาและองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินพ้ืนท่ี
2. ประสานงานกบั หมอดินอาสารถเจ้าหน้าทพี่ ้ืนท่ี
3. ประสานงานกับชลประทานในพ้ืนท่ี

การเตรยี มการหลังเกดิ ภยั
4. ดา้ นการฟน้ื (Recover) และสรา้ งใหม่ใหด้ ีกวา่ เดมิ (Build back better)

4.1 สำรวจ ประเมินความเสยี หายและหาวธิ กี ารแก้ไข
ประสานงานกับหน่วยงานท่เี กี่ยวข้องและหมอดินอาสาเพื่อสำรวจความเสียหาย

4.2 ดำเนินการแก้ไข จดั ปจั จัยของกรมฯ แนะงานโครงสรา้ งฯ เพ่ือช่วยเหลอื เกษตรกร
ประสานงานกบั หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องเพือ่ ให้ความชว่ ยเหลอื ตามภารกิจ

4.3 ใหค้ ำแนะนำในการจัดการดนิ เพ่ือปลูกพืช
ประสานงานกบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องเพ่ือให้คำแนะนำแก่เกษตรกรในพ้นื ท่ี

กษ.จว.อท. สว่ นที่ 7 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ลง้ ปี 2564/65 ของจังหวดั อา่ งทอง

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 35

สำนกั งานการปฏริ ูปทด่ี ินจงั หวัดอ่างทอง
การเตรียมการก่อนเกดิ ภัย
1. ด้านการป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

1.1 ศึกษาแนวทางป้องกนั และบรรเทาปัญหาภัยแล้ง
การประเมินความเสี่ยง โดยการประเมินภัยและความล่อแหลมเพื่อประเมินโอกาสหรือ

ความเป็นไปได้ที่จะเกิดภัยแล้งและผลกระทบที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณชน ทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อม
เพือ่ กำหนดมาตรการท่ีเหมาะสมในการป้องกนั แนะลดผลกระทบจากภัยแล้ง

1.2 จดั ทำฐานขอ้ มูลทจี่ ำเปน็ ตอ้ งใช้เมื่อเกดิ ภยั พบิ ตั ิข้ึน
1. ตรวจสอบและปรับปรุงข้อมูล พ้นื ท่ีเสย่ี งภัยและจัดทำแผนทเี่ สย่ี งภยั แล้งรวมทั้งข้อมูลแหล่งน้ำ
2. จัดทำฐานข้อมูลกำลังเจ้าหน้าที่อาสาสมัครเครือ่ งมือ เครื่องจกั ร เพื่อให้พร้อมเรยี กใช้งาน

ไดท้ นั ทเี ม่ือเกิดภัยแล้ง
3. พฒั นาระบบเครอื ข่ายฐานข้อมลู สารสนเทศด้านภยั แล้งให้มคี วามเช่อื มโยงระหวา่ งหน่วยงาน

1.3 ประชาสมั พนั ธ์
1. ประชาสัมพันธ์แจ้งให้ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งทราบเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน

เพื่อประหยดั การใช้นำ้ อปุ โภคและเพื่อการเกษตร
2. เสริมสร้างความรู้และตระหนักแก่ประชาชนเกี่ยวกับการเตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง

ประกอบดว้ ย กำหนดมาตรการประหยัดน้ำ การลดปริมาณการปลูกพชื ท่ตี อ้ งใช้น้ำมากในฤดแู ล้ง
2. ดา้ นการเตรยี มความพร้อม (Preparedness)

2.1 เตรยี มยานพาหนะและสงิ่ อำนวยความสะดวกทจ่ี ำเปน็ ให้พรอ้ มอยู่เสมอ
1. เตรยี มความพร้อมเครื่องจักร เครอื่ งมือยานพาหนะ วสั ดุ อุปกรณ์ทจี่ ำเป็น เพื่อให้ความ

ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ได้ทันทีเมื่อเกิดภยั
2. จดั ทำแผนการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาภยั แล้งรวมทงั้ การกำหนดมาตรการประหยัดนำ้
3. จัดทำแผนส่งเสริมการปลูกพืชฤดูแล้งให้สอดคล้องกับแผนการบริหารจัดการน้ำ

เพอื่ การเกษตรในฤดแู ล้งเพอ่ื ใหเ้ กษตรกรมรี ายไดอ้ ย่างตอ่ เนื่อง
4. วางแผนจัดเตรียมพันธุ์พืช ปุ๋ย และอื่นๆ ที่จำเป็น เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรเมื่อผลผลิต

การเกษตรได้รบั ผลกระทบจากภัยแล้ง
2.2 ประชาสัมพนั ธแ์ ละให้คำแนะนำการประกอบเกษตรกรรม ด้านพชื ด้านปศสุ ตั ว์ และดา้ นประมง
รณรงค์และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดภาชนะเก็บกักน้ำ และใช่น้ำ เพื่อการ

อุปโภคบริโภคอย่างประหยัด ถูกวิธี สุขลักษณะ รวมทั้งทำความเข้าใจและแนะนำให้เกษตรกรปลูกพืช ที่ใช้น้ำ
น้อยหรือพืชอ่นื ทดแทนในชว่ งฤดูแล้ง ตลอดจนบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสทิ ธิภาพขาดและแจ้งเตือนประชาชน
ในพ้นื ที่เตรยี มรับสถานการณ์ภัยแล้ง
การเตรยี มการขณะเกิดภยั
3. การจดั การในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response)

3.1 ให้การชว่ ยเหลือและสนับสนนุ เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ต่างๆ
1. ประสานงานกับกำนันผู้ใหญ่บ้านสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล อาสาปฏิรูปที่ดิน

ผู้แทนเกษตรกรและหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ในการควบคุมสถานการณ์ในพ้ืนท่ีเกดิ เหตุได้อย่างมเี อกภาพ รวดเร็ว และ
ทว่ั ถึง

กษ.จว.อท. ส่วนท่ี 7 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 ของจังหวดั อ่างทอง

แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 36

2. ประสานแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยแล้งตาม
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2562
การเตรียมการหลังเกิดภัย

การเตรยี มการหลังเกิดภัย
4. ดา้ นการฟื้น (Recover) และสร้างใหมใ่ หด้ กี วา่ เดมิ (Build back better)

4.1 สำรวจความเสียหายและความต้องการของชลประทาน
1. เรง่ สำรวจความเสยี หายจากภัยแลง้ รวมทง้ั ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ในด้าน

ต่างๆเพื่อให้การช่วยเหลือตามอำนาจหน้าที่โดยด่วน หากงบประมาณไม่เพียงพอ ให้ขอรับการสนับสนุนจาก
คณะกรรมการ ให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยพิบัตอิ ำเภอ/จงั หวัด (ก.ช.ภ.อ./ก.ช.ภ.จ.) ตามลำดับ

สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อา่ งทอง
การเตรียมการก่อนเกดิ ภัย
1. เรือ่ งการป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

ประชาสัมพันธผ์ ่านทกุ ชอ่ งทางรวมถงึ ใหค้ ำแนะนำทางวชิ าการ สรา้ งการรับรู้ใหแ้ กเ่ กษตรกรและ
ประชาชนทว่ั ไป ผ่านทกุ ชอ่ งทางของทุกสว่ นราชการ เช่น แผน่ พับ เว็บไซต์ของหนว่ ยงาน Facebook fanpage วิทยุ
การเตรยี มการขณะเกดิ ภัย
3. การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response)

ลงพื้นที่เยี่ยมเยียน สร้างขวัญและกำลังใจ รวมทั้งให้คำแนะนำในการดูแลและฟื้นฟูสภาพพื้นท่ี
เมือ่ เกิดภัย
การเตรียมการหลังเกดิ ภัย
4. ดา้ นการฟน้ื (Recover) และสรา้ งใหมใ่ หด้ ีกว่าเดมิ (Build back better)

โครงการสนับสนุนเงินกู้แก่สหกรณ์ที่ประสบสาธารณภัยและอื่นๆ ดำเนินการสำรวจข้อมูล
สมาชิกสหกรณท์ ่ปี ระสบสาธารณภยั และอ่นื ๆ

สำนกั งานตรวจบัญชีสหกรณ์อา่ งทอง
การเตรียมการก่อนเกดิ ภัย
เรอ่ื งการปอ้ งกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

ประชาสมั พันธผ์ ่านทุกชอ่ งทางรวมถงึ ใหค้ ำแนะนำทางวิชาการ สรา้ งการรบั รูใ้ ห้แก่เกษตรกรและ
ประชาชนทวั่ ไป ผ่านทุกชอ่ งทางของทุกสว่ นราชการ เชน่ แผ่นพับ เวบ็ ไซต์ของหนว่ ยงาน Facebook fanpage วทิ ยุ
การเตรียมการขณะเกิดภัย
3. การจดั การในภาวะฉุกเฉนิ (Emergency Response)

ลงพื้นที่เยี่ยมเยียน สร้างขวัญและกำลังใจ รวมทั้งให้คำแนะนำในการดูแลและฟื้นฟูสภาพพื้นที่
เม่ือเกิดภัย
การเตรยี มการหลงั เกิดภัย
4. ด้านการฟ้นื (Recover) และสร้างใหม่ใหด้ ีกว่าเดมิ (Build back better)

ให้การช่วยเหลือเยียวยา

กษ.จว.อท. สว่ นที่ 7 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ลง้ ปี 2564/65 ของจงั หวดั อา่ งทอง

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ลง้ ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 37

สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรเขต 7
การเตรียมการกอ่ นเกดิ ภัย
1. เร่ืองการปอ้ งกนั และลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

การประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ผ่านทุกช่องทางรวมถึงให้คำแนะนำทางวิชาการ สร้างการ
รับรู้ให้แก่เกษตรกรและประชาชนท่วั ไป ผ่านทกุ ช่องทางของทุกสว่ นราชการ เช่น แผ่นพบั เว็บไซต์ของหน่วยงาน
Facebook fanpage วิทยุ
2. ด้านการเตรียมความพรอ้ ม (Preparedness)

วิเคราะหภ์ าวะเศรษฐกิจการเกษตรรายไตรมาส เพือ่ ใชเ้ ปน็ ข้อมลู สำหรบั หน่วยงานต่างๆ สำนักงาน
การเตรยี มการขณะเกดิ ภยั
3. การจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Response)

ลงพนื้ ท่ีเยีย่ มเยียน สร้างขวญั และกำลังใจ รวมทั้งใหค้ ำแนะนำในการดูแลและฟนื้ ฟูสภาพพืน้ ที่เม่ือเกิดภัย
การเตรียมการหลังเกดิ ภยั
4. ด้านการฟน้ื (Recover) และสร้างใหมใ่ หด้ ีกวา่ เดมิ (Build back better)

ใหก้ ารช่วยเหลอื เยยี วยา

กษ.จว.อท. สว่ นที่ 7 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 ของจังหวัดอา่ งทอง

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 38

สว่ นที่ 8 การตดิ ตามและประเมนิ ผล

สว่ นที่ 8 การติดตามและประเมนิ ผล

กษ.จว.อท.

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในชว่ งฤดูแล้ง ปี 2564/65 จงั หวดั อ่างทอง 39

สว่ นท่ี 8
การติดตามและประเมนิ ผล

ข้อมูล หน่วยงาน ระยเวลา

1. สถานการณ์น้ำ

1.1 ในเขตชลประทาน โครงการชลประทานอา่ งทอง ทกุ วัน ภายในเวลา 11.00 น.

2. สถานการณ์การเพาะปลกู พืชฤดูแลง้ สนง.เกษตรจงั หวดั อ่างทอง ทุกวนั พธุ

โครงการชลประทานอา่ งทอง

3. การปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวง กรมฝนหลวงและการบินเกษตร ทกุ วนั ภายในเวลา 11.00 น.

4. การแจง้ เตอื น ทุกส่วนราชการ เม่ือมีการแจง้ เตือน

5. ผลกระทบดา้ นการเกษตร สนง.เกษตรจังหวดั อา่ งทอง ภายใน 24 ชวั่ โมง เมือ่ เกิดภัย และ
5.1 ด้านพืช ปรับปรงุ ข้อมูลทุกวันศุกร์ ภายในเวลา

5.2 ด้านประมง สนง.ประมงจังหวัดอา่ งทอง 15.00 น.
5.3 ด้านปศุสตั ว์ สนง.ปศสุ ัตว์จังหวัดอ่างทอง

6. ข้อพพิ าท สนง.เกษตรและสหกรณ์จงั หวัด ภายใน 24 ชวั่ โมง เมื่อเกิดภัย
อ่างทอง

7. ผลการดำเนนิ งานตาม ทุกส่วนราชการ ทุกวันที่ 1 และ 15 ของเดอื น
แผนงาน/โครงการ

ส่วนที่ 8 การติดตามและประเมนิ ผล

กษ.จว.อท.

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในชว่ งฤดูแลง้ ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 40

ส่วนท่ี 9 บัญชียานพาหนะ เครอื่ งจกั ร วัสดอุ ุปกรณ์
เคร่อื งมือ เคร่ืองใช้

ส่วนท่ี 9 บญั ชยี านพาหนะ เคร่ืองจกั ร วัสดอุ ุปกรณ์ เครอื่ งมอื เครอื่ งใช้

กษ.จว.อท.

แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในชว่ งฤดูแล้ง ปี 2564/65 จังหวดั อ่างทอง 41

ส่วนท่ี 9
บญั ชยี านพาหนะ เครือ่ งจกั ร วัสดุอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้

บัญชที รัพยากรเพ่ือการเผชญิ เหตภุ ัยแล้ง

รายการ จำนวน หน่วยงานรับผดิ ขอบ จุดท่ีตัง้

1. รถบรรทุกนำ้ 1 โครงการชลประทานอา่ งทอง หมทู่ ี่ 3 ต.คลองขนาก อ.วเิ ศษชยั ชาญ
2. เครอื่ งสบู นำ้ 2
โครงการสง่ นำ้ ฯ ชัณสตู ร หมู่ที่ 1 ต.ไผ่วง อ.วิเศษชยั ชาญ
- ขนาด 8 น้วิ 2 หมทู่ ่ี 1 ต.คำหยาด อ.โพธ์ทิ อง
- ขนาด 10 นวิ้
- ขนาด 12 นิ้ว

3. รถบรรทกุ

- 6 ล้อ/10 ลอ้

- กระบะ
-
.............................
4. ถัง/อปุ กรณ์
บรรจุน้ำ

- ขนาด 200 ลติ ร
- ขนาด
..................

ท่ีมา : โครงการชลประทานอ่างทอง

ส่วนที่ 9 บญั ชียานพาหนะ เครอื่ งจกั ร วัสดอุ ุปกรณ์ เคร่ืองมอื เคร่อื งใช้

กษ.จว.อท.

แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง ปี 2564/65 จงั หวัดอ่างทอง 42

ส่วนที่ 10 ผู้ประสานงานและช่องทางการติดต่อ

กษ.จว.อท. สว่ นท่ี 10 ผปู้ ระสานงานและชอ่ งทางการตดิ ตอ่

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดา้ นการเกษตรในชว่ งฤดูแ

สว่ นท
ผู้ประสานงานและช

ที่ ชอ่ื -สกุล ตำแหนง่
นางณัฐธญั กาหลง เกษตรและสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง

1 นางอนุ ษณยี ์ จันทราภิรมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

2 นายกนกสนิ ธาราพงศ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบตั ิการ สำน

3 นางสาวนิชุดา ครุฑสิงห์ เจา้ พนักงานประมงชำนาญการ สำน

4 นายศกึ ษา เขยี ววินยั เจา้ พนกั งานสตั วบาลปฏบิ ตั ิการ สำน
สถา
5 นางปราณี เฉลยวาเรศ เจา้ หนา้ ทว่ี ิเคราะห์นโยบายและแผน โครง
สำน
6 นายสุชาติ โพธิ์แจ้ง วศิ วกรชลประทานชำนาญการ สำน
สำน
7 นายสนั ติ จันทร์สถานนท์ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ สำน
สำน
8 นางสาวนิตยา จนั นพรตั น์ หัวหนา้ สำนักงานตรวจบญั ชีสหกรณอ์ ่างทอง สำน

9 นางสาววันเพญ็ อำพนั ดี นักวิชาการปฏริ ูปทด่ี ินบฏิบัติการ

10 นางสาวชลลดา เพชรสีสขุ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ

11 นายทศพร หมายมั่น ผอู้ ำนวยการส่วนทรพั ยากรน้ำ

12 นายสพุ ร ประคองเก็บ หวั หน้าฝา่ ยปอ้ งกันและปฏิบัติการ

กษ.จว.อท.


Click to View FlipBook Version