1
แบบรายงานผลการสงั เคราะห์
การบริหารวิชาการเพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน นกั เรียน นกั ศึกษา
กรณศี กึ ษาวิทยาลยั สารพัดชา่ งเพชรบรุ ี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
ของ
นายวัชระ เพชรแกว้
ตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา
วิทยาลยั สารพดั ช่างเพชรบรุ ี จงั หวัดเพชรบุรี
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2
การบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นนักเรยี น นกั ศกึ ษา
กรณศี ึกษาวิทยาลยั สารพดั ชา่ งเพชรบุรี สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
๑. ความเป็นมาของปัญหา
ปัจจุบันประเทศได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม เนื่องจาก
อิทธิพลของเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีมีผลต่อกระบวนการผลิตและการบริโภคของมนุษย์ และทรัพยากรมนุษย์ก็
เปน็ อีกหนึ่งปัจจัยหลักทตี่ ้องมีการพัฒนาหาวิธีจดั สรรทรพั ยากรมนษุ ยใ์ ห้เกดิ ประโยชน์ สนองต่อความเจริญ
ทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพื่อนาไปสู่การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ โดยเร่งสร้างกาลังคนในระดับกลางและระดับสูงสายอาชีพ ให้มีความรู้และทักษะในการ
ประกอบอาชีพ สนองต่อ ความต้องการของตลาดแรงงาน ซึ่งยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติได้
กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) การจดั การศึกษาในการแผนการศกึ ษาแห่งชาติไว้ดังน้ี “คนไทยทกุ คนได้รับ
การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี ๒๑” (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,
๒๕๖๐, หน้า ฉ ) จึงเป็นจุดมุ่งหมายที่สาคัญ คือ (๑) เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มี
ประสิทธิภาพ (๒) เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับ
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ขณะเดียวกัน
แนวนโยบายด้านการศึกษาของรัฐ ได้มุ่งส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาด้านวิชาชีพอย่างจริงจัง ด้วยการให้
สถานศึกษาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรแบบครบวงจร เน้นให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ตรงในสถาน
ประกอบการเพ่ือให้เรียนรู้ได้ท้ังทฤษฎีและปฏิบัติ อันจะก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามความมุ่งหมายของ
หลักสูตรได้ ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๒๐ การจดั การอาชวี ศึกษาการฝึกอบรมวชิ าชีพ ให้จดั ใน
สถานศึกษาของรฐั สถานศกึ ษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือระหวา่ งสถานศกึ ษากับ
สถานประกอบการ ทัง้ นี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการอาชวี ศึกษาและกฎหมายที่เก่ียวขอ้ ง มาตรา ๒๔
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ดาเนินการดังนี้ (๑) จัดเนื้อหาสาระ
และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนดั ของผูเ้ รยี น โดยคานงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
(๒) ฝกึ ทกั ษะ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยุกตค์ วามรมู้ า ใช้เพอ่ื ปอ้ งกัน
และแก้ไขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น
ทา เปน็ รกั การอา่ นและเกดิ การใฝร่ ู้อย่างต่อเนื่อง (๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้าน
ต่าง ๆ อย่างได้สดั ส่วนสมดลุ กนั รวมทง้ั ปลูกฝังคุณธรรม คา่ นิยมที่ดีงามและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคไ์ วใ้ น
ทกุ วิชา (๕) ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ผู้สอนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียนและอานวยความ
สะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ
3
กระบวนการเรียนรู้ ท้ังน้ี ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอนและแหล่ง
วิทยาการ ประเภทตา่ ง ๆ
งานวิชาการของวิทยาลัยฯ สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นงานที่
เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอน ซึ่งประกอบด้วย งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน งานวัดผล
และประเมินผล งานอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี งานส่ือการเรียนการสอน งานวิทยบริการและห้องสมุด ซึ่ง
การบรหิ ารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศกึ ษานับว่ามคี วามสาคัญตอ่ การจัดการศกึ ษาในทกุ ระดับช้ัน การ
บริหารงานวิชาการเป็นงานหลักในการบริหารสถานศึกษาและถือเป็นหัวใจสาคัญของการจัดการศึกษา
(อุทัย บุญประเสริฐ,๒๕๔๐) การเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้กับ
ผู้เรียนทุกระดับชั้นโดยวัดจากผลการเรียนของนักเรียน นักศึกษา หมวดวิชาพื้นฐานประยุกต์ (สามัญ)
และ หมวดวิชาชีพ ตามโครงสร้างห ลัก สูตรขอ งสานัก งาน คณ ะก รรมก ารการอ าชีวศึก ษ า
กระทรวงศึกษาธิการ เนื่องจากการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นกระบวนการที่จะช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนา
ศกั ยภาพและความสามารถด้านต่างๆ ที่จะดารงชวี ิต และประกอบอาชีพได้อย่างมีความสขุ จึงเป็นที่ยอมรับ
กันอย่างกว้างขวางว่า “คุณภาพการศึกษา” เป็นประเด็นสาคัญท่ีสุดประเด็นหน่ึงซ่ึงสังคมและ
กระทรวงศึกษาธิการให้ความสาคัญเป็นอันดับต้นๆ และผลักดันส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาทุกแห่ง ให้ก้าวไปสู่การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี ๒๑ สถานศึกษาจาเป็นต้องสร้าง
ความเชื่อมั่นแก่สังคมว่าจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามที่สังคมคาดหวัง สามารถจัดการเรียนการสอนให้
นักเรียน นกั ศึกษา มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขนึ้ และบรรลุตามมาตรฐานการศึกษาท่ีกาหนดไว้
วิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบุรี ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอน ตามพระราชบัญญั ติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
โดยการจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีตาม
หลักสูตรสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด ซ่งึ จากผลการดาเนินงานทผ่ี ่านมา พบวา่ มีปัญหา
และอุปสรรคเกิดข้ึนหลายประการ เช่น ปัญหาการออกกลางคันของนักเรียน นักศึกษา และผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนอยูใ่ นเกณฑต์ ่า จากรายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษาโดยหน่วยงานตน้ สงั กัด
ดา้ นผูเ้ รียนและผูส้ าเร็จการศึกษา ซง่ึ ผลสัมฤทธิข์ องผเู้ รยี นทีม่ ีผลการเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖1 - 2562 อยู่
ในระดบั ๒.๐๐ ขนึ้ ไป ดังน้ี
4
ตารางที่ ๑ แสดงผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖1 - 2562 อยใู่ นระดับ ๒.๐๐ ข้ึนไป
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒
สาขา ระดบั ช้นั จานวน จานวน
ผู้เรยี น ผูเ้ รยี น
จานวนผ้เู รียน รอ้ ยละ จานวนผู้เรยี น ร้อยละ
ท้ังหมด ท่ีผ่านเกณฑ์ ทั้งหมด ทีผ่ า่ นเกณฑ์
๑ 38 21 55.26 51 29 56.86
13 21 84.00
ยานยนต์ ปวช. ๒ 15 10 76.92 25 10 100.00
๓ 18 14 87.50
9 - 0 10 16 100.00
9 16 100.00
ปวส. ๑ 10 16 88.89 16 5 62.50
๒ 2 5 100.00
9 4 44.44 16 6 66.67
4 7 100.00
๑ 6 6 66.67 16 5 71.43
- 6 100.00
ปวช. ๒ - 5 50.00 8 --
- --
ไฟฟา้ กาลงั ๓ - - -5 --
2 --
ปวส. ๑ - 9 100.00 9 --
๒ - --
3 4 100.00 7 5 100.00
- 3 100.00
๑ 6 6 100.00 7 --
- 4 80.00
ปวช. ๒ - - -6 --
6 5 83.33
เมคคาทรอนกิ ส์ ๓ - --- 4 100.00
ปวส. ๑ ---
๒
---
๑ ---
ปวช. ๒ ---
การบญั ชี ๓ ---
ปวส. ๑ 3 100.00 5
๒
- -3
๑ 4 66.67 1
คอมพวิ เตอร์ ปวช. ๒ - -5
ธรุ กิจ ๓
๑ ---
ปวส. ๒ 6 100.00 6
- -4
5
ปกี ารศกึ ษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562
สาขา ระดบั ชัน้ จานวน จานวน จานวน
ผู้เรยี น ผู้เรยี นที่ ผเู้ รียน
ทงั้ หมด ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ ทง้ั หมด จานวนผ้เู รยี น ร้อยละ
ท่ผี า่ นเกณฑ์
การตลาด ปวช. ๑ 1 1 100.00 4 3 75.00
ปวส. ๒ - - -1 1 100.00
๓ - --- --
ปวช. ๑ - --- --
ศลิ ปการดนตรี ๒ - --- --
๑ 2 2 100.00 1 --
ปวส. ๒ - - -2 1 50.00
๓ - --- --
รวม ๑ - --- --
๒ - --- --
153 97 63.40 192 150 78.13
จากตารางที่ ๑ จะเห็นได้ว่านกั เรยี น นักศึกษา วิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบุรี มีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน ต่ากวา่ เกณฑ์ท่กี าหนดหากดงั นั้นสถานศกึ ษาควรนาผลจากการวิเคราะห์ และจากรายงานผล
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัดไปศึกษา หาสาเหตุที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน เพือ่ กาหนดแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
จากผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดังกล่าว ผู้วจิ ัยพบว่าสถานศึกษาต้องรีบดาเนินการหาแนวทาง
แก้ปัญหาโดยเร่งด่วน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจอย่างยิ่งที่จะพัฒนาสถานศึกษาในด้านของการบริหารงาน
วิชาการโดยใชก้ ระบวนการบริหารตามแนวคิดของเดมิ่ง ประกอบด้วย 4 ขน้ั ตอน คือ การวางแผน (Plan)
การปฏิบัติตามแผน (Do) การตรวจสอบ (Check) การปรับปรุง (Act) เพ่ือให้นักเรียน นักศึกษา ของ
วิทยาลยั ฯ มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นท่ีสงู ขน้ึ
6
๒. รูปแบบ เทคนิค วธิ กี ารการบริหารงานวิชาการกับประสทิ ธิผลของสถานศึกษา
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
๒.๑ เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นกั เรยี น นักศกึ ษา กรณศี กึ ษาวทิ ยาลัยสารพดั ช่างเพชรบรุ ี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
๒.๒ เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
นักเรียน นักศึกษา กรณศี กึ ษาวิทยาลัยสารพดั ช่างเพชรบรุ ี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
๒.๓ เพ่ือหาแนวทางการบรหิ ารงานวิชาการเพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรยี น
นักศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลยั สารพดั ชา่ งเพชรบรุ ี สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
สมมุติฐานการวิจัย
๑. ผู้เชี่ยวชาญ เห็นด้วยต่อเครื่องมือ ของการบริหารงานวิชาการ กรณี ศึกษา
วิทยาลยั สารพดั ช่างเพชรบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
๒. การบริหารงานวิชาการโดยใช้กระบวนการบริหารตามแนวคิดของเดมิ่ง (PDCA)
กรณีศึกษาวิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นสงู ขึน้
ขอบเขตของการวจิ ัย
๑. ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
ขอบข่ายการบรหิ ารงานสถานศกึ ษาฝา่ ยวิชาการตามระเบยี บสานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ.๒๕๕๒ ประกอบด้วย ๑) แผนกวิชา ๒) งานพัฒนา
หลักสูตรการเรียนการสอน ๓) งานวัดผลและประเมินผล ๔ ) งานวิทยบริการและห้องสมุด
๕) งานอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี และ ๖) งานสื่อการเรยี นการสอน
การศึกษาสภาพและปัญหาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน นักเรียน นักศึกษา
กรณศี ึกษาวิทยาลยั สารพัดช่างเพชรบรุ ี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา โดยใช้กระบวนการบรหิ าร
ตามแนวคิดของเดมิ่ง ประกอบด้วย ๔ ข้ันตอน คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do)
การตรวจสอบ (Check) การปรับปรุง (Act) และจากการสังเคราะห์การดาเนินการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบุรี ประกอบด้วย การนิเทศภายใน การมีส่วน
ร่วมของผูป้ กครอง การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา และการจัดการเรียนรู้
๒. ขอบเขตดา้ นประชากร
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ
ครผู ู้สอน วิทยาลัยสารพัดชา่ งเพชรบรุ ี ปกี ารศกึ ษา๒๕๖๒ จานวน ๔๗ คน
7
๓. ตวั แปรทใ่ี ช้ในการศึกษา
๓.๑ สภาพการบรหิ ารงานวิชาการเพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
๓.๒ ปัญหาการบรหิ ารงานวิชาการเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
ข้อตกลงเบื้องตน้
ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจยั ตอ้ งการหาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน นักเรียน นักศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบุรี สานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา เฉพาะกรณีท่เี กีย่ วขอ้ งกับนกั เรยี น นักศึกษา ได้แก่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
๑. การบรหิ ารสถานศกึ ษา หมายถงึ การบรหิ ารงานในสถานศึกษาทุกๆด้าน โดยมีรูปแบบ
และวิธีการเพื่อทาให้ภารกิจของสถานศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิของคุณภาพ
การศึกษาของนักเรียนใหม้ ีประสิทธิภาพ มงี านวิชาการเปน็ งานหลัก
๒. การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การดาเนินงานเก่ียวกับการบริหารงานฝา่ ยวิชาการ
ตามระเบียบสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ.๒๕๕๒
ประกอบด้วย ๑) แผนกวิชา ๒) งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ๓) งานวัดผลและประเมินผล ๔)
งานวิทยบรกิ ารและห้องสมุด ๕) งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และ ๖) งานส่ือการเรียนการสอน
๓. ผ้บู ริหารสถานศึกษา หมายถึง บุคคลซ่ึงปฏิบตั ิงานในตาแหน่งผู้บริหาร ในวิทยาลัยการ
อาชพี บางปะกง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
๔. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี น หมายถึง ความสามารถของนักเรยี นในดา้ นต่างๆ
ซ่ึงเกิดจากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครอบคลุมพฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน คือ พุทธิพิสัย จิตพิสัย
และทกั ษะพสิ ยั
๓. เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง
ในการวจิ ยั เรื่อง การบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน นกั เรยี น นักศึกษา
กรณีศกึ ษาวทิ ยาลัยสารพดั ช่างเพชรบรุ ี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา คร้งั น้ี ผู้วจิ ัยไดศ้ กึ ษา
ทบทวนเอกสาร วรรณกรรมและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง เพอ่ื ใชเ้ ป็นกรอบแนวคดิ ในการวิจัย ดงั น้ี
๑. ความหมายของการบริหารสถานศกึ ษา
๒. ทฤษฎที ่เี กี่ยวขอ้ งกับการบริหารสถานศกึ ษา
๓. การบรหิ ารงานวชิ าการ
๔. ขอบขา่ ยของการบรหิ ารงานวชิ าการ
๔.๑ งานพัฒนาหลักสูตรการเรยี นการสอน
๔.๒ งานวดั ผลและประเมนิ ผล
8
๔.๓ งานอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี
๔.๔ งานวิทยบรกิ ารและห้องสมุด
๔.๕ งานส่ือการเรยี นการสอน
๕. ทฤษฏกี ารบริหารตามกระบวนการของเดมง่ิ (PDCA)
๕.๑ การวางแผน (Plan)
๕.๒ การปฏิบัติตามแผน (Do)
๕.๓ การตรวจสอบ (Check)
๕.๔ การปรับปรุง (Action)
งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
ปองทิพย์ เทพอารีย.์ (๒๕๕๗) ได้ศกึ ษาการพฒั นารปู แบบชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพสาหรับ
ครู ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพสาหรับครู ประกอบด้วย ๔ องค์ประกอบ
ได้แก่ วัฒนธรรมการเรียนรู้ การคิด แบบปฏิบัติที่ดี การพัฒนาเชิงวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ประสิทธิผลของ
รูปแบบชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพสาหรบั ครู พบว่า สมรรถนะเชงิ วิชาชีพของกลุ่มตัวอยา่ งก่อนการ
ทดลองใช้ รวมทั้งทักษะการเรยี นรู้ของผู้เรียนเพ่ิมสงู ขึ้น และผลการเรียนของผู้เรียนหลังการทดลองสูงกว่า
ก่อนการทดลอง อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05
4. วธิ ดี าเนินการวิจยั
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ เร่ือง การบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียน นักเรียน นกั ศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ซึ่งผู้วิจยั ได้ดาเนินการตามขนั้ ตอนวิจัย ดังน้ี
ข้ันตอนที่ 1 จัดเตรียมโครงการวิจัย เป็นการศึกษาเอกสาร ตารา ข้อมูล งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
และดาเนนิ การจัดสร้างเครอ่ื งมือ
ข้ันตอนท่ี 2 การดาเนินการวจิ ัย เป็นการจัดสร้างเครอ่ื งมือพร้อมท้ังทดสอบและปรบั ปรุงคณุ ภาพ
ของเครื่องมือที่สร้างขึ้น เก็บข้อมูลจากประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีกาหนดไว้ แล้วนาข้อมูลท่ีได้จากการ
ตรวจสอบความถูกต้อง วเิ คราะห์และแปรผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ขั้นตอนท่ี 3 การรายงานผลการวิจัย เป็นข้ันตอนของการจัดทารายงานการวิจยั เสนอผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบความถูกต้อง ปรบั ปรุง แก้ไขข้อบกพร่อง และจดั ทาเป็นรายงานการวจิ ัยฉบับสมบูรณ์ตอ่ ไป
ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
ประชากรและกลุม่ ตวั อย่างท่ีใช้ในการวจิ ยั ครง้ั น้ี เป็นครผู้สอนวทิ ยาลัยสารพัดช่างเพชรบุรี จานวน
43 คน ประกอบด้วย สาขาช่างยนต์จานวน 5 คน สาขาแมคคาทรอนิค จานวน 2 คนแผนกวิชาเทคนิค
พื้นฐาน จานวน 2 คน สาขาไฟฟา้ กาลัง จานวน 5 คน สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ จานวน5 คน สาขาวิชาการ
9
บญั ชี จานวน 4 คน สาขาการตลาด จานวน 3 คน สาขาดนตรี จานวน 1 คนแผนกวชิ าสามัญ – สัมพันธ์
จานวน 3 คน หลักสูตรวิชาชพี ระยะส้นั จานวน 13 คน
เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจยั
ผู้วิจัยดาเนินการสร้างเคร่ืองมือเพื่อใช้ในงานวิจัย โดยลักษณะของเคร่ืองมือ เป็นแบบสอบถาม
(questionnaire) ผู้วิจัยปรับปรุงข้ึนโดยพิจารณาภาย ใต้กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีจากการวิเคราะห์
วรรณกรรมและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วข้อง
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมลู โดยแจกแบบสอบถามใหก้ ับครผู ู้สอน
ในวทิ ยาลัยสารพัดช่างเพชรบุรี จานวน 43 ชุด และเก็บแบบสอบถามดว้ ยตนเอง
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
จากผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล พบว่า โดยภาพรวมผ้เู ชี่ยวชาญเห็นดว้ ยต่อเคร่อื งมอื ของการบรหิ ารงาน
วชิ าการ กรณศี ึกษาวทิ ยาลัยสารพัดชา่ งเพชรบรุ ี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยวิทยาลยั ควร
ดาเนินการจัดหลักสูตรสถานศึกษาให้สนองความต้องการของผู้เรียน และท้องถ่ิน โดยส่งเสริมให้ครูจัด
กระบวนการเรียนรู้ นาชุมชนเขา้ มามสี ่วนร่วม จัดการนิเทศการเรยี นการสอน จัดกิจกรรมปลูกฝังคุณธรรม
จรยิ ธรรม ค่านิยมท่ดี งี าม และคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ใหก้ ับผเู้ รยี น โดยดาเนนิ การดงั นี้
1. กาหนดทิศทางการพัฒนาสถานศกึ ษา (วิสยั ทศั น์/ พันธกิจ/ เปา้ หมาย/ ยุทธศาสตร์ )
2. จดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 2561 - 2564
3. พัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
4. จดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี / รายงานการดาเนินตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี
5. จัดทาคมู่ ือการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
6. จัดทาคมู่ ือนิเทศภายในสถานศกึ ษา
7. จดั ทาคมู่ อื การวดั และประเมินผลการศึกษา
8. จดั ทาค่มู อื นักเรยี น นกั ศึกษา
9. จัดทาคู่มอื การจดั การเรยี นร้กู จิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
10. รายงานการประเมินตนเอง (SAR)
11. รายงานการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น
12. รวบรวมผลงานวิจัยในช้นั เรียน/โครงงานนักเรยี น
13. แผนบริหารความเสย่ี ง
10
แผนกวิชา
1. พัฒนาหลกั สตู รใหเ้ ป็นตามทิศทางการพฒั นาสถานศกึ ษา
2. ดาเนินกิจกรรมนเิ ทศภายใน/รายงานการนิเทศ
3. ดาเนินโครงการ/กจิ กรรมทไ่ี ด้รับการอนุมตั ิ และรายงานผลการดาเนินโครงการ/งาน/
กจิ กรรม
4. เก็บรวบรวมข้อมูล/สรุปขอ้ มลู สถติ ิการใช้
- แผนการจัดการเรยี นรู้ วิจัยในช้นั เรียน ฯลฯ
- นวัตกรรม สือ่ และแหล่งเรยี นรู้ ภายในภายนอก วทิ ยากร/ ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น
- ผลงานครู/นักเรียน
- สรปุ รายงานพฒั นาตนเองของครู
5. บันทกึ การสอนเสริม /สอนแทน
6. จัดทาทะเบยี นส่ือ แหล่งเรยี นรู้ และสถติ ิการข้อมลู สถติ กิ ารใช้
7. หลักฐานการใหบ้ รกิ ารชมุ ชน/ความรว่ มมอื กบั ชมุ ชน
9. รวบรวมขอ้ มลู ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น นักศกึ ษา
10. รายงานการประชมุ /บันทึกการประชมุ
ครูผู้สอน/ครูทีป่ รกึ ษา
1. ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
และสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาสูท่ ศิ ทางการพฒั นาสถานศึกษา
2. จัดการเรียนรู้ ในหน้าท่ีที่รับผิดชอบ เช่นงานสอน งานท่ีปรึกษา กิจกรรม/โครงการ/
งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่รับผิดชอบอ่ืนๆ ให้เป็นตามทิศทางการพัฒนาสถานศึกษา โดยสอดแทรกหรือ
บูรณาการให้เป็นไปตามนโยบายของสถานศึกษา สนับสนุนให้นักเรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลกและนา
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีกระทรวงศึกษาได้ประกาศไว้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ พัฒนา
นักเรียน นักศึกษาในที่ปรึกษา/นักเรียน นักศึกษาท่ีสอน ส่งเสริมนักเรียน นักศึกษาให้มีผลงานท่ีแสดงให้
เห็นถึงการมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองสร้างองค์ความรู้ รักเรียน พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่อื ง
ส่งเสริมให้นักเรียนในท่ีปรึกษาได้จัดทาแฟ้มสะสมงาน มีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้ เช่น
บันทึกกิจกรรมโฮมรูม /บันทึกกิจกรรมแนะแนว/บันทึกกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน(ชมรม)/บันทึกกิจกรรม
พฒั นาผเู้ รียน(ลกู เสอื )/สมดุ บนั ทกึ ความดี/สมดุ บันทกึ การอ่าน/บันทกึ การสง่ งานและอนื่ ๆ
3. จดั ทา/ปรับปรุง/พัฒนา แผนการจดั การเรยี นรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง สถานศกึ ษา 3 D มีการบนั ทกึ หลังการสอนและเนน้ การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ภายสถานศกึ ษา
4. จัดทาวจิ ัยในชั้นเรยี น ภาคเรียนละ 1 เร่อื ง
5. จดั ทาส่อื การเรียนการสอนภาคเรยี นละ 1 รายวชิ า
11