รำยงำนกำรประเมินคณุ ภำพภำยนอกสถำนศึกษำ
ระดับกำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน( รอบที่ 1 – 4 )
ดาบตารวจโกศล แก้วมณี
ครใู หญ่
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชำยแดนบำ้ นควนตะแบก
สงั กัดสำนักงำนเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำพัทลงุ เขต 1
สังกัดกองกำกบั กำรตำรวจตระเวนชำยแดนท่ี 43
กองบญั ชำกำรตำรวจตระเวนชำยแดน
รำยงำนกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกสถำนศกึ ษำ
ระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน
รอบท่ี
1
ดาบตารวจโกศล แก้วมณี
ครูใหญ่
โรงเรียนตำรวจตระเวนชำยแดนบ้ำนควนตะแบก
สังกัดสำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำพัทลุง เขต 1
สังกัดกองกำกบั กำรตำรวจตระเวนชำยแดนท่ี 43
กองบัญชำกำรตำรวจตระเวนชำยแดน
รำยงำนกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกสถำนศกึ ษำ
ระดบั กำรศกึ ษำข้นั พืน้ ฐำน
รอบท่ี
2
ดาบตารวจโกศล แก้วมณี
ครใู หญ่
โรงเรียนตำรวจตระเวนชำยแดนบ้ำนควนตะแบก
สังกัดสำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำพัทลุง เขต 1
สังกัดกองกำกบั กำรตำรวจตระเวนชำยแดนท่ี 43
กองบัญชำกำรตำรวจตระเวนชำยแดน
รำยงำนกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกสถำนศกึ ษำ
ระดบั กำรศกึ ษำข้นั พืน้ ฐำน
รอบท่ี
3
ดาบตารวจโกศล แก้วมณี
ครใู หญ่
โรงเรียนตำรวจตระเวนชำยแดนบ้ำนควนตะแบก
สังกัดสำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำพัทลุง เขต 1
สังกัดกองกำกบั กำรตำรวจตระเวนชำยแดนท่ี 43
กองบัญชำกำรตำรวจตระเวนชำยแดน
รำยงำนกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกสถำนศกึ ษำ
ระดบั กำรศกึ ษำข้นั พืน้ ฐำน
รอบท่ี
4
ดาบตารวจโกศล แก้วมณี
ครใู หญ่
โรงเรียนตำรวจตระเวนชำยแดนบ้ำนควนตะแบก
สังกัดสำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำพัทลุง เขต 1
สังกัดกองกำกบั กำรตำรวจตระเวนชำยแดนท่ี 43
กองบัญชำกำรตำรวจตระเวนชำยแดน
รายงานการประเมินคณุ ภาพภายนอก : ผลการประเมนิ SAR
ภายใตส้ ถานการณ์ COVID – 19
ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐานทมี่ ีวัตถุประสงคพ์ เิ ศษ
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน
รหสั สถานศึกษา - โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา้ นควนตะแบก
สงั กดั กองกำกบั การตำรวจตระเวนชายแดนท่ี 43
กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ
ระดับการศึกษาทเ่ี ปดิ สอน ชนั้ อนุบาลปีท่ี 1 ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6
ตง้ั อยู่หมู่ 9 ตำบล เกาะเตา่ อำเภอ ปา่ พยอม จงั หวดั พทั ลงุ
รหัสไปรษณยี ์ ๙๓๑๑0 โทรศพั ท์ 06 5419 4453
E-mail [email protected]
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน)
ตอนท่ี ๑
สรปุ ขอ้ มูลเก่ยี วกบั สถานศกึ ษา
(ข้อมูล ณ วนั ท่ี 18 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2564)
๑. ขอ้ มูลทว่ั ไปของสถานศึกษา จำนวน หมายเหตุ
ประเภท 22
๑.๑ ข้อมูลผเู้ รียน 78
จำนวนเด็ก
จำนวนผเู้ รียน 1
๑.๒ ข้อมูลบคุ ลากร 3
ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา 9
ครูปฐมวยั ๑
ครูประถมศึกษา -
บคุ ลากรสนับสนนุ
อน่ื ๆ โปรดระบุ............. 3
๑.๓ จำนวนห้อง 6
ห้องเรยี นปฐมวยั ๑
หอ้ งเรียนประถมศึกษา ๑
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ -
ห้องพยาบาล
อ่ืนๆ โปรดระบุ.............
๒. สรุปขอ้ มลู สำคัญของสถานศึกษา จำนวน หมายเหตุ
ประเภท ๑:8
๒.๑ การศึกษาปฐมวัย ๑:8
อัตราส่วน ครู ต่อ เด็ก ครบชน้ั
อตั ราส่วน หอ้ ง ต่อ เด็ก
จำนวนครคู รบช้นั ⬜ ไม่ครบช้ัน ในระดบั ชน้ั ......
๒.๒ ระดบั ประถมศึกษา ๑ : 12
อตั ราสว่ น ครู ต่อ ผเู้ รียน ๑ : 13
อตั ราสว่ น ห้อง ต่อ ผ้เู รียน ครบช้นั
จำนวนครู ครบช้ัน
⬜ ไม่ครบชั้น ในระดับชน้ั ......
1
ประเภท จำนวน หมายเหตุ
๒.๓ ร้อยละของผู้สำเรจ็ การศึกษา
อนบุ าลปที ี่ ๓ - ไมร่ ะบขุ อ้ มลู ใน SAR
ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ - ไมร่ ะบขุ อ้ มลู ใน SAR
๒.๔ จำนวนวันท่สี ถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอนจริง
ในปีการศึกษาท่ีประเมิน - ไมร่ ะบุข้อมลู ใน SAR
การศกึ ษาปฐมวยั - ไม่ระบุข้อมูลใน SAR
ระดบั ประถมศึกษา
2
ตอนที่ ๒
ผลการประเมนิ SAR รายมาตรฐาน และข้อเสนอแนะ
การพิจารณา ให้ทำเคร่ืองหมาย √ หน้าข้อที่พบข้อมูลใน SAR
ใหท้ ำเครื่องหมาย X หนา้ ข้อท่ไี ม่พบข้อมลู ใน SAR
การศกึ ษาปฐมวัย
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็
จดุ เนน้ เดก็ มพี ัฒนาการทงั้ ๔ ดา้ นเหมาะสมตามวัยอย่างเต็มศกั ยภาพ
ผลการพจิ ารณา ตัวช้ีวัด สรปุ ผลประเมนิ
๑. มกี ารระบุเปา้ หมายคณุ ภาพของเด็กปฐมวยั o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ )
o พอใช้ (๔ ข้อ)
๒. มกี ารระบุวิธีพฒั นาคุณภาพของเด็กปฐมวัยอยา่ งเป็นระบบ ดี (๕ ข้อ)
ตามเปา้ หมายการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
๓. มพี ฒั นาการสมวยั ตามเป้าหมายการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
๔. มีการนำผลประเมนิ คุณภาพของเดก็ ปฐมวัยมาพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั ใหม้ พี ัฒนาการสมวัย
๕. มีการนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัยตอ่ ผทู้ ี่
เกีย่ วขอ้ ง
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดบั สูงขึ้น
สถานศึกษาควรระบุเป้าหมายคุณภาพของเด็กที่สอดคล้องกับจุดเน้นอื่น ๆ ของสถานศึกษาไว้ใน SAR ให้
ชัดเจน เช่น สถานศึกษามีการกำหนดจุดเน้นตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ”มีระเบียบ มีวินัย มีคุณธรรม”
สถานศึกษาควรดำเนินการอย่างเป็นระบบ (PDCA) โดยเริ่มจากมีการกำหนดค่าเป้าหมายผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐
มีความรู้ความสามารถและประพฤติปฏิบัติตนมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม สถานศึกษากำหนดแผนงานโครงการ
กิจกรรมที่ส่งเสริมความมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม กำหนดเป็นตัวชี้วัดและดำเนินการในระยะเวลา ๑ ปีการศึกษา
เมือ่ ส้นิ สดุ โครงการก็ดำเนินการประเมินผู้เรยี นจำนวน ๒๒ คน พบว่านักเรียนสว่ นใหญ่ (รอ้ ยละ ๙๐) มีระเบียบวินัย
มีคณุ ธรรมอยา่ งเหมาะสมตามระดับช้นั แตย่ ังมีบางส่วน (ร้อยละ๑๐) ท่ียังไม่สามารถมพี ฤติกรรมตามตวั ช้วี ัดได้ ดังน้ี
สถานศึกษา จึงได้วางแผนจัดโครงการในปีการศึกษาต่อไปและนำเสนอข้อมูลผ่านช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ ทั้งทาง
เว็บไซต์ หรือเฟซบคุ๊ ของสถานศึกษาหรือไลนก์ ลุ่มผู้ปกครอง เพอ่ื แจ้งผลการดำเนนิ โครงการ เป็นตน้
3
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
จุดเน้น การบริหารจัดการอยา่ งเป็นระบบ โดยการมสี ่วนร่วมจากทุกฝา่ ย
ผลการพจิ ารณา ตวั ชวี้ ัด สรุปผลประเมิน
๑. มกี ารวางแผนการดำเนนิ การในแต่ละปีการศึกษา o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ )
o พอใช้ (๔ ข้อ)
๒. มีการนำแผนการดำเนนิ การไปใชด้ ำเนนิ การ ดี (๕ ขอ้ )
๓. มีการประเมนิ ผลสัมฤทธข์ิ องการดำเนนิ การตามแผน
๔. มีการนำผลการประเมินไปใชใ้ นการปรับปรงุ แกไ้ ขในปี
การศึกษาต่อไป
๕. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาให้ผมู้ ีส่วน
ได้สว่ นเสียไดร้ บั ทราบ
ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ด้ผลประเมินระดบั สูงข้ึน
สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมในประเด็น การมีจุดเน้นในการส่งเสริมให้ครูมีความ
เชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยให้มีความเหมาะสมกับบริบท ของ
สถานศึกษา ดังนั้นสถานศึกษาควรมีการดำเนินการวางแผนยกระดับคุณภาพของครู โดยการจัดทำโครงการอบรม
สัมมนาครูหรือกิจกรรมศึกษาดูงานและกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคการจัดประสบการณ์และการจัดกิจกรรม
ให้แก่เพื่อนครู กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา นอกจากน้ีสถานศึกษาควรระบุวิธีการดำเนิน
โครงการ การประเมินผลโครงการ สถานศึกษาควรนำเสนอข้อมูลผลการดำเนินงานตามโครงการต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
ผ่านช่องทางออนไลนต์ ่าง ๆ ทัง้ เว็บไซตห์ รือเฟชบุก๊ ของสถานศึกษา
4
มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสำคญั
จุดเนน้ การจดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์ครอบคลุมเหมาะสมกับวยั และเน้นการปฏิบตั ิจริง
ผลการพจิ ารณา ตัวชว้ี ัด สรปุ ผลประเมนิ
๑. ครูมีการวางแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้รายปีครบทุก o ปรับปรงุ (๐-๓ ข้อ)
หน่วยการเรียนรู้ ทกุ ชัน้ ปี o พอใช้ (๔ ข้อ)
ดี (๕ ข้อ)
๒. ครทู กุ คนมีการนำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ไปใชใ้ น
การจัดประสบการณโ์ ดยใช้ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่ง
เรียนร้ทู เ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้
๓. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดประสบการณ์อย่างเป็น
ระบบ
๔. มกี ารนำผลการประเมินมาพฒั นาการจดั ประสบการณ์ของครู
อย่างเปน็ ระบบ
๕. มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นร้แู ละให้ข้อมลู ป้อนกลับเพ่อื พฒั นา
ปรับปรงุ การจัดประสบการณ์
ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ด้ผลประเมินระดับสูงข้ึน
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมในประเด็นการมีจุดเน้นการส่งเสริมครูให้มีความรู้ความ
เชย่ี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์โดยระบุว่าครูมีการวางแผนการจดั การเรียนรู้ มีกระบวนการวิธีการอย่างไร ครบ
ทุกชั้นหรือไม่ โดยกำหนดในแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา จัดทำโครงการที่เน้นการใช้สื่อและเทค โนโลยี
สารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัย พร้อมระบุวิธีการดำเนินการโครงการ ประเมินผลโครงการและ
นำเสนอผลการดำเนินงานตอ่ ผเู้ กยี่ วข้องทกุ ฝ่าย โดยระบุขอ้ ความใหป้ รากฎใน SAR อยา่ งชดั เจน
5
ระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น
จุดเน้น ผู้เรยี นมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ เป็นลกู ทีด่ ขี องพอ่ แม่ และผูป้ กครอง
เปน็ นกั เรยี นท่ีดีของโรงเรียน มจี ิตสาธารณะ
ผลการพจิ ารณา ตวั ชว้ี ัด สรปุ ผลประเมิน
๑. มกี ารระบุเปา้ หมายคุณภาพของผ้เู รียน o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ )
o พอใช้ (๔ ข้อ)
๒. มกี ารระบวุ ิธีพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบตาม ดี (๕ ขอ้ )
เป้าหมายการพัฒนาผเู้ รียน
๓. มผี ลสัมฤทธข์ิ องผเู้ รียนตามเปา้ หมายการพฒั นาผเู้ รยี น
๔. มีการนำผลประเมนิ คุณภาพของผเู้ รยี นมาพัฒนาผู้เรียนด้าน
ผลสมั ฤทธใิ์ หส้ งู ข้นึ
๕. มีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของผเู้ รียนตอ่ ผ้ทู ี่
เกีย่ วขอ้ ง
ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ได้ผลประเมนิ ระดบั สูงขึ้น
สถานศึกษาควรระบุข้อมลู ลงใน SAR อยา่ งชดั เจน ในวธิ ีการการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญอย่างเป็น
ระบบ มีกระบวนการจัดทำโครงการหรอื กิจกรรมท่ีแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนทีห่ ลากหลาย และ
สอดคล้องกับเป้าหมายการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ตามทสี่ ถานศึกษากำหนดไว้ ควรระบุให้เห็นถึง
ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรียน ที่ได้จากการพัฒนาอย่างเป็นระบุว่าเปน็ ไปตามเป้าหมายทีส่ ถานศึกษากำหนดไว้
หรอื ไม่ อยา่ งไร ทั้งในเร่อื งความสามารถในการอ่าน เขยี น การส่ือสาร การคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ รู้จัก
แก้ปัญหา สรุปผลการสอบในรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ของแต่ละชั้นปี โดยมกี ารเปรยี บเทียบผลกับเป้าหมาย เพื่อให้
เห็นถึงพัฒนาการผู้เรียนที่เกิดขึ้น ทั้งนี้สถานศึกษาควรมีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อผู้ท่ี
เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน ต้นสังกัด หรือเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนทาง เว็ปไซต์ เฟซบุ๊ค
และการชแ้ี จงในการประชุมตา่ ง ๆ ของสถานศึกษา เป็นตน้
6
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
จุดเน้น การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกฝา่ ย
ผลการ ตัวชวี้ ัด สรปุ ผลประเมนิ
พจิ ารณา
๑. มกี ารวางแผนการดำเนินการในแตล่ ะปีการศึกษา o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ )
๒. มกี ารนำแผนการดำเนนิ การไปใช้ดำเนนิ การ o พอใช้ (๔ ข้อ)
๓. มกี ารประเมนิ ผลสัมฤทธขิ์ องการดำเนินการตามแผน ดี (๕ ขอ้ )
๔. มกี ารนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขในปี
การศกึ ษาต่อไป
๕. มีการนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษาให้ผู้มีส่วน
ไดส้ ว่ นเสียได้รบั ทราบ
ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดบั สูงข้ึน
สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลเพิ่มเติมใน SAR เพิ่มเติมในประเด็นการมีจุดเน้นในเรื่องการปรับ
แผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผ่นปฏิบัติประจำปีที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความ
ต้องการพฒั นา นอกจากน้ีสถานศึกษาควรระบวุ ธิ ีพัฒนาและผลทเี่ กิดจากการพฒั นาของกระบวนการบริหารจัดการ
ใหช้ ดั เจน เชน่ การบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา การบริหารจัดการแบบมสี ่วนร่วม เปน็ ต้น โดยระบุข้อมูล
ให้เห็นว่ามีแผนงานโครงการอะไร มีการดำเนินการอย่างไรผลที่เกิดจากการพัฒนาหรือผลการประเมินเป็นเช่นไร
ผู้เกี่ยวขอ้ งมีความพึงพอใจเพียงใดและเม่อื สิ้นสุดโครงการสถานศึกษานำเสนอข้อมูลผลการดำเนินงานบริหารจัดการ
ใหผ้ ทู้ ีม่ สี ่วนเก่ยี วข้องได้รบั ทราบผ่านส่อื รูปแบบต่าง ๆ ทง้ั ออนไลนแ์ ละเอกสาร
7
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
จุดเนน้ ครจู ัดทำแผนการสอนเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผลการพจิ ารณา ตัวชีว้ ัด สรุปผลประเมนิ
๑. ครูมกี ารวางแผนการจัดการเรียนรูค้ รบทุกรายวชิ า ทุกชั้นปี o ปรับปรงุ (๐-๓ ขอ้ )
๒. ครทู ุกคนมีการนำแผนการจดั การเรียนรไู้ ปใช้ในการจดั การ o พอใช้ (๔ ข้อ)
ดี (๕ ขอ้ )
เรยี นการสอนโดยใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่ง
เรียนรู้ท่เี อ้ือตอ่ การเรยี นรู้
๓. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
อย่างเป็นระบบ
๔. มกี ารนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
ของครอู ย่างเปน็ ระบบ
๕. มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู ป้อนกลบั เพ่อื พฒั นา
ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอน
ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมินระดับสูงข้ึน
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลลงใน SAR อย่างชัดเจน ในด้านการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญในการนำส่ือ
เทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยเริ่มตั้งแต่การวางแผนนำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้
ให้เหมาะสมกับการจัดทำแผนการเรียนในแตล่ ะระดับชน้ั เช่น การกำหนดให้ผู้เรยี นศึกษาข้อมูลและทำรายงานโดย
การกำหนดให้ไปคน้ คว้าจากระบบออนไลน์ หรอื นำเสนองานของนักเรียนด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ต่าง ๆ เป็นต้น
ทั้งนี้จะต้องให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น มีการประเมินการใช้แผนการเรียนรู้ สรุปผลการดำเนินงาน
ปัญหาและอุปสรรค แลว้ นำมาใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนาปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรใู้ นครั้งต่อไป ท้ังน้ีจะต้อง
เผยแพร่ผลการดำเนินงานเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง ทั้งการแจ้งในที่ประชุม การลงในเว็ปไซต์
เพจเฟซบคุ๊ ของสถานศึกษา เป็นต้น
ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม
สถานศึกษาควรเขยี น SAR ในครั้งต่อใหม้ ีความสมบูรณ์ย่ิงขึน้ โดยให้มีครบทุกหัวขอ้ หรือประเด็นที่สำคญั ให้มี
ความชัดเจน โดยควรระบุข้อมูลการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่มีความชัดเจน สมบูรณ์ แผนกลยุทธ์ ข้อมูล
เกี่ยวกับสถานศึกษา เช่น การจัดการศึกษา เศรษฐกิจและสังคม เป็นต้น ควรระบุแบบอย่างที่ดี (Best Practice)
หรอื นวัตกรรม (Innovation) (ถา้ ม)ี ในแต่ละมาตรฐาน เพื่อใหข้ ้อมูลใน SAR มีความสมบรู ณ์ยิ่งขึ้น และสะท้อนผล
การดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง ข้อมูลครูที่รับผิดชอบสอนในแต่ละชั้นให้ชัดเจนว่ามีครูปฐมวัยกี่คน ครูผู้สอน
ระดับประถมศึกษากี่คน สถานศึกษาควรระบุข้อมูลร้อยละของผ้สู ำเร็จการศึกษาแตล่ ะระดบั (สำเร็จช้ันสูงสุดแต่ละ
ระดับ) โดยเปรียบเทียบกับจำนวนแรกเข้า ข้อมูลจำนวนวันที่จัดการเรียนการสอนจริงของแต่ละระดับ ควรระบุ
ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ผลงานดีเด่นในรอบปีที่ผ่านมา ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ให้มี
ความสมบูรณ์ครบถ้วน ควรมีข้อสรุปเปรียบเทียบ การพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ๓ ปีการศึกษา ควรมีการแยก
ประเมินตนเองในแต่ละช่วงชั้น เช่น ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอาจจะแยกประเมินเป็นช่วงชั้นที่ ๑ (ป.๑-๓)
ช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๔-๖) ซึ่งจะทำให้มีการสรุปข้อมูลในเชิงลึกของแต่ละช่วงชั้นได้ชัดเจนยิ่งข้ึน รวมทั้งการระบุความ
ชัดเจนว่าได้เผยแพร่ SAR ให้ผู้เกี่ยวข้องต่าง ๆ เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ต้นสงั กัดได้รบั ทราบทั้งในรปู แบบออนไลน์ และหลกั ฐานอ่ืน ๆ ท่ีสถานศึกษาจดั ทำไดง้ ่ายข้ึน
8
คำรบั รอง
คณะผู้ประเมนิ ขอรับรองวา่ ได้ทำการประเมิน SAR ตามเกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของสำนักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ซง่ึ ตดั สนิ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกบนฐาน
ความโปร่งใส และยตุ ธิ รรมทุกประการ ลงนามโดยคณะผูป้ ระเมินดงั นี้
ตำแหนง่ ชอ่ื - นามสกุล ลายมือช่ือ
ประธาน ดร.จำเรญิ จิตรหลงั
กรรมการ นายสุรตั ิ สุนทร
กรรมการและเลขานุการ นางเดือนเพ็ญ เจรญิ ฤทธิ์
วันท่ี ๒ สงิ หาคม พ.ศ.2564
9
10
รำยงำนกำรประเมินคณุ ภำพภำยนอกสถำนศกึ ษำ
ระดับกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชำยแดนบำ้ นควนตะแบก
สังกัดกองกำกบั กำรตำรวจตระเวนชำยแดนที่ 43