The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสมเด็จย่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaewmaneekoson3122, 2021-10-20 05:34:03

หลักสูตรสมเด็จย่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

หลักสูตรสมเด็จย่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

๓๓

คณะกรรมการจดั ทําหลกั สูตรสมเดจ็ ย่า

คณะทีป. รึกษา กองบญั ชาการตํารวจตระเวนชายแดน

๑. พล.ต.ท. สาโรจน์ ปัญญา ผบช.ตชด.

๒. พล.ต.ต. สมศกั ดVิ แขวงโสภา รอง ผบช.ตชด.

๓. พล.ต.ต. ฉัตรพล คัคโนภาส รอง ผบช.ตชด.

๔. พล.ต.ต. บวร สงคศิริ รอง ผบช.ตชด.

๕. พล.ต.ต. ถาวร จนั ทร์ย/ิม รอง ผบช.ตชด.

๖. พล.ต.ต. วรพจน์ อนิ ทเส รอง ผบช.ตชด.

๗. พล.ต.ต. ธรี ะเดช รอดโพธVทิ อง รอง ผบช.ตชด.

๘. พล.ต.ต. นพิ นธ์ ศิริวงศ์ รอง ผบช.ตชด.

๙. พล.ต.ต. เธยี รชัย เอยี มรักษา รอง ผบช.ตชด.

๑๐. พล.ต.ต. ดเิ รก พงษ์ภมร รอง ผบช.ตชด.

๑๑. พล.ต.ต. นพรัตน์ มีปรีชา ผบก.อก.ตชด.

๑๒. พล.ต.ต. สทุ นิ เขยี วรัตน์ ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๓. พล.ต.อ. เฉลิมชยั พิมลศรี รอง ผบก.อก.ตชด.

๑๔. พ.ต.อ. ธาํ รง สาริกลั ยะ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๕. พ.ต.อ. ชยั ธชั ยอดอานนท์ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๖. พ.ต.อ. ยุทธนา ตงุ คะเสน รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๗. พ.ต.อ. โกสนิ ทร์ เทยี มทศั น์ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๘. พ.ต.อ. เอนก ณ นคร ผกก.๕ บก.อก.ตชด.

๑๙. พ.ต.อ. โชติ ไทยยิง ผกก.ตชด.๒๑

๒๐. พ.ต.อ. ปรีชา บญุ สขุ ผกก.ตชด.๒๓

๒๑. พ.ต.ท. ประจวบ จรูญธรรม รอง ผกก.ตชด.๒๓

๒๒. พ.ต.ท. คูณ โคตาสตู ร รอง ผกก.๕ บก.อก.ตชด.

๒๓. พ.ต.ท. บวร มุทขอนแก่น ผบ.ร้อย(สบ.๒)ร้อย ตชด.๒๓๒

๒๔. พ.ต.ท. ปราโมทย์ ตระกลู โชคเสถียร สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓

๒๕. พ.ต.ต. นรินทร์ เกษกาญจนานุช อดีต สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓

๒๖. พ.ต.ท. หญิง อมั พร โอฬารสกุล สว.ผ.๒ กก.๕ บก.อก.ตชด.

๓๔

๒๗. ร.ต.อ. หญงิ เสาวนยี ์ เรืองสภุ าชาติ รอง สว.ผ.๒ กก.๕ บก.อก.ตชด.
๒๘. อาจารย์ กติ ติ ขันธมิตร สาํ นกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตน

ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสท.)
๒๙. อาจารย์ อภสิ ทิ ธVิ พึงพร สาํ นักงานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตน

ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสท.)

คณะที.ปรึกษา สถาบนั ราชภฏั สกลนคร

๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา สวุ รรณไตรย์ อธกิ ารบดี

๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิพนธ์ อนิ สนิ อดตี อธกิ ารบดี

๓. นายพิศษิ ฐ์ แสงวงศ์ รองอธกิ ารบดีฝ่ ายกจิ การพิเศษ

๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ การุณย์ลญั จกร คณบดีคณะครศุ าสตร์

คณะกรรมการดําเนินงาน

๑. นายคมสนั อุดมสารเสวี หัวหน้าคณะกรรมการดาํ เนนิ งาน
๒. นางลัดดา พนัสนอก กรรมการ
๓. นางสาวสายใจ มาลัยกรอง กรรมการ
๔. นายยงยศ วงศ์แพงสอน กรรมการ
๕. ดร.ปัญญา นาแพงหมืน กรรมการ
๖. ร.ต.อ. มานะ ดรเถือน กรรมการ
๗. ร.ต.อ. เชิดชูพงศ์ วงศรียา กรรมการ
๘. ด.ต. ธนากร คัฒมาตร กรรมการ
๙. นางลัดดาศรี อุดมสารเสวี กรรมการและเลขานุการ
๑๐. ส.ต.ต.หญิง ปาริชาติ บวั รอด กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๑๑. นางสาวอจั ฉรา ประมาพันธ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๓๕

ผูท้ รงคณุ วุฒิ / ผูเ้ ชีย. วชาญดา้ นหลกั สูตรและการสอน
สถาบนั ราชภฏั สกลนคร

๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วฒั นา สวุ รรณไตรย์ อธกิ ารบดี
๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนมพร จนิ ดาสมุทร์ รองอธกิ ารบดีฝ่ ายวชิ าการ
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันเพญ็ จันทร์เจริญ รองคณบดีคณะครุศาสตร์
๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รังสรรค์ บุษยะมา ข้าราชการบาํ นาญ
๕. ดร.ประยูร บุญใช้ รองคณบดีคณะครุศาสตร์

๓๖

รายชื.อผูเ้ ขา้ ประชมุ พฒั นาปรบั ปรุงหลกั สูตรสมเดจ็ ยา่

คร;งั ที. ๑
วนั ที. ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๖
ณ กองบญั ชาการตํารวจตระเวนชายแดน กรุงเทพฯ

---------------

๑. พล.ต.ต. สมศักดVิ แขวงโสภา รอง ผบช.ตชด.
๒. พล.ต.ต. เธยี รชยั เอยี มรักษา รอง ผบช.ตชด.
๓. พล.ต.ต. ดเิ รก พงษภ์ มร รอง ผบช.ตชด.
๔. พล.ต.ต. นพรัตน์ มีปรีชา ผบก.อก.ตชด.
๕. พ.ต.อ. เฉลิมชยั พิมลศรี รอง ผบก.อก.ตชด.
๖. พ.ต.อ. ชัยธชั ยอดอานนท์ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒
๗. พ.ต.อ. เอนก ณ นคร ผกก.๕ บก.อก.ตชด.
๘. พ.ต.ท. คณู โคตาสตู ร รอง ผกก.๕ บก.อก.ตชด.
๙. พ.ต.ท. สมศักดVิ ศรีบญุ เรือง รอง ผกก.๕ บก. อก.ตชด.
๑๐. พ.ต.ท. ประจวบ จรูญธรรม รอง ผกก.ตชด.๒๓
๑๑. พ.ต.ต. นรินทร์ เกษกาญจนานุช อดีต สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓
๑๒. อาจารย์ กติ ติ ขนั ธมิตร สาํ นกั งานโครงการสมเดจ็ พระ-
เทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
๑๓. อาจารย์ อภสิ ทิ ธVิ พึงพร กุมารี (สสท.)
สาํ นักงานโครงการสมเดจ็ พระ-
๑๔. อาจารย์ คมสนั อดุ มสารเสวี เทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
๑๕. อาจารย์ ลดั ดาศรี อดุ มสารเสวี กุมารี (สสท.)
๑๖. อาจารย์ ยงยศ วงศ์แพงสอน สถาบันราชภัฏสกลนคร
สถาบนั ราชภฏั สกลนคร
สถาบันราชภฏั สกลนคร

๓๗

รายชือ. ผูเ้ ขา้ ประชมุ พฒั นาปรบั ปรุงหลกั สูตรสมเดจ็ ยา่

คร;งั ที. ๒
วนั ที. ๔ มนี าคม ๒๕๔๗
ณ กองบญั ชาการตํารวจตระเวนชายแดน กรุงเทพฯ

---------------

๑. พล.ต.ต. สมศักดVิ แขวงโสภา รอง ผบช.ตชด.
รอง ผบก.อก.ตชด.
๒. พ.ต.อ. เฉลมิ ชัย พิมลศรี ผกก.๕ บก.อก.ตชด.
รอง ผกก.๕ บก. อก.ตชด.
๓. พ.ต.อ. เอนก ณ นคร รอง ผกก.ตชด.๒๓
รอง สว.กก.๕ บก.อก.ตชด.
๔. พ.ต.ท. พีระศกั ดVิ กลีบจันทร์ รอง สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓
สถาบนั ราชภฏั สกลนคร
๕. พ.ต.ท. ประจวบ จรูญธรรม สถาบันราชภฏั สกลนคร
สถาบนั ราชภัฏสกลนคร
๖. ร.ต.อ.หญิง เสาวนยี ์ เรืองสภุ าชาติ สถาบนั ราชภฏั นครศรีธรรมราช
สาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดม
๗. ร.ต.อ. เชิดชูพงศ์ วงศรียา ศกึ ษา
สาํ นกั งานคณะกรรมการการอดุ ม
๘. อาจารย์ คมสนั อดุ มสารเสวี ศึกษา
สาํ นักงานโครงการสมเดจ็ พระ-
๙. อาจารย์ ลัดดาศรี อดุ มสารเสวี เทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กุมารี (สสท.)
๑๐. อาจารย์ ยงยศ วงศแ์ พงสอน

๑๑. ผศ.ณรงค์ อุ้ยนอง

๑๒. น.ส.สภุ าพร ศรีหามี

๑๓. นางกรรณิการ์ ภิรมย์รัตน์

๑๔. อาจารย์ อภิสทิ ธVิ พึงพร

ภาคผนวก

(๒)

เนือหา
เรือง “สมเดจ็ ยา่ ”

หลกั สูตร ป.๑- ป.๖ โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน กก.ตชด.๒๓

ความสําคญั ของสมเดจ็ ย่า

สมเดจ็ ย่า ทรงเป็นพระราชชนนี ผู้ให้กาํ เนดิ และถวายการอภิบาลเล&ียงดู
พระมหากษตั ริย์ผู้ทรงคุณอนั ประเสริฐย/ิงต่อคนไทยถึงสองพระองค์ โดยเฉพาะอย่างย/ิง
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันผู้ทรง
เป็นศนู ยร์ วมยึดเหน/ียวจิตใจของคนไทยท&งั ชาติ ตลอดพระชนม์ชีพของสมเดจ็ ย่า
พระองคท์ า่ นได้ทรงทุม่ เทพระวรกาย และพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ เพ/ือ
ช่วยเหลือราษฎรไทยผู้ยากไร้ ท/อี าศยั อยู่ในถน/ิ ทรุ กนั ดารห่างไกลความเจริญให้พ้น
จากความทกุ ขย์ าก และทรงปฏบิ ตั พิ ระราชภารกจิ ต่างๆ มากมาย

นอกจากน&ันสมเดจ็ ย่ายงั ทรงเลง็ เหน็ ว่า การศึกษาเป็นสง/ิ สาํ คญั ท/ที าํ ให้เยาวชน
ในชนบทมีความรู้ ความคดิ และสติปัญญาท/เี ฉลียวฉลาด อนั จะเป็นปัจจัยสาํ คญั ใน
การพัฒนาชนบท เม/ือทรงทราบว่ากองกาํ กบั การตาํ รวจตระเวนชายแดนมีโครงการท/ี
จะสร้างโรงเรียนในเขตพ&ืนท/ตี ามแนวชายแดน จงึ ได้พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์
เพ/ือนาํ ไปสร้างโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน และได้พระราชทานช/ือโรงเรียนตามช/ือ
ผู้บริจาคเงินในการจัดสร้างด้วย เม/ือโรงเรียนแต่ละแห่งสร้างเสรจ็ แล้ว พระองคก์ จ็ ะ
เสดจ็ ฯ ไปทรงเปิ ดโรงเรียนแห่งน&ันด้วยพระองค์เอง พร้อมกบั พระราชทานอุปกรณ์
การเรียนการสอนท/จี าํ เป็นให้กบั เดก็ นักเรียนด้วย

ถึงแม้ว่าสมเดจ็ ย่าจะทรงเจริญพระชนมายุมากข&ึน กม็ ไิ ด้ทอดท&งิ โรงเรียนตาํ รวจ
ตระเวนชายแดน พระองคไ์ ด้ทรงฝากให้สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กมุ ารี ทรงช่วยดูแลแทน ดังพระราชกระแสท/วี ่า “ยา่ แก่แลว้ ไปไหนไม่ค่อยไหว ถา้
สมเด็จพระเทพฯ เสดจ็ ฯ กใ็ หเ้ ยียมแทนยา่ ดว้ ย” นบั เป็นพระมหากรุณาธคิ ุณท/ที รง
มีต่อเยาวชนในท้องถ/ินชนบทห่างไกลเป็ นล้ นพ้ น

(๓)

จากพระราชกรณยี กจิ ท/ที รงบาํ เพญ็ ตลอดพระชนม์ชพี สมเดจ็ ย่าจงึ ได้รับการ
ประกาศเฉลิมพระเกยี รติคณุ จาก UNESCO ให้ทรงเป็นบุคคลสาํ คญั ของโลกประจาํ ปี
พุทธศกั ราช ๒๕๔๓ - ๒๕๔๔

พระราชประวตั ิ

ชาติกําเนิด

“สมเด็จย่า” เป็นพระสมัญญานามของ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ทรงมพี ระนามเดิมว่า “สงั วาลย”์ เสดจ็ พระราชสมภพเม/ือวนั อาทติ ยท์ /ี ๒๑ ตุลาคม
พุทธศกั ราช ๒๔๔๓ ท/จี งั หวดั นนทบรุ ี ในครอบครัวสามญั ชนท/ปี ระกอบอาชพี เป็น
ช่างทอง ทรงมพี /ีน้องรวม ๔ คน โดยทรงเป็นบุตรคนท/ี ๓ ของพระชนกช/ือ “ชู” และ
พระชนนชี /ือ “คาํ ” ท&งั น&ีพระภคินแี ละพระเชษฐาของพระองค์ได้ถึงแกอ่ นจิ กรรมต&ังแต่
วยั เยาว์ ส่วนพระอนุชา “ถมยา” ได้มชี ีวติ อยู่ต่อมาจนอายุราว ๒๗-๒๘ ปี จึงถงึ
แก่กรรมลงด้วยโรคเย/ือหุ้มสมองอกั เสบ

ครอบครัวของพระชนกชูและพระชนนีคาํ ได้พาํ นักอยู่ท/จี งั หวัดนนทบุรี เป็น
เวลานานเทา่ ใดไม่ปรากฏ แต่เม/ือสมเดจ็ ย่าทรงจาํ ความได้กพ็ บว่าครอบครัวของ
พระองค์ได้ย้ายมาต&ังถ/ินฐานอยู่ท/ซี อยวดั อนงค์ บริเวณเชิงสะพานสมเดจ็ พระพทุ ธ
ยอดฟ้ าจุฬาโลก ย่านฝ/ังธนบรุ ีแล้ว โดยบ้านท/ที รงพาํ นกั เป็นเหมอื นห้องแถวช&ัน
เดียว ก่อด้วยอฐิ มุงหลังคากระเบ&ือง สมเดจ็ ย่าทรงเป็นกาํ พร้าต&ังแต่ยงั เยาว์ เน/ือง
ด้วยพระชนกชูได้ถึงแกก่ รรมลงในขณะท/สี มเดจ็ ย่ายงั ทรงเลก็ อยู่ พระชนนีคาํ จึงต้อง
รับภาระในการเล&ียงดสู มเดจ็ ย่าและพระอนุชาโดยลาํ พังต่อมา

(๔)

การศึกษา

สมเดจ็ ย่า ทรงเข้าศึกษาในโรงเรียนวดั อนงคารามเป็นแห่งแรก หลงั จากน&ัน
ได้ย้ายไปเรียนต่อท/โี รงเรียนศึกษานารี และเม/ือพระชนมายุราว ๗-๘ พรรษา ได้ถูก
นาํ ข&ึนถวายตวั เป็นข้าหลวง ณ สวนส/ฤี ดใู นพระราชวงั ดสุ ติ ต่อมาได้ทรงพาํ นกั อยู่ท/ี
บ้านพระพ/ีเล&ียงของสมเดจ็ พระบรมราชชนกและถูกสง่ ไปศึกษาทโ/ี รงเรียนสตรีวิทยา
ขณะน&ัน สมเดจ็ ย่าทรงมีพระชนมายุราว ๙ พรรษา พระชนนีคาํ ได้ถึงแกอ่ นิจกรรม

ในปี พทุ ธศักราช ๒๔๕๖ สมเดจ็ ย่าได้ทรงเข้าเป็นนักเรียนพยาบาล ณ โรงเรียน
แพทย์ผดุงครรภแ์ ละหญิงแห่งศิริราช ท&งั ๆ ท/มี ีพระชนมายุเพียง ๑๓ พรรษา เทา่ น&ัน
จึงทรงเป็นนักเรียนพยาบาลท/มี ีอายุน้อยท/สี ดุ ในเวลาน&ัน

ในช่วงท/สี มเดจ็ ย่าทรงฝึกงานการพยาบาลอยู่น&ัน เป็นระยะเวลาท/ที างราชการ
ได้พยายามปรับปรุงงานด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ให้แพร่หลายและมีประสทิ ธภิ าพ
มากย/ิงข&ึน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขนุ ชัยนาทนเรนทร (ซ/ึงต่อมาทรงดาํ รงพระยศ
เป็น สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร) ได้ทรงคัดเลือกนักเรียน
แพทยแ์ ละนกั เรียนพยาบาลอย่างละ ๒ คน ให้ไปศึกษาต่อท/ปี ระเทศสหรัฐอเมริกา
ด้วยทุนของสมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม บรมราชชนก ท/พี ระราชทาน
ให้แกน่ กั เรียนแพทย์ และทนุ ของสมเดจ็ พระศรีสวรินทราบรมราชเทวี พระพันวสั สา
อยั ยิกาเจ้า ท/พี ระราชทานให้แกน่ กั เรียนพยาบาล ซ/ึงนกั เรียนพยาบาล “สงั วาลย”์
และนกั เรียนพยาบาล “อบุ ล” ได้รับการคดั เลือกให้ไปศกึ ษาท/ปี ระเทศสหรัฐอเมริกา
ในคร&ังน&ี

(๕)

ชีวิตสมรส

ในช่วงท/สี มเดจ็ ย่าศึกษาต่อในวิชาพยาบาลท/ปี ระเทศสหรัฐอเมริกา ทา่ นได้พบ
กบั สมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดลุ ยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ พระราชโอรสของ
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท/ี ๕ กบั สมเดจ็ พระศรีสวรินทราบ
รมราชเทวี (สมเดจ็ พระพันวัสสาอยั ยกิ าเจ้า) ท/เี สดจ็ ไปศึกษาวิชาแพทย์ และได้
อภิเษกสมรส เม/ือวนั ท/ี ๑๐ กนั ยายน พ.ศ.๒๔๖๓ โดยมีพระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยู่หัวรัชกาลท/ี ๖ มาพระราชทานนาํ& สงั ข์ ณ วังสระประทุม ภายหลังสมรส
ฐานะของสมเดจ็ ย่า จากนางสาวสงั วาลย์ เป็น หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยธุ ยา มี
พระราชธดิ า และพระราชโอรส รวม ๓ พระองค์ คือ

๑. สมเดจ็ พระเจ้าพ/ีนางเธอเจ้าฟ้ ากลั ยาณวิ ัฒนากรมหลวงนราธวิ าส
ราชนครินทร์

๒. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (รัชกาลท/ี ๘)
๓. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลท/ี ๙)

ทรงเป็ นพระราชชนนี

ในตอนเช้ามืดวนั ท/ี ๒๔ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๔๗๕ คณะราษฎร์ ได้ทาํ การปฏวิ ตั ิ

เปล/ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชยม์ าเป็นระบอบ

ประชาธิปไตย พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงยอมรับท/จี ะเป็นพระมหา

กษัตริย์ภายใต้การปกครองระบอบใหม่น&ี สมเดจ็ พระศรีสวรินทราบรมราชเทวี

พระพันวัสสาอยั ยิกาเจ้า ทรงตัดสนิ พระทยั ให้หม่อมสงั วาลย์ พระธดิ า พระโอรส ไป

พาํ นักณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พระองค์ต้องรับภาระในการอบรม

เล&ียงดูพระธิดา และพระโอรสท&งั ๓ พระองคโ์ ดยลาํ พัง

เม/ือวันท/ี ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง

ประกาศสละราชสมบัติ ด้วยเหตุท/พี ระองคไ์ ม่ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธดิ า

(๖)

รัฐบาลไทยในสมยั น&ันจงึ ได้กราบบังคมทูลอญั เชิญพระวรวงศ์เธอพระองคเ์ จ้าอานันท
มหิดล พระชนมายุ ๙ พรรษา พระราชโอรสองคโ์ ตในสมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช
กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระบรมราชชนก) กบั หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยุธยา
ข&ึนครองราชย์ เป็นพระมหากษัตริยร์ ัชกาลท/ี ๘ ทาํ ให้ฐานะของหม่อมสงั วาลย์
เปล/ียนเป็น พระราชชนนศี รีสงั วาลย์ ต่อมาสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหิดลได้ทรง
พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระราชชนนีศรีสงั วาลยข์ &ึนเป็น สมเดจ็ พระราชชนนีศรี
สงั วาลย์ ทรงดาํ รงพระยศเป็นพระบรมวงศฝ์ ่ ายในช&ันสงู เม/ือวนั ท/ี ๑๖ พฤศจิกายน
พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๑

ทรงอภิบาลดูแลยวุ กษตั ริย์

หลังส&นิ พระชนมข์ องสมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดลุ ยเดช หรือสมเดจ็ พระบรมราช
ชนก ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ แล้ว สมเดจ็ ย่า หรือ หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยุธยา
ขณะน&ัน พระชนมายุ ๒๙ พรรษา ต้องทรงรับพระราชภาระในการอภิบาลบาํ รุงพระ
ราชธดิ า พระราชโอรส ถึง ๓ พระองค์ โดยทาํ หน้าท/ใี นฐานะ “พอ่ ” และ “แม่” ผู้
ประเสริฐ ยึดหลักในการอภบิ าล ๒ ประการ คือ เดก็ ตอ้ งมีอนามยั สมบูรณ์ และเดก็
ตอ้ งอยูใ่ นระเบยี บวินยั โดยไม่บงั คบั เขม้ งวดมากเกินไป นอกจากน&ีสมเดจ็ ย่ายงั
ทรงอบรม
สงั สอน ใหพ้ ระราชธิดา พระราชโอรส เป็ นเดก็ ดี มมี ารยาทดี และมเี หตุผล ย/ิง
เม/ือหม่อมสงั วาลย์ มหิดล เปล/ียนฐานะเป็นพระราชชนนี การอภิบาลว่าท/ี
พระมหากษตั ริย์ พระองคน์ ้อย เป็นพระราชภารกจิ ท/ยี /ิงใหญ่ ท&งั น&ีเพราะมพี ระราช
ประสงคอ์ นั แรงกล้าท/จี ะให้พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวท/เี สดจ็ ข&ึนครองราชยภ์ ายใต้
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ทรงสามารถปฏบิ ัตหิ น้าท/ปี ระมุขของชาตใิ ห้ได้
ประโยชนเ์ ตม็ ท/ี มใิ ช่เพียงแต่รับราชสมบัติแล้วมิทรงทะนุบาํ รุงอาณาประชาราษฎร์
จากพระปณธิ านน&ีเองทาํ ให้สมเดจ็ ย่าต้องทรงเพ/ิมความเอาพระทยั ใสใ่ นการอบรมเล&ียง
ดพู ระราชธดิ า และพระราชโอรสมากย/ิงข&ึนเป็นเทา่ ทวคี ูณ ซ/ึงการถวายอภิบาลองคย์ ุ
วกษตั ริยข์ องสมเดจ็ ย่าน&ัน เป็นท/ยี อมรับจากท&งั พระบรมวงศานุวงศ์ และประชาชน
โดยทว/ั ไป

(๗)

ทรงสูญเสยี พระราชโอรส “อานนั ทมหิดล”

ในวันท/ี ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๙ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดสวรรคต

ณ พระท/นี /ังบรมพิมานในพระบรมมหาราชวัง การเสดจ็ สวรรคตของสมเดจ็ พระ

เจ้าอยู่หัวอย่างกระทนั หัน กอ่ ให้เกดิ ความเศร้าโศกสะเทอื นพระราชหฤทยั แกส่ มเดจ็ ย่า

เป็นท/ยี /ิง จนพระวรกายซบู ลงอย่างรวดเรว็ แม้จะทรงเสยี พระทยั มากเพียงใดสมเดจ็

ย่ากท็ รงพระองคด์ ้วยความเข้มแขง็ เป็นท/นี ่าสรรเสริญย/ิง

ในวันเดียวกบั ท/สี มเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหิดลเสดจ็ สวรรคต สภา

ผู้แทนราษฎรได้ลงมตเิ ป็นเอกฉันทใ์ ห้คณะรัฐมนตรีกราบบงั คมทลู เชิญ สมเดจ็ พระเจ้า

น้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภมู พิ ลอดุลยเดชเสดจ็ ข&ึนสบื ราชสนั ตตวิ งศ์ เป็นพระมหากษตั ริย์

แห่งบรม

ราชจักรีวงศ์ ซ/ึงขณะน&ันทรงมีพระชนมพรรษาเพียง ๑๘ พรรษา สมเดจ็ ย่าจึงยงั คง

ต้องรับพระราชภาระในการถวายพระอภบิ าลพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่ต่อไป

ทรงเป็ นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ลอดุลยเดช รัชกาลท/ี ๙ ได้ทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเฉลมิ พระนามพระราชบิดา สมเด็จเจา้ ฟ้ ามหิดล
อดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ เป็น สมเดจ็ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช
วิกรม พระบรมราชชนก และมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้
ประกาศเฉลมิ พระนาม สมเดจ็ พระราชชนนศี รีสงั วาลย์ เป็น สมเดจ็ พระศรีนครินทรา
บรมราชชนนี เม/ือวนั ท/ี ๙ มิถนุ ายน พทุ ธศักราช ๒๕๑๓

(๘)

พระราชนดั ดาของสมเด็จยา่

สมเดจ็ ย่าทรงมีพระราชนัดดา ท/ปี ระสูตแิ ต่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ล
อดุลยเดช และสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ตVิ พระบรมราชนิ ีนาถ รวม ๔ พระองค์ คอื

๑. สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟ้ าอบุ ลรัตนร์ าชกญั ญาฯ
๒. สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟ้ ามหาวชริ าลงกรณ์ สยามมกุฎราชกุมาร
๓. สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า เจ้าฟ้ ามหาจักรีสริ ินธร รัฐสมี าคุณากรปิ ยชาติ

สยามบรมราชกุมารี
๔. สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าจุฬาภรณ์วลัยลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี

พระราชนัดดาท/ปี ระสตู ิแต่สมเดจ็ พระเจ้าพ/ีนางเธอ เจ้าฟ้ ากลั ยาณวิ ัฒนากรม
หลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ คอื ท่านผู้หญงิ ทศั นาวลยั ศรสงคราม

(๙)

สมเด็จย่าเสด็จสวรรคต

ในวันท/ี ๒ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๓๘ สมเดจ็ ย่าทรงประชวรด้วยโรคพระหทยั
กาํ เริบ ต้องเสดจ็ ฯ เข้ารบั การรักษาท/ตี กึ ๘๔ ปี โรงพยาบาลศิริราช แม้คณะแพทย์จะ
ถวายการรักษาอย่างสดุ ความสามารถแล้ว แต่พระอาการกลบั ทรงและค่อยๆ ทรดุ ลง
เป็นลาํ ดับ จนกระท/งั เวลา ๒๑.๑๗ น. ของคืนวันท/ี ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๘
สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี จึงได้เสดจ็ สวรรคตโดยพระอาการสงบ สิริ
พระชนมายุ ๙๔ พรรษา ๗ เดอื น ๒๘ วัน

เม/ือสมเดจ็ ย่าเสดจ็ สวรรคตแล้ว พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว มพี ระบรมราช
โองการโปรดเกล้าฯ ให้สาํ นกั พระราชวังจดั การพระบรมศพ ถวายพระเกยี รติยศสงู สดุ
ตามพระราชประเพณี ประดิษฐานพระบรมศพ ณ พระท/นี /ังดุสติ มหาปราสาท ใน
พระบรมมหาราชวัง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าทลู
ละอองธลุ ีพระบาทในราชสาํ นกั ไว้ทุกขถ์ วายมกี าํ หนด ๑๐๐ วนั ต&ังแต่วันสวรรคตเป็น
ต้นไป พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประชาชนเข้าถวายนาํ& สรงพระบรมศพหน้า
พระบรม
ฉายาลักษณ์ หลังพระราชพิธบี าํ เพญ็ พระราชกุศลทกั ษณิ านุปทาน ๑๐๐ วัน ถวาย
พระบรมศพสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีแล้ว พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
ทรงมพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชทานพิธถี วายพระเพลงิ พระ
บรมศพสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ข&ึนในวนั ท/ี ๑๐ มนี าคม พ.ศ.๒๕๓๙
โดยใช้บริเวณทางด้านทศิ ใต้ของท้องสนามหลวง โดยสร้างองค์เมรมุ าศเป็นแบบทรง
ปราสาท ๓ องคเ์ รียงกนั งานพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพสมเดจ็ ย่า เป็นไป
อย่างสมพระเกยี รติยศ ทา่ มกลางความโศกสลดและอาลยั รักของพสกนิกรชาวไทยโดย
ท/วั กนั

(๑๐)

พระราชกรณยี กิจ

สมเดจ็ ย่าได้ทรงบาํ เพญ็ พระราชกรณียกจิ เพ/ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน
โดยเฉพาะในท้องถ/ินทรุ กนั ดาร เพราะทรงเหน็ ว่าถ้าพระราชทานโอกาสแกพ่ สกนิกร
ในท้องถ/ินห่างไกลให้มคี วามรู้ แม้พออา่ นออกเขยี นได้ รู้จกั รักษาสขุ ภาพอนามัยของ
ตนเอง รู้จกั ประกอบสมั มาอาชพี ประชาชนเหล่าน&ันกจ็ ะเป็นทรัพยากรท/มี คี ุณค่าของ
ชาติ พระราชกรณียกจิ ของสมเดจ็ ย่าสว่ นใหญ่จึงมุ่งพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน
ในถ/ินทรุ กนั ดาร เช่น

๑. การส่งเสริมการศึกษาเดก็ และเยาวชนในถ/ินทรุ กนั ดาร (โรงเรียนตาํ รวจ
ตระเวนชายแดน)

๒. การเสดจ็ ฯ เย/ียมเยยี น และพระราชทานความช่วยเหลือประชาชน
๓. การจัดต&ังหน่วยแพทย์อาสาสมเดจ็ พระราชชนนศี รีสงั วาลย์
๔. การสนับสนุนกจิ การลูกเสอื ชาวบ้าน
๕. การกอ่ สร้างโรงพยาบาลเพ/ือการพักฟ&ื นตาํ รวจตระเวนชายแดน ท/สี ้รู บกบั

ผู้ก่อการร้าย และปกป้ องเอกราชของประเทศชาติ
๖. การฟ&ื นฟูสภาพป่ าโดยรอบดอยตงุ และพัฒนาสภาพชีวติ ความเป็นอยู่ของ

ราษฎรท/อี ยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคยี ง

(๑๑)

สมเดจ็ ย่ากบั การสงเคราะหโ์ รงเรียน ตชด.

สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงสนพระทยั และเป็นห่วงในเร/ือง

การศกึ ษาของเยาวชนในเขตชนบทเป็นอย่างมาก ด้วยทรงมีพระราชดาํ ริว่า

“การศึกษาเป็ นสิงสําคญั ทีจะทําใหเ้ ยาวชนในชนบทมคี วามรู้ ความคิดและ

สติปัญญาทีเฉลียวฉลาด อนั จะเป็ นปัจจยั สาํ คญั ในการพฒั นาชนบท” สมเดจ็

ย่าทรงพบว่าเยาวชน ในถ/ินทรุ กนั ดารขาดโรงเรียน หรือสถานศกึ ษา เพราะ

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารยังขยาย

ออกไปไม่ถงึ เม/ือทรงทราบว่ากองกาํ กบั การตาํ รวจตระเวนชายแดน มีโครงการขยาย

การจดั ต&ังโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน จึงทรงพระราชทานพระราชทรัพย์สว่ น

พระองค์ ให้นาํ ไปสร้างโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน และโรงเรียนชาวเขา ต่อมา

มีผู้มจี ิตศรัทธาทูลเกล้าฯ ถวายเงินสมทบเพ/ือจัดสร้างโรงเรียนชาวเขาหรือโรงเรียน

ตาํ รวจตระเวนชายแดนเพ/ิมมากข&ึนในภมู ิภาคต่างๆ

ไม่เพียงเท่าน&ันสมเดจ็ ย่ายงั ได้ทรงรับเอาโครงการของโรงเรียนตาํ รวจตระเวน

ชายแดน ไว้ในพระราชูปถัมภ์ และเม/ือสมเดจ็ ย่าทรงเจริญพระชนมายุมากข&ึนกม็ ิได้

ทรงทอดท&งิ พระองคไ์ ด้ทรงฝากให้สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

ทรงช่วยดแู ลแทนดังพระราชกระแสท/วี ่า “ยา่ แก่แลว้ ไปไหนไม่ค่อยไหว ถา้ สมเด็จ

พระเทพฯ เสดจ็ ฯ กใ็ หเ้ ยียมแทนย่าดว้ ย” สมเดจ็ ย่าจงึ มพี ระคุณย/ิงสาํ หรับพวกเรา

นักเรียนโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดน ถ้าไม่มสี มเดจ็ ย่าและสมเดจ็ พระเทพ

รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เดก็ และเยาวชนในถ/ินทุรกนั ดาร คงไม่ได้รับ

การศึกษา ไม่มีความรู้ ครอบครัวของพวกเขาคงลาํ บาก ไม่ได้รับความช่วยเหลือ

และพัฒนาคุณภาพชวี ิตเช่นปัจจุบันน&ี

(๑๒)

สมเดจ็ ยา่ กบั ช่วยเหลอื ประชาชน

สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี แม้จะเป็นพระชนนี (มารดา) ของ
พระมหากษตั ริยไ์ ทย ๒ พระองค์ คอื รัชกาลท/ี ๘ และรัชกาลท/ี ๙ กม็ ไิ ด้ทรงเสวยสขุ
อยู่แต่ในพระราชวงั พระองคท์ รงแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยู่หัว ในการดแู ลความทุกข์สขุ ของราษฎรในชนบทอย่างจริงจงั ทรงเสดจ็ พระ
ราชดาํ เนนิ เย/ียมชาวไทยภเู ขาท/อี ยู่ห่างไกล ชาวชนบทในถ/ินทุรกนั ดาร แม้จะอยู่
บน
เกาะกลางทะเลท/โี ดดเด/ียว ทรงพระราชทานความช่วยเหลือท/ตี รงตามความต้องการ
และความจาํ เป็น ชาวไทยทว/ั ไปจงึ ร่วมใจถวายพระราชสมัญญา “สมเดจ็ ยา่ ”และชาว
ไทยภเู ขากถ็ วายพระราชสมญั ญา “แม่ฟ้ าหลวง” ด้วยความเคารพรัก และเทดิ ทูนอย่าง
บริสทุ ธVใิ จ

สมเด็จย่ากบั งานดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข

จากการท/สี มเดจ็ ย่าได้เสดจ็ ฯ เย/ียมเยยี นชาวบ้านตามหมู่บ้านในป่ าเขา ทาํ ให้
ได้ทรงพบเหน็ ราษฎรจาํ นวนมากได้รับทุกขเวทนาอนั เกดิ จากโรคภัยไข้เจบ็ ต่างๆ แล้ว
มไิ ด้รับการรักษาพยาบาลท/ถี กู ต้อง เน/ืองจากพวกเขาเหล่าน&ันอยู่ในถน/ิ ทรุ กนั ดาร
ห่างไกล จากสถานพยาบาล สมเดจ็ ย่าจงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แพทย์และ
พยาบาลผู้ตามเสดจ็ ทาํ การตรวจรักษาชาวบ้านท/เี จบ็ ป่ วยเหล่าน&ัน นบั เป็นจุดเร/ิมต้น
ของหน่วยแพทย์อาสาเคล/ือนท/ใี นพระองค์

เม/ือปี พ.ศ.๒๕๑๑ จงึ ทรงมีพระราชดาํ ริจัดต&ังหน่วยแพทยอ์ าสาในพระองค์ข&ึน
เป็น “หนว่ ยแพทยอ์ าสาสมเด็จพระราชชนนศี รีสงั วาลย”์ : (พอ.สว) หน่วยแพทย์
พอ.สว. ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าท/สี าธารณสขุ ท/เี ป็นอาสาสมคั ร
ทาํ งานด้วยความเสยี สละโดยมไิ ด้รับเงินหรือค่าตอบแทนอ/นื ใด จะออกไปให้บริการ
ตรวจรักษาชาวบ้านตามท้องถ/ินท/กี นั ดาร ห่างไกลความเจริญ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๑๗
สมเดจ็ ย่าจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทุน ๑ ล้านบาท จดั ต&ังเป็นมลู นธิ ิ ใช้ช/ือ

(๑๓)

ในการจดทะเบียนว่า “มูลนธิ ิแพทยอ์ าสาสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี” ใช้
ช/ือย่อว่า “พอ.สว.” โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พ/ือให้ความช่วยเหลอื รักษาพยาบาลแก่
ประชาชนและเจ้าหน้าท/ที /ปี ฏบิ ัติงานในท้องถ/ินทุรกนั ดารตามชายแดน โดยไม่จาํ กดั
เช&ือชาติ ศาสนา และไม่คิดมลู ค่า

สมเด็จยา่ กบั กิจการลูกเสือชาวบา้ น

ระหว่างวนั ท/ี ๒๕-๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๔ กองกาํ กบั การตาํ รวจตระเวน
ชายแดน เขต ๔ ได้ฝึกอบรมลูกเสอื ชาวบ้านรุ่นท/ี ๙ ท/บี ้านทรายมูล ตาํ บลอมุ่ เหม้า
อาํ เภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม มีผู้เข้ารับการฝึกจาํ นวน ๒๓๘ คน เวลาน&ัน
สมเดจ็ ย่าเสดจ็ ฯ เย/ียมราษฎร และประทบั แรมอยู่ท/โี ครงการชลประทานเข/ือนนา&ํ อนู
จังหวัดสกลนคร พระองคไ์ ด้เสดจ็ ฯ ไปทอดพระเนตรการฝึกและทรงเป็นประธานใน
พิธปี ิ ด พระองคท์ รงมรี ับสง/ั กบั คณะวทิ ยากรว่า “พยายามพัฒนาการฝึกให้เกดิ ผลดี
ต่อชาติ บ้านเมอื ง ให้ประชาชนรู้จกั พ/ึงตนเอง ช่วยตนเอง รู้จกั นาํ วธิ ที /ฝี ึกไปพัฒนา
ตัวเอง ครอบครัวและชุมชน”

สมเดจ็ ย่าได้พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคจ์ าํ นวน ๒๓๘,๐๐๐ บาท
สนบั สนุนกจิ การลกู เสอื ชาวบ้าน ทาํ ให้สามารถขยายกจิ การลกู เสอื ชาวบ้านไปได้ทว/ั
ประเทศ ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงรับกจิ การลกู เสอื ชาวบ้านไว้ในพระ
บรมราชานุเคราะห์ เม/ือวนั ท/ี ๒๙ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๑๕

สมเดจ็ ย่า ทรงมีพระมหากรณุ าธคิ ุณต่อกจิ การลูกเสอื ชาวบ้านอย่างย/ิง พระองค์
ได้เสดจ็ ฯ ไปพระราชทานธงประจาํ รุ่นลูกเสอื ชาวบ้านเป็นคร&ังแรก ท/อี าํ เภอเมือง
จงั หวดั อดุ รธานี เม/ือวนั ท/ี ๑๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๑๕ และพระราชทานเหรียญ
อนุสรณ์มหาราชแก่คณะวทิ ยากร และเหรียญลกู เสอื แกผ่ ู้เข้าอบรมทกุ คน มูลนธิ ิ
วิทยากรลูกเสอื ชาวบา้ น (มวส.) ได้ก่อต&ังข&ึนในวันท/ี ๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๒๘ โดย
ได้รับพระราชทานเงนิ ทุนจากสมเดจ็ ย่า เป็นเงินแปดแสนบาท รวมกบั มีผู้บริจาคอกี
สว่ นหน/ึง รวมเป็นเงนิ ท&งั ส&นิ ๑ ล้านบาท

(๑๔)

สมเด็จย่ากบั การสงเคราะหต์ ํารวจตระเวนชายแดน

ในการเสดจ็ ฯ ไปเย/ียมเยียนตาํ รวจตระเวนชายแดนท/ฐี านปฏบิ ัติการ สมเดจ็
พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้ทอดพระเนตรเหน็ สภาพความเป็นอยู่ท/ลี าํ บาก
แร้นแค้นและอนั ตรายท/ตี าํ รวจตระเวนชายแดนผู้ออกไปปฏบิ ตั ิหน้าท/ปี กป้ องชาติ
บ้านเมอื ง บางคร&ังถึงกบั เสยี ชีวิตหรือสญู เสยี อวยั วะบางสว่ นไปในการปฏบิ ตั หิ น้าท/ี
เป็นเหตใุ ห้ครอบครัวท/อี ยู่เบ&ืองหลงั ต้องประสบเคราะห์กรรมลาํ บาก เน/ืองจากต้อง
ขาดหัวหน้าครอบครัวหรือหัวหน้าครอบครัวต้องทพุ พลภาพไม่อาจทาํ มาหาเล&ียง
ครอบครัว ได้อกี ต่อไป ด้วยเหตุน&ีสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี จงึ ได้
พระราชทานพระราชทรพั ยส์ ่วนพระองคใ์ หน้ าํ ไปจดั ตงั เป็ น “มูลนิธิสงเคราะห์
ตํารวจชายแดนและ
ครอบครวั ในพระอปุ ถมั ภส์ มเด็จพระราชชนนศี รีสงั วาลย”์ มีชือย่อว่า “มส.ชด.สว.”
เม/ือวนั ท/ี ๑๘ กนั ยายน ๒๕๑๐ มีวัตถุประสงค์เพ/ือช่วยเหลอื สวสั ดิการตาํ รวจและ
ครอบครัวท/ไี ด้รับบาดเจบ็ หรือถึงแก่กรรมลงในขณะปฏบิ ัตหิ น้าท/ี ตลอดรวมไปถงึ
การช่วยเหลอื ในด้านการศึกษาให้แก่บุตรของเหล่าตาํ รวจตระเวนชายแดน ท&งั ยงั รับ
เอามลู นิธแิ ห่งน&ีไว้ในพระอุปถัมภ์ของพระองค์อกี ด้วย เป็นผลให้เกดิ ขวญั และกาํ ลังใจ
แกข่ ้าราชการตาํ รวจตระเวนชายแดน และครอบครัวเป็นอย่างมาก

ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรด
เกล้าฯ สถาปนาสมเดจ็ พระราชชนนศี รีสงั วาลย์ข&ึนเป็น “สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรม
ราชชนนี” ดังน&ันกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดนจึงได้ขอเปล/ียนนาม “มูลนิธิ
สงเคราะห์ตาํ รวจชายแดนและครอบครัวในอปุ ถมั ภ์สมเดจ็ พระราชชนนีศรีสงั วาลย์”
(มส.ชด.สว.) เป็น “มูลนธิ ิสงเคราะหต์ ํารวจตระเวนชายแดนและครอบครวั ในพระ
ราชูปถมั ภข์ องสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี” (มส.ตชด.สว.)” ต&ังแต่วนั ท/ี
๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ เป็นต้นมา

(๑๕)

เน/ืองจากสมเดจ็ ย่าทรงเลง็ เหน็ ว่า ตาํ รวจตระเวนชายแดน ได้ทาํ การส้รู บกบั

ผู้กอ่ การร้ายคอมมิวนสิ ต์ และปกป้ องเอกราช เป็นเหตใุ ห้ได้รับบาดเจบ็ และสญู เสยี

ชวี ิต ต้องพักรักษาตวั ตามโรงพยาบาลต่างๆ สมเดจ็ ย่าทรงเลง็ เหน็ ความจาํ เป็นท/ี

จะต้องให้ความช่วยเหลือในการพักฟ&ื นอาการเจบ็ ป่ วยเน/ืองจากการส้รู บ กอ่ นท/จี ะ

กลับไป ปฏบิ ตั ิภารกจิ และเพ/ือใช้เป็นสถานท/รี ับสง่ คนไข้ในพระราชานุเคราะห์ ท/จี ะ

เข้ามารักษาในโรงพยาบาลส่วนกลาง เน/ืองจากคนไข้ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้

หรือเดนิ ทางไปมาไม่ถกู หรือเป็นท/พี ักคนไข้ก่อนท/จี ะนาํ ตวั ส่งไปรักษาใน

โรงพยาบาลและ

ระหว่างรอส่งตัวกลบั ภมู ิลาํ เนา จงึ ได้พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์เป็นทนุ

ในการกอ่ สร้างโรงพยาบาล

กรมตาํ รวจได้พิจารณาอนุมัตใิ ห้กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ใช้ท/ดี นิ

ภายในกองบญั ชาการตาํ รวจตระเวนชายแดนเน&ือท/๓ี ๐๐ตารางวา เพ/ือสร้างโรงพยาบาล

ขนาด ๓๐ เตยี ง และอนุมัตเิ พ/ิมอกี ๑๕๓.๔๐ ตารางวา เพ/ือขยายโรงพยาบาลเป็น ๕๐

เตยี ง กองกาํ กบั การตาํ รวจตระเวนชายแดนได้ขอพระราชทานพระราชานุญาตอญั เชิญ

พระนามาภิไธย เป็นนามอาคารโรงพยาบาลตาํ รวจตระเวนชายแดนว่า “อาคารศรี

นครินทร”์ ต่อมาทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงพยาบาลว่า “นวุติ

สมเดจ็ ยา่ ” ซ/ึงมีความหมายว่า “สมเด็จยา่ ๙๐ ปี ” เม/ือวนั ท/ี ๕ มนี าคม พุทธศักราช

๒๕๓๓

(๑๖)

สมเดจ็ ยา่ กบั การศาสนา

สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเป็นพุทธศาสนกิ ชนท/ยี ดึ ม/ันใน
พระพทุ ธศาสนาตลอดมา นอกจากจะทรงทาํ ทาน (ทรงบาํ เพญ็ ทานบารมีด้วยการให้
และช่วยเหลอื ผู้อ/นื โดยเฉพาะผู้ป่ วย)รักษาศลี และเจริญภาวนาเป็นกจิ วัตรแล้ว
พระองคย์ ัง
ทรงสนพระทยั ในการศึกษาปฏบิ ัตธิ รรมด้วย ยงั ได้ทรงซมึ ซับให้พระราชธดิ าและพระ
ราชโอรส ได้ประพฤตปิ ฏิบตั ติ ามโดยมติ ้องทรงเค/ียวเขญ็ แต่ประการใด

เม/ือคร&ังท/สี มเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเป็นผู้สาํ เรจ็ ราชการแทน
พระองคไ์ ด้ทรงมพี ระเมตตาธคิ ุณท/จี ะให้ข้าราชการสาํ นักได้มีโอกาสสดบั พระธรรม
เทศนาบ้างเป็นคร&ังคราว จงึ โปรดเกล้าฯ ให้อาราธนาพระเถรานุเถระมาบรรยายธรรม
พร้อมกบั ทรงให้รวบรวมจดั พิมพ์ข&ึนเป็นเล่ม เพ/ือเผยแพร่ให้แกบ่ ุคคลท/วั ไปในโอกาส
ต่อมา เช่น เร/ืองหน้าท/ี ชวี ิตกบั ธรรม ปริยัติและปฏบิ ัติ และฆราวาสพ&ืนฐานของ
การทาํ ดแี ละทาํ ช/ัว เป็นต้น ท&งั น&ีเน/ืองจากสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรง
มีพระราชดาํ ริว่า “จิตใจเป็ นรากฐานของการกระทาํ และการกระทาํ เป็ นรากฐานของ
การเกิดความสุข หรือความทุกขข์ องคน ดังนัน! การฝึ กอบรมจติ จึงเป็ นส%ิงจาํ เป็ น
สาํ หรับทุกคน เพราะทุกคนมจี ิตทีจ% ะตอ้ งรู้ ตอ้ งคดิ เหมอื นกันจึงจาํ เป็ นจะตอ้ ง
บริหารจติ หรือพฒั นาจิตใหร้ ู้ ใหค้ ดิ ไปในทางทีถ% กู ทีค% วร เพอื% การกระทาํ ต่างๆ ไป
ในทางทีถ% กู ทีค% วร…”

สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ยงั ทรงห่วงใยถงึ นกั ศกึ ษาและข้าราชการ
ท/พี าํ นกั อยู่ในต่างประเทศว่าพวกเขาควรจะมีหนงั สอื เก/ยี วกบั คาํ ส/งั สอนใน
พระพทุ ธศาสนาเป็นคู่มือสาํ หรับอา่ นเพ/ือเป็นแนวทางสาํ หรับปฏบิ ตั ติ นกบั เพ/ือสามารถ
ใช้อธบิ าย ให้กบั ชาวต่างชาตผิ ู้ต้องการทราบถึงหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาให้
เข้าใจได้ จึงทรงอาราธนาสมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราชสกลมหา
สงั ฆปรินายก แห่งวดั บวรนิเทศวิหาร เม/ือคร&ังยงั ทรงสมณศักดVิเป็นพระสาสนโสภณ
ใหท้ รงเรียบเรียง หนงั สอื ธรรมะ “พระพุทธเจา้ ทรงสงั สอนอะไร ?” โดยในหนงั สอื

(๑๗)

ได้กล่าวถงึ อริยสจั ๔ ไตรลักษณ์ พรหมวหิ าร ๔ นิพพาน ตลอดจนการปฏบิ ตั ิตน

ให้ถูกต้องในทางธรรม อนั จะนาํ ความสขุ ความเจริญมาส่ชู ีวติ ตนเม/ือพระสาสนโสภณ

เรียบเรียงข&ึนแล้ว สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้ทรงตรวจทานในแง่ของ

การใช้ถ้อยคาํ และสาํ นวนภาษาให้เหมาะสมกบั กล่มุ ผู้ท/จี ะอา่ น ซ/ึงมิใช่ผู้ท/รี อบรู้ทาง

พระพุทธศาสนา โดยทรงเอาพระองคเ์ องเป็นเคร/ืองวดั ความยากง่ายของเร/ือง

จากน&ันได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระขนั ติปาโลและพระนาคเสโน แปลเป็น

ภาษาองั กฤษ แล้วจดั พิมพ์ข&ึนเพ/ือแจกจ่ายไปยงั สถานศกึ ษา และหน่วยงาน

ข้าราชการ ท/ปี ระจาํ อยู่ในต่างประเทศ

พระจริยวัตรท/สี าํ คญั อกี ประการหน/ึงในทางพระพุทธศาสนาของสมเดจ็ พระศรี

นครนิทราบรมราชชนนี ท/นี ้อยคนนกั จะได้รู้เหน็ กค็ อื การป&ันพระพุทธรูป แม้พระองค์

จะมไิ ด้ทรงศกึ ษาการป&ันในทางศลิ ปะมากอ่ นแต่ด้วยพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา

ทาํ ให้ทรงสามารถป&ันพระพทุ ธรปู ได้อย่างงดงามด้วยพุทธลักษณะ และพระองค์ยังทรง

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้างพระพทุ ธปฏมิ าในลักษณะต่างๆข&ึน เพ/ือพระราชทาน

ให้แกบ่ คุ คลและหน่วยงานท/รี ับสนองพระราชกจิ ในวโรกาสต่างๆ เพ/ือให้บคุ คลดังกล่าว

ได้ใช้เป็นสง/ิ ยดึ เหน/ียวจิตใจให้ต&ังอยู่ในศีลธรรมอนั ดี พระเคร/ืองท/โี ปรดเกล้าฯ ให้

จดั ทาํ ข&ึนน&ีมี พระพทุ ธเมตตา พระพทุ ธปฏมิ าทรงเคร/ืองขนาดเลก็ เหรียญพระพทุ ธ

ปฏมิ ารปู ใบโพธVิ พระกร/ิง สว. เหรียญพระพุทธรปู ประทานพรรูป ใบโพธVปิ ระดับ

พระนามาภไิ ธยย่อ สว.เป็นอาทิ

อกี สง/ิ หน/ึงท/แี สดงให้เหน็ ถึงพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา ของสมเดจ็

พระศรีนครินทราบรมราชชนนี คอื ได้ทรงพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์

ร่วมกบั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว และสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ Vิ พระบรมราชนิ ีนาถ

เพือใชเ้ ป็ นทนุ ในการตรวจชําระ และจดั พมิ พพ์ ระไตรปิ ฎกฉบบั มหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลยั ปี พุทธศกั ราช ๒๕๓๕ และในวโรกาสวนั คล้ายวนั พระราชสมภพในทุกๆ ปี

กจ็ ะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นาํ พระราชทรัพย์ไปบริจาคให้แก่วัดวาอารามต่างๆ

เพ/ือทาํ นุบาํ รงุ ให้กจิ การทางพระพทุ ธศาสนาได้สบื ต่อไป

มิใช่เพียงพระพทุ ธศาสนาเท่าน&ันท/ที รงให้ความเก&อื หนุน สมเดจ็ พระศรีนคริน

ทราบรมราชชนนี ยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สาํ นักจุฬาราชมนตรีจดั พิมพ์

หนังสอื “ศาสนาอสิ ลาม สอนอะไร?” ข&ึนสาํ หรับพระราชทาน ให้แกป่ ระชาชนใน

(๑๘)

จงั หวัดภาคใต้และผู้สนใจท/วั ไป เพราะทรงตระหนกั ว่าทกุ ศาสนาล้วนมจี ุดหมายท/จี ะ
สอนให้ผู้ท/นี ับถอื เป็นคนดี และอยู่ร่วมกบั ผู้อ/นื ได้อย่างสนั ติ

สมเด็จยา่ กบั งานอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ

ในปี พทุ ธศักราช ๒๕๓๐ เป็นปี ท/สี มเดจ็ ย่าทรงเจริญพระชนมายุครบ ๙๐
พรรษา รัฐบาลภายใต้การนาํ ของพลเอกเปรม ติณสลู านนท์ ได้ดาํ เนินการก่อสร้างพระ
ตาํ หนัก ดอยตงุ บนเทอื กเขานางนอน จังหวดั เชียงราย ข&ึนถวายเพ/ือทรงใช้เป็นท/ี
ประทบั แทนการเสดจ็ ฯ แปรพระราชฐานไปประทบั ยังประเทศสวติ เซอร์แลนด์ ก่อน
หน้าน&ี สมเดจ็ ย่าทรงสงั เกตเหน็ ว่าพ&ืนท/สี ่วนใหญ่โดยรอบดอยตุง มีสภาพเป็นป่ า
เส/อื มโทรม เน/ืองจากถูกบกุ รกุ ทาํ ลายเพ/ือการทาํ ไร่เล/ือนลอยด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
ของชาวไทยภเู ขา พระองคจ์ งึ ทรงมพี ระราชดาํ ริท/จี ะพลกิ ฟ&ื นผืนป่ าให้กลับมามชี วี ิต
ใหม่อกี คร&ัง โครงการพัฒนาดอยตุงจึงถือกาํ เนิดข&ึน โดยมวี ตั ถปุ ระสงคฟ์ &ื นฟูสภาพป่ า
โดยรอบดอยตงุ ให้กลบั ฟ&ื นคืนสภาพ สาํ หรับเป็นแหล่งต้นนาํ& ลาํ ธาร และเพ/ือการ
พัฒนาสง่ เสริมสภาพชีวติ ความเป็นอยู่ของราษฎรซ/ึงอาศยั อยู่บริเวณใกล้เคียง ให้มี
คณุ ภาพชวี ิตท/ดี ขี &ึน ต&ังถ/ินฐานเป็นหลกั แหล่งม/ันคง มอี าชพี ท/สี จุ ริต หยุดการปลูกพืช
เสพตดิ ทุกชนิด และหยุดการบุกรกุ ทาํ ลายป่ าอย่างส&นิ เชิง รวมท&งั พัฒนาดอยตุงให้
เป็นแหล่งท่องเท/ยี วระดบั ประเทศด้วย

(๑๙)

งานอดเิ รกของสมเดจ็ ยา่

ทรงโปรดอยูต่ ามเขาลาํ เนาป่ า

ผู้มโี อกาสเข้าเฝ้ าทูลละอองพระบาทสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนแี ต่ละ
คนจะมีเหตกุ ารณท์ /ปี ระทบั ใจเก/ยี วกบั พระองคเ์ สมอ พลตาํ รวจตรี สเุ ทพ สขุ สงวน
(สมั ภาษณ์, ๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๓ ) เล่าว่า

…เม/ือเดอื นธนั วาคม ปี พ.ศ.๒๕๑๓ ขณะน&ันยศร้อยตาํ รวจโท
เป็นผู้บงั คบั หมวดชายแดนพร้อมด้วยกาํ ลงั ตาํ รวจชายแดน ๑๕ นาย ทาํ
หน้าท/ถี วายความปลอดภยั สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ท/พี ระ
ตาํ หนักภพู ิงคราชนิเวศนจ์ งั หวัดเชียงใหม่

สมเดจ็ ย่าโปรดทรงพระดาํ เนินตามภเู ขา ทอดพระเนตรดอกไม้
และธรรมชาติมาก หลังจากเสวยพระกระยาหารกลางวนั แล้ว ตอนบ่าย
ทรงพระดาํ เนนิ ไปตามป่ าเขา โปรดความสะอาดและความเป็นระเบียบ
เรียบร้อย เม/ือทรงพระดาํ เนนิ ไปตามทาง ทอดพระเนตรเหน็ ส/งิ ของซ/ึง
ไม่ควรจะอยู่ในธรรมชาติ เช่น เศษกระดาษ ก้นบุหร/ี ถงุ พลาสติก ทรง
ก้มเกบ็ สง/ิ เหล่าน&ันด้วยพระองคเ์ อง พวกเราจึงจดั ให้ตาํ รวจชายแดน
มยี ่ามสะพายหรือถงุ คอยเกบ็ ล่วงหน้ากอ่ น แต่บางคร&ังกย็ ังหลงหูหลง
ตาบ้าง ทรงมพี ระราชกระแสรับสง/ั ให้ตาํ รวจชายแดนช่วยกนั รักษาความ
สะอาดและรักษาสง/ิ แวดล้อมต้องให้เป็นธรรมชาติ ระหว่างพักการ
เดนิ ทางพระองค์จะประทบั บนขอนไม้ ตาํ รวจชายแดนจะน/ังเรียงราย
ล้อมพระองค์ โปรดให้ตาํ รวจตระเวนชายแดนร้องเพลงถวายเป็นเพลง
พระราชทาน คอื เพลงตาํ รวจตระเวนชายแดน (เน&ือร้องโดย ทา่ นผู้หญิง
ม.ล.มณรี ัตน์ บุนนาค) และตามด้วยเพลงลูกท่งุ บางคร&ังตาํ รวจ
ชายแดนร้องลิเกถวาย พระองค์สาํ ราญพระราชหฤทยั มาก เป็นพระราช
จริยาวัตรท/เี ป/ี ยมไปด้วยพระเมตตาและพระกรุณาธิคณุ ย/ิงนกั …

(๒๐)

ดา้ นศิลปะ

แม้สมเดจ็ ย่า จะมิได้ทรงศึกษาวิชาทางศิลปะโดยตรง แต่พระปรีชาสามารถ
ส่วนพระองค์ ในด้านงานศิลป์ กลับมปี รากฎในหลายแขนง อาทงิ านป&ัน งานปัก
งานวาด และงานปะดิษฐ์ต่างๆ ผลงานศลิ ปะเหล่าน&ีสว่ นใหญ่จะทรงเป็นงานอดิเรก
ยามว่าง และผลงานเหล่าน&ีพระองค์จะพระราชทานแกพ่ ระบรมวงศานุวงศ์ในโอกาส
ต่างๆ แกข่ ้าราชการและบุคคลใกล้ชิด รวมท&งั มอบแกผ่ ู้มจี ิตศรัทธาบริจาคทรัพย์ร่วม
โดยเสดจ็ พระราชกุศลสมทบมลู นิธติ ่างๆ ท/อี ยู่ในพระอปุ ถัมภ์ของพระองค์ ช&ินงาน
ศิลป์ ท/สี มเดจ็ ย่าทรงสรรคส์ ร้างได้แก่ งานป&ันพระพทุ ธรูป งานป&ันเคร/ืองเคลือบ
ดินเผา งานปักผ้าครอสตซิ งานประดษิ ฐ์บัตรอวยพร ซ/ึงทรงนาํ เอาดอกไม้แห้งท/ี
เสดจ็ ฯ ไปทรงเกบ็ และอดั แห้งด้วยพระองคเ์ อง มาประดบั ไว้ในบัตรน&ันๆ

นอกจากน&ียงั มีงานถักผ้าพันคอสาํ หรับกนั หนาว เพ/ือจะพระราชทานให้แก่
ทหาร ตาํ รวจ และบรรดาอาสาสมคั รท/ปี ฏบิ ัติราชการตามแนวชายแดน และถ/ิน
ทรุ กนั ดาร สาํ หรับเป็นท/รี ะลึกและเป็นขวัญกาํ ลังใจแกผ่ ้ไู ด้รับ

ดา้ นกฬี า

สมเดจ็ ย่าทรงเล่นกฬี าหลายประเภทเพ/ือการออกพระกาํ ลงั มาโดยตลอด
สมเดจ็ ย่าทรงเหน็ ความสาํ คญั ของกฬี า ท/เี ป็นประโยชน์ต่อชวี ติ และสขุ ภาพเช่น ทรงสกี
ข/ีม้า เทนนิส แบดมินตัน เดนิ ข&ึนเขาเพ/ือเกบ็ ดอกไม้ แต่เม/ือทรงเจริญพระชนมพรรษา
มากข&ึน จาํ เป็นท/จี ะต้องทรงเลอื กกฬี าท/เี หมาะสมกบั พระกาํ ลงั และพระวรกาย พระองค์
ทรงรู้จักกฬี า “เปตอง” คร&ังแรกในปี พุทธศกั ราช ๒๕๒๑ ต่อมากท็ รงโปรดกฬี าชนดิ น&ี
มากและทรงเปตองอย่างจริงจังเร/ือยมาสลับกบั กฬี าประเภทอ/นื ๆ มักจะทรงเปตองใน
เวลาว่างหรือช่วงเยน็ ๆ อยู่เสมอ การทรงกฬี าเปตองน&ี บ่อยคร&ังจะร่วมทรงกบั บรรดา
ข้าราชการและตาํ รวจตระเวนชายแดน ในการเล่นกฬี าเปตองนอกจากจะได้ความ
สนุกสนานแล้ว สมเดจ็ ย่ายังทรงปลกู ฝงั เร/ืองความสามัคคีและการรู้แพ้รู้ชนะให้แก่ผู้
ร่วมแข่งขันด้วย หลายคร&ังทรงประดษิ ฐ์ท/คี /ันหนังสอื ใบลานประดับดอกไม้แห้งเลก็ ๆ

(๒๑)

พระราชทานเป็นรางวัลแก่ผู้แข่งขันไม่ว่าจะเป็นผู้ชนะหรือผู้แพ้ แม้บางคนไม่เคยชนะ
เลยแต่มนี า&ํ ใจลงแข่งอยู่เสมอ กไ็ ด้รับพระราชทานรางวลั ปลอบใจเช่นกนั

สมเดจ็ ย่างทรงเล่นกฬี าเปตองอย่างจริงจังมานานแล้ว และทรงมีบทบาทสาํ คญั
ย/ิงในฐานะผู้ทรงสนับสนุนกฬี าชนดิ น&ี ทรงสง่ เสริมให้มกี ารเล่นเปตองจนแพร่หลาย
บางคร&ังเสดจ็ ฯ ไปทรงให้กาํ ลงั ใจนักกฬี าไทยท/ไี ปแข่งขนั เปตองยงั ต่างแดน พระองค์
จงึ ทรงเป็นท/รี ู้จกั ของชาวต่างชาตใิ นวงการกฬี าเปตอง ส/งิ สาํ คญั ท/ไี ด้จากกฬี าเปตอง
นอกจากท/ไี ด้กล่าวมาแล้ว คอื ทรงนาํ กฬี าเปตองให้เป็นกฬี าเช/ือมความสามคั คีระหว่าง
ข้าราชการในพ&ืนท/ี ข้าราชบริพารท/ตี ามเสดจ็ และตาํ รวจตระเวนชายแดนท/ถี วายงาน
และถวายความปลอดภยั

ภาพสมเดจ็ ยา่ ทีทรงเล่นเปตองกบั ตํารวจตระเวนชายแดน เป็ นภาพทียงั
ฉายอยู่ในหวั ใจของคนไทยทงั ชาติ

ป.4

โรงเรยี นตำรวจตระเวนชำยแดนบำ้ นควนตะแบก
324 หม่ทู ่ี 9 ต.เกำะเตำ่ อ.ปำ่ พะยอม จ.พทั ลงุ


Click to View FlipBook Version