The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสมเด็จย่าชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaewmaneekoson3122, 2021-10-20 02:11:21

หลักสูตรสมเด็จย่าชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

หลักสูตรสมเด็จย่าชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

หลกั สตู รสมเดจ็ ย่า
ชนั้ ประถมศึกษาปี ท่ี 1
ป.1

โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนบา้ นควนตะแบก

สงั กดั กองกากบั การตารวจตระเวนชายแดนที่ 43

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน

หลกั สูตรสมเด็จย่า

ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๑

ผูจ้ ดั ทา
กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน

สถาบนั ราชภฏั สกลนคร
๒๕๔๗

สารบญั หนา้

คำนำ ๑
ควำมเป็นมำของหลกั สตู รและชุดกำรเรียนกำรสอน ๓
คำช้แี จงกำรใช้ชุดกำรเรียนกำรสอน ๔
ข้นั ตอนกำรใช้ชุดกำรเรียนกำรสอน ๖
แผนกำรสอนท่ี ๑ ๑๒
แผนกำรสอนท่ี ๒ ๑๘
เอกสำรอ้ำงองิ (๑) – (๒๖)
ภำคผนวก

- เน้ือหำเร่ืองสมเดจ็ ย่ำ
- เพลงสดดุ ีสมเดจ็ ย่ำ
- คณะกรรมกำรจดั ทำหลกั สตู รสมเดจ็ ย่ำ

คานา

เอกสำรคู่มือกำรใช้ชุดกำรเรียนกำรสอนน้ี จัดทำข้ึนเพ่ือใช้เป็ นส่ือ
ประกอบกำรเรียนกำรสอนตำมหลักสูตรสมเดจ็ ย่ำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ
ศำสนำ และวัฒนธรรม ระดับช้ันประถมศึกษำปี ท่ี ๑ ถึงช้ันประถมศึกษำปี ท่ี ๖
ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชำยแดน เพ่ือให้ผู้สอนใช้เป็นแนวทำงในกำรจัดกิจกรรม
กำรเรียนกำรสอนให้เป็นไปตำมเจตนำรมณ์ของหลักสตู รสมเดจ็ ย่ำ

ส่วนประกอบของเอกสำรคู่มือกำรใช้ ชุดกำรเรียนกำรสอนหลักสูตร
สมเดจ็ ย่ำ ประกอบด้วย ควำมเป็นมำของหลักสตู รและชุดกำรเรียนกำรสอน คำช้แี จง
กำรใช้ชุดกำรเรียนกำรสอน ข้ันตอนกำรใช้ชุดกำรเรียนกำรสอน แผนกำรสอน
ช้ันประถมศึกษำปี ท่ี ๑-๖ และภำคผนวกซ่ึงประกอบด้วยใบควำมรู้ ใบงำน แบบฝึกหัด
เป็นต้น กจิ กรรมท่ีนำเสนอไว้ในคู่มือฯ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และตระหนัก
ในควำมสำคัญรวมถึงพระมหำกรุณำธิคุณของสมเดจ็ ย่ำ ท่ีทรงมีต่อโรงเรียนตำรวจ
ตระเวนชำยแดน ให้ผ้เู รียนได้เรียนร้แู บบมีสว่ นร่วมและปฏบิ ตั ิจริงมำกท่สี ุด ท้งั น้ีผ้สู อน
จะต้องศกึ ษำจุดประสงค์ของกำรสอนเป็นหลกั ในกำรจดั กจิ กรรม และปรับ/ยืดหยุ่นให้
สอดคล้องกบั สำระกำรเรียนรู้ และเวลำเรียนแต่ละระดับช้นั

เอกสำรคู่มือกำรใช้ชุดกำรเรียนกำรสอนฉบับน้ี ได้ปรับปรุงตำมข้อ-
เสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เช่ียวชำญด้ำนหลักสูตรและกำรสอนเป็ นคร้ังท่ี ๓
หำกผู้สอนนำไปใช้แล้วมีข้อเสนอแนะประกำรใด คณะผู้จัดทำยินดีรับฟังและแก้ไข
ให้ถูกต้องเหมำะสมต่อไป

คณะผ้จู ัดทำ
๒๐ กุมภำพันธ์ ๒๕๔๗

คู่มือการใชช้ ดุ การเรียนการสอน

หลกั สูตรสมเด็จยา่
ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๑

ความเป็ นมาของหลกั สูตรและชดุ การเรียนการสอน

หลักสตู รสมเดจ็ ย่า เกดิ ข้นึ จากแนวพระปรารภของสมเดจ็ พระเทพ
รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เม่อื คร้ังท่ี พล.ต.ท. คารณ ลียวณชิ ผบช.ตชด.
และ พล.ต.ต.สมศักด์ิ บุปผาสวุ รรณ รอง ผบช.ตชด. (ตาแหน่งในขณะน้นั ) ได้เข้า
เฝ้ า พระองค์ท่าน เม่อื วนั ท่ี ๒๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๓ ณ พระตาหนกั ปรายเนนิ เพ่ือ
กราบบงั คมทูลเชญิ เสดจ็ เป็นองคป์ ระธานเปิ ดงานเฉลมิ ฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี วนั
คล้ายวนั พระราชสมภพ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในวันท่ี ๑๓ ตลุ าคม
๒๕๔๓ ณ ศนู ย์วฒั นธรรมแห่งชาติ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ได้ทรงปรารภกบั คณะผ้เู ข้าเฝ้ ามีใจความตอนหน่งึ ว่า…สปช.ได้กาหนดหลักสตู รให้
นักเรียนประถมศกึ ษา ได้ศกึ ษาประวัตทิ ่านปรีดี พนมยงค์ นกั เรียนโรงเรียนตารวจ
ตระเวนชายแดน ควรจะได้ศึกษาและร้จู กั สมเดจ็ ย่าด้วย…

จากแนวพระปรารภ ของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กุมารี น้ี กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน ได้มอบหมายให้กองกากบั การตารวจ
ตระเวนชายแดนแต่ละแห่ง นาไปริเร่ิมจัดทาหลักสตู รสมเดจ็ ย่า (สมเดจ็ พระศรีนคริน
ทราบรมราชชนนี) เพ่ือใช้สอนในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน

สถาบันราชภฏั สกลนคร ได้รับการประสานจาก กก.ตชด.๒๓ โดย
ผกก.ตชด.๒๓ (พ.ต.อ.โชติ ไทยย่ิง) ขอความร่วมมอื ในการสร้างหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า
โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ได้เรียนร้แู ละตระหนักใน
พระมหากรณุ าธคิ ณุ ท่สี มเดจ็ ย่าทรงมตี ่อครู นักเรียน และครอบครัวตารวจตระเวน
ชายแดน สถาบันราชภัฏสกลนคร จงึ ได้แต่งต้งั คณะทางาน ศึกษา รวบรวม พระราช
ประวตั ิ พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่า และได้จดั ทาหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า ข้ึน ทดลอง
ใช้คร้ังแรกในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สงั กดั กก.ตชด.๒๓ จานวน ๔ โรงเรียน



เม่ือเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๕ โดยทาเป็นชุดการเรียนการสอน ใช้ช่อื ชุดว่า “ชุดสดุดี

สมเดจ็ ย่า” ประกอบด้วยพระราชประวัติสมเดจ็ ย่า ๖ ตอน และพระราชกรณยี กจิ

ของสมเดจ็ ย่า ๖ ด้าน ผลจากการทดลองใช้ชุดการเรียนการสอนคร้ังน้นั พบว่า เน้ือหา

มากและยากเกนิ ไปสาหรับนกั เรียนโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน กจิ กรรมการเรียน

การสอนท่กี าหนดไว้มรี ายละเอยี ดน้อย ยากต่อการนาไปใช้ คณะทางานจงึ ได้นาชุด

การเรียนการสอนดังกล่าวมาปรับปรุงใหม่ โดยปรับปรุงเฉพาะช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๑,

๒ และ ๓ ก่อน ใช้ช่อื ใหม่ว่า หลกั สูตรและชุดการเรียนการสอนเรื่องสมเดจ็ ยา่ ได้ให้

ครูโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ทดลองสอนสาธติ ถวายสมเดจ็ พระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เม่อื คร้ังเสดจ็ เย่ยี มโรงเรียนตารวจตระเวน

ชายแดนในสงั กดั กก.ตชด.๒๓ ท่จี งั หวัดนครพนมเม่อื วนั ท่ี ๑๐–๑๒ กุมภาพันธ์

๒๕๔๖ ซ่งึ ได้รับความสนพระทยั จากพระองค์ท่านมาก หลังจากน้นั คณะทางานได้

ปรับปรงุ หลักสูตรจนครบทกุ ระดับช้นั และนาไปทดลองใช้ในโรงเรียนตารวจตระเวน

ชายแดน สงั กดั กก.ตชด.๒๓ จงั หวัดสกลนคร นครพนม และมกุ ดาหาร รวม ๘

โรงเรียน ภายหลงั การทดลองใช้ได้รวบรวมผลการประเมนิ นามาปรับปรงุ หลกั สตู ร

อกี คร้ังหน่งึ

เม่อื วนั ท่ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๖ คณะทางานได้นาเสนอหลักสตู ร
สมเดจ็ ย่า ต่อท่ปี ระชุมผู้บริหารของกองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน และผ้แู ทน
จากสานกั พระราชวงั ณ กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน กรุงเทพมหานคร ได้รับ
คาชมเชยและข้อเสนอแนะ ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรงุ /พัฒนาหลกั สูตรสมเดจ็ ย่า
เพ่ิมมากข้นึ หลงั จากน้นั คณะทางาน ได้นาหลักสตู รสมเดจ็ ย่าและชุดการเรียนการ
สอนมาปรับปรงุ และนาเข้าสทู่ ่ปี ระชุมคณะกรรมการท่ปี รึกษา ผู้ทรงคุณวฒุ ิ รวมทง้ั
ผ้เู ช่ียวชาญด้านการพัฒนาหลักสตู รและการสอนของสถาบนั ราชภัฏสกลนคร เพ่ือ
พิจารณาให้ข้อคดิ เหน็ อกี คร้ังหน่ึง และได้นาข้อสรุปจากท่ปี ระชุมท้งั ๒ คร้ัง ตลอดจน
ข้อเสนอแนะของผ้เู ช่ียวชาญด้านการพัฒนาหลกั สตู รและการสอน มาปรับปรงุ เพ่ิมเตมิ
ให้เป็นหลกั สตู รและชุดการเรียนการสอนท่สี มบูรณ์ และนาเสนอต่อท่ปี ระชุมผู้บริหาร
ของกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ผ้แู ทนจากสานกั พระราชวงั ผ้แู ทนจาก
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาคร้ังสดุ ท้าย เม่ือวนั ท่ี ๔ มนี าคม ๒๕๔๗ เพ่ือ
พิจารณาให้ข้อคดิ เหน็ ท่ปี ระชุมสรุปให้สถาบนั ราชภฏั สกลนคร นาหลกั สตู รสมเดจ็ ย่า



ไปจดั ทาต้นฉบบั ท่สี มบูรณ์สง่ ให้กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน เพ่ือจัดทา
เอกสารเผยแพร่ต่อไป

คาช้ ีแจงการใชช้ ดุ การเรียนการสอน

ชุดการเรียนการสอนน้จี ัดทาข้นึ สาหรับใช้สอนในโรงเรียนตารวจตระเวน
ชายแดน ในระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๑-๖ ตามหลักสตู รสมเดจ็ ย่า กลุ่มสาระการ
เรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เน้อื หาสาระท่นี ามาจดั ประสบการณก์ าร
เรียนร้ใู ห้กบั ผ้เู รียน ประกอบด้วย

๑. ความสาคัญของสมเดจ็ ย่า
๒. พระราชประวตั ิของสมเดจ็ ย่า
๓. พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่า
๔. สมเดจ็ ย่ากบั งานอดเิ รก
๕. พระราชจริยวตั รของสมเดจ็ ย่า
การจัดชุดการเรียนการสอน แยกเป็น ๖ ชุด ตามระดบั ช้นั เรียน (ป.๑–
ป.๖) ภายในชุด (Package) แต่ละชุดมสี ่อื การเรียนรู้ ท่จี ดั ไว้เพ่ือเป็นแนวทางให้
ผ้สู อนใช้สอนได้สะดวก เม่ือผ้สู อนศกึ ษาด้วยตนเองแล้ว สามารถนาไปใช้สอนได้ทนั ที
หรือผูส้ อนอาจพจิ ารณาปรบั ปรงุ ดดั แปลง เพมิ่ เติม ตดั ทอนกิจกรรมการเรียนรู้
ต่างๆ ไดต้ ามความเหมาะสม ภายใตห้ ลกั การจดั การเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเป็ น
สาคญั และแนวการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สูตรสมเด็จยา่
ชุดการเรียนการสอน ประกอบด้วย
๑. ค่มู ือการใช้ชุดการเรียนการสอน

- ความเป็นมาของหลกั สตู รและชุดการเรียนการสอน
- คาช้แี จงการใช้ชุดการเรียนการสอน
- แผนการเรียนรู้
๒. ใบความรู้ / ใบงาน / แบบฝึกหัด
๓. บัตรภาพ / บัตรคา / แถบประโยค
๔. แผนภมู เิ พลง
๕. แบบทดสอบ
๖. หนังสอื สมเดจ็ ย่า แม่ฟ้ าหลวง
(สาหรับส่อื เสริมอ่นื ๆ เช่น แถบวีดิทศั น์ เร่ืองอุทยานสมเดจ็ พระศรี



นครินทราบรมราชชนนี แถบบันทกึ เสยี งเพลงสดดุ สี มเดจ็ ย่า หลักสตู รสมเดจ็ ย่า คณะ
ผ้จู ัดทาได้แยกออกจาก Package มอบให้โรงเรียนไว้โรงเรียนละ ๑ ชุด)

ข้นั ตอนการใชช้ ดุ การเรียนการสอน

เพ่ือให้การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหลักสตู รสมเดจ็ ย่า ประสบ-
ความสาเรจ็ และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะผู้จัดทาหลกั สตู ร ผ้สู อนควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี

๑. ศึกษาเอกสารหลักสตู รสมเดจ็ ย่า ค่มู อื การใช้หลกั สตู รและชุดการ
เรียนการสอน อา่ นหนงั สอื สมเดจ็ ย่า แม่ฟ้ าหลวง ให้เข้าใจ

๒. ตรวจสอบความพร้อมของชุดการสอนว่าสมบรู ณ์หรือไม่ ภายในชุด
มีส่อื การเรียนร้คู รบถ้วน พร้อมท่จี ะใช้สอนหรือไม่

๓. ศกึ ษารายละเอยี ด เน้อื หาสาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์ เฉพาะ
ช้ันท่จี ะสอน ให้เข้าใจ

๔. ทดลองใช้ส่อื ภายในชุดการสอน กอ่ นลงมอื สอนจริง และพิจารณา
จดั ทา จัดหาส่อื การเรียนร้เู พ่ิมเตมิ ตามความเหมาะสม

๕. แบบทดสอบท่กี าหนดไว้ในชุดการสอน อาจนาไปใช้ทดสอบกอ่ น
และ/หรือหลังสอนกไ็ ด้ ท้งั น้เี พ่ือทราบพัฒนาการของเดก็ ภายหลังการเรียนรู้

๖. ผ้สู อนต้องตรวจแบบฝึกหัดตามใบงานของผ้เู รียนทกุ คน แล้วคืน
ใบงานให้ผ้เู รียนและอธบิ ายเพ่ิมเติมในสว่ นท่นี ักเรียนทาไม่ถูกต้อง

๗. กจิ กรรมการเรียนรู้และอตั ราเวลาเรียนท่กี าหนดไว้ ผ้สู อนสามารถ
ปรับเปล่ยี นได้ตามความเหมาะสมกบั สภาพการณ์ โดยยึดการให้ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมใน
กจิ กรรมให้มากท่สี ดุ

๘. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เป็นแบบบูรณาการ ผ้สู อนต้องพยายาม
สร้างความตระหนักให้ผ้เู รียนเหน็ ความสาคัญ และสานึกในพระมหากรุณาธคิ ุณของ
สมเดจ็ ย่า ตลอดจนน้อมนาเอาพระราชจริยวัตรของพระองคท์ ่านมายึดถือปฏบิ ัติเป็น
แบบอย่าง โดยจดั กจิ กรรมให้หลากหลายมากท่สี ดุ

๙. ผูส้ อนควรศึกษาคากล่าวถวายรายงานของขา้ ราชการ และ
นกั เรียนในการรบั เสด็จ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ให้
เขา้ ใจ และฝึ กทกั ษะการกล่าวถวายรายงานฯ ใหก้ บั นกั เรียน (ป.๓ – ๖) ทกุ คร้งั
เมอื่ มีเวลาเหลือจากการสอนทา้ ยชวั่ โมง



๑๐. หลงั จากใช้ชุดการเรียนการสอนแล้วทกุ คร้ัง ผ้สู อนจะต้องรวบรวม
ส่อื การเรียนรู้ทุกช้ินเกบ็ เข้าท่ใี ห้เรียบร้อย เพ่ือความสะดวกในการนาไปใช้ในโอกาส
ต่อไป

แผนการสอน เรอ่ื งสมเดจ็ ย่า

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
เวลาเรยี น ๒ ชว่ั โมง



แผนการสอนท่ี ๑ เรอ่ื งสมเดจ็ ยา่
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
เวลาเรยี น ๑ ชว่ั โมง

สาระการเรยี นรู้

๑. ความสำคญั ของสมเดจ็ ยา่
- ในฐานะเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตรยิ ์

จดุ ประสงค์ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนสามารถแสดงพฤตกิ รรมต่อไปนไี้ ด้
๑. อธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมเด็จยา่ กบั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั
หรอื ในหลวงได้
๒. ชีห้ รอื เลอื กพระบรมฉายาลกั ษณส์ มเดจ็ ยา่ จากภาพอน่ื ๆ ได้
๓. บอกความสมั พนั ธข์ องสมเด็จยา่ กับโรงเรยี น ตชด.ได้
๔. โยงเสน้ จากขอ้ ความคำวา่ “สมเดจ็ ยา่ ” และ “ในหลวง” ไปยังพระบรม
ฉายาลกั ษณ์ไดถ้ ูกต้อง
๕. เขยี นคำวา่ “สมเดจ็ ยา่ ” และ “ในหลวง” โดยการเขียนตามแบบได้



กจิ กรรมการเรยี นรู้ และสอื่ การเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้

กจิ กรรมการเรยี นรู้ - ภาพสมเด็จย่า

๑. ครสู นทนากับนักเรียน ถงึ คุณย่าของทุกคนวา่ ทุก - ภาพสมเด็จย่า
คนมคี ณุ ยา่ เพราะคณุ ยา่ เปน็ คำเรยี กคุณแมข่ อง - บตั รคำ “สมเดจ็ ย่า”
คุณพ่อของเรา
๒. ครถู ามนกั เรยี นว่า “ใครมีคณุ ย่าอยู่ด้วยกนั ท่บี ้าน - ภาพสมเดจ็ ย่า
บา้ ง” ใครทค่ี ุณยา่ อยคู่ นละหมูบ่ า้ น อยคู่ นละจังหวดั - ภาพพระบาทสมเดจ็
๓. ครถู ามนกั เรียนวา่ พวกเธอรักคุณยา่ ของพวกเธอ พระเจ้าอยหู่ วั
หรอื ไม่ ทำไมจึงรกั - บตั รคำ “ในหลวง”
๔. ครแู สดงภาพสมเดจ็ ย่า ให้นกั เรยี นดู แลว้ ถาม - ภาพสมเด็จพระนางเจา้
นักเรียนว่า “เคยเหน็ ภาพนไ้ี หม” “เห็นทใ่ี ด” พระบรมราชินีนาถ
ในโรงเรียนของเรามภี าพทา่ นผนู้ ห้ี รอื ไม่ - บัตรคำ “พระราชนิ ี”
๕. ครูถามนักเรยี นวา่ “ภาพทค่ี รชู ใู ห้ดูเป็นภาพของ - กระเป๋าผนัง
ใคร” ชี้ใหน้ กั เรยี นตอบ ๓-๔ คน ครอู ธบิ ายให้
นกั เรียนทราบว่า บคุ คลในภาพคือ “สมเด็จย่า”
(ครแู สดงบัตรคำ สมเดจ็ ยา่ )
๖. ให้นักเรยี นออกเสยี ง “สมเดจ็ ย่า” พรอ้ มกนั ๓ ครง้ั
ขณะเดยี วกนั ครกู ็แสดงภาพสมเด็จยา่ หนา้ ชน้ั เรียน
๗. ครูตดิ ภาพ “ในหลวง” บนกระเป๋าผนงั อธบิ าย
เพิ่มเตมิ วา่ น่ีคือภาพพระเจา้ อยหู่ วั ของเรา ท่ีเราเรยี ก
ท่านวา่ “ในหลวง” ครูแสดงบัตรคำ “ในหลวง” ให้
นกั เรียนอา่ นตาม ๒-๓ ครั้ง แล้วติดบตั รคำไวใ้ ตภ้ าพ
๘. ครตู ดิ ภาพ “สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชนิ นี าถ”
บนกระเป๋าผนงั อธิบายเพม่ิ เติมวา่ เกีย่ วข้องกบั
“ในหลวง” อยา่ งไรเรา เรยี กทา่ นว่า “พระราชนิ ี” ครู
แสดงบัตรคำ “พระราชิน”ี ใหน้ กั เรียนอา่ นตาม ๒-๓
คร้ัง แลว้ ติดบัตรคำไว้ใตภ้ าพ

๙. ครูติดภาพ “สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ” บน - ภาพสมเด็จพระเทพรตั น
กระเป๋าผนัง อธบิ ายเพม่ิ เตมิ ว่าเกยี่ วข้องกบั ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
“ในหลวง” และ “พระราชนิ ี” อย่างไร นักเรยี น - บตั รคำ “สมเด็จพระเทพ
เคยเห็นทา่ นไหม เราเรยี กท่านวา่ “สมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสุดาฯ”
- กระเปา๋ ผนงั
รัตนราชสดุ าฯ” ครูแสดงบัตรคำ “สมเดจ็ พระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ” ใหน้ ักเรยี นอา่ นตาม ๒-๓ ครัง้ แลว้ - ภาพสมเด็จยา่
ตดิ บตั รคำไวใ้ ตภ้ าพ - บตั รคำ “สมเดจ็ ย่า”
๑๐. ครแู สดงภาพสมเด็จยา่ แผน่ ที่ ๑ อกี ครงั้ หนงึ่ แล้ว

๘ สอื่ การเรยี นรู้

กจิ กรรมการเรยี นรู้ - ภาพ สมเด็จย่า, ในหลวง,
บอกใหน้ ักเรยี นทราบวา่ นีค่ ือภาพคณุ แม่ของในหลวง พระราชนิ ี, สมเด็จพระเทพ
เราเรียกทา่ นว่า “สมเดจ็ ย่า” พร้อมทง้ั ชบู ัตรคำ คำว่า รตั นราชสดุ าฯ
“สมเด็จยา่ ” ใหน้ กั เรยี นดู - บัตรคำ “สมเด็จยา่ ”,
๑๑. ทบทวนความรูโ้ ดยแบ่งนกั เรียนออกเป็น ๒ กลมุ่ “ในหลวง”, “พระราชินี”,
- ครูติดภาพสมเดจ็ ยา่ ในหลวง พระราชินี “สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ บนกระเปา๋ ผนงั ฯ”
(เวน้ ท่ใี ต้ภาพไว้ใหน้ ักเรียนตดิ บัตรคำดว้ ย) - ใบงาน ๑.๑ (คำสั่งท่ี ๑)
- แจกบตั รคำใหน้ กั เรียนกล่มุ ละ ๔ แผ่น ให้
นักเรยี นช่วยกนั นำไปไปติดใตภ้ าพใหถ้ ูกตอ้ ง - ใบงาน ๑.๑ (คำสง่ั ท่ี ๒)
- นกั เรยี นอ่านบตั รคำใตภ้ าพพร้อมกนั ๒-๓ ครง้ั
๑๒. ครแู จกใบงาน ๑.๑ ใหน้ ักเรยี นทำกจิ กรรมต่อไปนี้

๑๒.๑โยงเสน้ จากขอ้ ความ คำว่า “สมเดจ็ ย่า”
“ในหลวง” และ “สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ”
ไปยงั พระบรมฉายาลักษณส์ มเดจ็ ยา่ ในหลวง และ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ ใหถ้ กู ต้อง

๑๒.๒ เขยี นคำว่า “สมเด็จย่า” และ “ในหลวง”

วธิ ีวดั ผลและประเมนิ ผล
๑. สังเกตความสนใจ และซกั ถามความเขา้ ใจ
๒. ดคู วามสามารถในการตอบคำถามและความรสู้ กึ ของผเู้ รยี น ตอ่ “สมเด็จย่า”

๓. ตรวจกจิ กรรมผู้เรยี นตามใบงานทปี่ ฏบิ ตั ิ



ใบงานที่ ๑.๑
คำสงั่ ท่ี ๑

๑๐
ใบงาน ๑.๑
คำสง่ั ที่ ๒

แผนการสอนท่ี ๒ เรอ่ื งสมเดจ็ ยา่

๑๑
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
เวลาเรยี น ๑ ชว่ั โมง
สาระการเรยี นรู้
๑. พระราชกรณยี กจิ
- สมเดจ็ ยา่ กบั โรงเรยี น ตชด.
จดุ ประสงค์ เพอื่ ให้ผูเ้ รียนสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปนีไ้ ด้
๑. เลอื กหรอื ชพี้ ระบรมฉายาลักษณข์ องสมเด็จย่าไดถ้ กู ตอ้ ง
๒. บอกความสำคญั และความสัมพนั ธข์ องสมเดจ็ ย่ากบั พระเจา้ แผน่ ดนิ ได้
๓. บอกความสำคัญของสมเดจ็ ยา่ ต่อโรงเรยี น ตชด.ได้
๔. ชพี้ ระบรมฉายาลกั ษณ์สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ ไดถ้ กู ต้อง
๕. อา่ นบตั รคำ คำวา่ “สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ ” ได้
๖. บอกพระนามสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ ทเ่ี สดจ็ เยยี่ มโรงเรียนตชด.
แทนสมเด็จย่าได้
๗. บอกความรสู้ ึกของนักเรียนทีม่ ตี อ่ สมเดจ็ ยา่ ได้

กจิ กรรมการเรยี นรู้ และสอ่ื การเรยี นรู้

๑๒ สอ่ื การเรยี นรู้
- แผนภูมเิ พลง “สดุดี
กจิ กรรมการเรยี นรู้ สมเด็จยา่ ”
๑. ครูนำเขา้ สู่บทเรียนโดยใช้เพลง “สดดุ สี มเดจ็ ยา่ ” - ภาพสมเดจ็ ยา่
แล้วครแู สดงภาพสมเดจ็ ยา่ ใหน้ กั เรียนดพู รอ้ มถาม
นกั เรยี นเปน็ การทบทวนว่า - ภาพสมเดจ็ ย่า, พระราชนิ ี,
สมเด็จพระเทพรตั นราช
- พวกเราร้จู กั บคุ คลในภาพนีแ้ ลว้ ใชไ่ หม สดุ าฯ
- ไหนใครยงั ไม่ทราบบ้าง - ภาพพระราชกรณียกิจ
- ตอบครูซิว่า บุคคลในภาพนีค้ อื ใคร (โดยให้ สมเด็จยา่ เสดจ็ ฯเยย่ี มร.ร.
นกั เรยี นตอบเป็นรายบคุ คล ๓-๕ คน) ตชด. มีภาพคนอนื่ ๆ อย่ดู ว้ ย
๒. ครูอธบิ ายโดยสรุปคำตอบของนักเรยี นวา่ บุคคล
ในภาพคอื “สมเดจ็ ยา่ ” ท่านเปน็ แม่ หรอื มารดาของ - ภาพพระราชกรณียกจิ
ในหลวง หรอื พระเจา้ แผน่ ดินรชั กาลปัจจุบนั ของเรา สมเด็จยา่ เสด็จฯ เยย่ี มร.ร.
๓. ครนู ำภาพสมเดจ็ ยา่ ซงึ่ ปะปนอยกู่ ับ ภาพบคุ คล ตชด.
สำคญั อืน่ ๆ หลายคน ใหน้ กั เรียนเลอื กหรอื คน้ หา
ภาพสมเด็จยา่ จนเกิดความชำนาญและแม่นยำ
๔. ครูชมเชยนกั เรยี นทส่ี ามารถชห้ี รอื เลอื กภาพสมเดจ็
ย่า ไดถ้ กู ตอ้ ง แล้วให้นกั เรยี นออกมาชีภ้ าพสมเดจ็ ย่า
ทีม่ บี คุ คลอน่ื อย่ดู ว้ ย ขณะนกั เรียนคนใดคนหนง่ึ ช้ี
แลว้ ถามเพอื่ นในหอ้ งวา่ “ถกู ไหม” “ถกู หรือยงั ”
๕. ครูเล่าถงึ พระราชกรณยี กิจสมเดจ็ ยา่ ทที่ รงโปรดให้
สร้าง ร.ร.ตชด. โดยเสยี สละทนุ ทรัพย์สว่ นพระองค์
ทำให้พวกเราได้เรยี นหนงั สอื มโี รงเรยี นที่จะเรยี น
จนถึงทุกวนั นี้ สมเดจ็ ย่าจงึ มพี ระคณุ ทย่ี ิ่งใหญต่ อ่
พวกเรานกั เรียน ตชด.(แสดงภาพพระราชกรณียกจิ
ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับโรงเรียนตชด. ประกอบคำถามและคำ
อธบิ าย)

กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ การเรยี นรู้

๑๓ - ภาพสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสดุ าฯ เสดจ็ ฯ
๖. ครใู ห้นกั เรียนแสดงความรสู้ กึ ตอ่ สมเด็จย่า เชน่ เย่ยี มร.ร.ตชด.
- สมเด็จยา่ ชว่ ยเหลอื อะไรเราบา้ ง
- นกั เรยี นรกั สมเดจ็ ย่าไหม ทำไมจึงรกั - ภาพสมเดจ็ พระเทพ
- เราจะแสดงความรักต่อสมเด็จยา่ ไดอ้ ย่างไรบ้าง รัตนราชสดุ าฯ
- เดยี๋ วน้ีสมเด็จยา่ ยังมชี ีวติ อยหู่ รือไม่ - บตั รคำ “สมเด็จพระเทพ
- ใครเสด็จมาเยีย่ มและดแู ลโรงเรียนตชด.แทน รัตนราชสดุ าฯ”
สมเด็จย่า
- ใบงาน ๑.๒
๗. ให้นกั เรยี นชภ้ี าพสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯแลว้
อ่านบัตรคำพระนาม“สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ”
พรอ้ มกนั ๒-๓ ครง้ั และสมุ่ เลอื กนกั เรยี นใหอ้ า่ นทลี ะ
คน อกี ๓-๕ คน

๘. ครแู จกใบงาน ๑.๒ ใหน้ กั เรียนเป็นรายบุคคล เพอ่ื
ทำกิจกรรม
๘.๑ เขียนขอ้ ความ “สมเดจ็ ยา่ ของเรา เรารกั สมเด็จ
ย่า” ใตภ้ าพสมเด็จย่า
๘.๒ โยงเสน้ จากภาพซา้ ยมอื ไปยงั ช่อื ด้านขวามอื
โดยครอู ่านชอื่ ด้านขวามอื ทลี ะชอ่ื ตามหมายเลข
๙. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ความสำคัญของ
สมเดจ็ ย่า

การวดั ผลและประเมนิ ผล
๑. สงั เกตความสนใจ และความต้งั ใจ

๑๔

๒. ซักถามความเข้าใจ
๓. ดคู วามสามารถในการตอบคำถามและการทำกจิ กรรมในใบงาน
๔. พจิ ารณาความรูส้ ึก ความซาบซง้ึ ในพระมหากรุณาธิคณุ ท่นี ักเรียนมีตอ่

สมเดจ็ ย่า

๑๕

ใบงาน คำส่งั

๑๖

ใบงาน คำสง่ั 2

๑๗

เอกสารอา้ งองิ

กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน. ๔๐ ปโี รงเรยี น ตชด. กรงุ เทพมหานคร
: บริษัท โอ. เอส. พรน้ิ ต้ิง เฮ้าส์, ๒๕๓๙.
. ตชด. สดดุ ี ๑๐๐ ปี สมเดจ็ ยา่ . กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พแ์ ห่ง
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
. ใตร้ ม่ พระบารมี ๕๐ ปี ตชด. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพแ์ หง่ จฬุ า
ลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๔๖.
. ศรนี ครนิ ทราปชู า. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พต์ ำรวจ, ๒๕๔๗.

กองวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์. ราชสดดุ สี มเดจ็ พระศรนี ครทิ ราบรมราช-
ชนน.ี กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พค์ รุ ุสภา, ๒๕๓๙.

กลั ยาณิวัฒนา, สมเดจ็ พระเจ้าพน่ี างเธอ กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร.์
“คำปรารภ”. สมเดจ็ ยา่ ของปวงชน. กรุงเทพมหานคร : มลู นธิ ิ พอ.สว.,
๒๕๓๓.
. แมเ่ ลา่ ใหฟ้ งั . กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พอ์ มรินทรก์ ารพิมพ์,
๒๕๒๕.

เจมส์ อารท์ , บริษทั . นอ้ มรำลกึ แสนอาลยั สมเดจ็ ยา่ แมฟ่ า้ หลวงของปวงชน.
กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั เจมส์ อารท์ , ๒๕๓๘.

พระราชภาวนาวกิ รมและคณะ. พระบรมราชชนนยิ านสุ สรณยี ์. กรุงเทพมหานคร:
บรษิ ทั เจ.ฟลิ ม์ โปรเซส จำกดั , ๒๕๓๙.

ไพโรจน์ อย่มู ณเฑยี ร. หลกั ราชาศพั ท.์ กรุงเทพมหานคร : บริษทั เยลโล่
การพมิ พ์, ๒๕๔๐.

มานพ เมฆพระยูรทอง. พระนามสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั กบั สหประชาชาตเิ นอื่ งใน
โอกาสฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ปี. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์
เทคนิค ๑๙, ๒๕๔๐.

มลู นธิ แิ พทยอ์ าสาสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี. สมเดจ็ ยา่ ของปวงชน.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พก์ รงุ เทพ, ๒๕๓๓.

ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.
กรุงเทพมหานคร : ศิรวิ ฒั นาอนิ เตอร์ปรน้ิ ท์, ๒๕๔๖.

เรอื งยศ ไชยโรจน์. “๙๒ พรรษา สมเดจ็ ยา่ กบั ความก้าวหนา้ ของดอยตงุ ”.
หนงั สอื พมิ พไ์ ทยรฐั . ฉบับวันท่ี ๒๑ ตุลาคม ๒๕๓๕, หน้า ๒๔.

วารี อัมไพรวรรณ. สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี สมเดจ็ ยา่ แมฟ่ า้
หลวง. กรงุ เทพมหานคร : สำนักพิมพภ์ ทั รนิ ทร์, ๒๕๓๘.

๑๘

ศภุ รตั น์ เลศิ พาณชิ ยก์ ลุ . พระมามลายโศก เหลอื สขุ เลม่ ๒.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพก์ รงุ เทพ. ๒๕๔๑.

ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารลกู เสือชาวบา้ น. ประวัตศิ าสตรล์ กู เสอื ชาวบา้ นในพระบรมราชา
นเุ คราะห.์ กรงุ เทพมหานคร : โมเดอรน์ เพรสการพิมพ์. ๒๕๓๐.

สถาบนั ราชภฏั สวนสนุ ันทา. เอกสารประกอบชดุ วชิ าการเรยี นรภู้ าษาไทย สงั คม
ศกึ ษาและการสมั มนาสำหรบั ครปู ระถม. กรงุ เทพมหานคร :

สำนักพัฒนาการฝึกหดั ครู. ๒๕๔๖.
สมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทย. สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราช

ชนนกี บั การพฒั นาคณุ ภาพประชากร. กรุงเทพมหานคร :
ถาวรการพมิ พ์, ๒๕๒๘.
สำนักงานเสริมสร้างเอกลกั ษณข์ องชาติ สำนกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี. สมเดจ็ -
พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี : สมเดจ็ ยา่ ของแผน่ ดนิ .
กรงุ เทพมหานคร : ด่านสุทธาการพมิ พ์, ๒๕๓๙.
สำนักพระราชวัง. เสดจ็ ฯ พชิ ติ ดอยอนิ ทนนท์ ๒๖ เมษายน ๒๕๐๗.
กรงุ เทพมหานคร : บวรสารการพิมพ์, ๒๕๓๑.

ใบงานที่ ๑.๑

คำสง่ั ท่ี ๑ ให้โยงเส้นจำกข้อควำมในกรอบไปยังพระบรมฉำยำลักษณ์ให้ถูกต้อง

ในหลวง

สมเดจ็ พระเทพฯ

สมเดจ็ ยา่

ชือ่ – สกุล .............................................. ช้นั ................. เลขที่ .............
โรงเรียน ตชด. ......................................................................................

คาสงั่ ที่ ๒ ให้เขยี นคำว่ำ “สมเดจ็ ยา่ ” และ “ในหลวง”

สมเด็จย่า ในหลวง

............................................................ ..................................................
............................................................ ..................................................

............................................................ ..................................................
............................................................ ..................................................

............................................................ ..................................................
............................................................ ..................................................

............................................................ ..................................................
............................................................ ..... ......................................................

คาสงั่ ที่ ๑ ใบงานที่ ๑.๒

ใหล้ ากเสน้ โยงจากภาพไปยงั ขอ้ ความใหถ้ ูกตอ้ ง

สมเดจ็ ย่ำ

ในหลวง

สมเดจ็ พระเทพฯ

พระรำชินี

ชือ่ – สกุล .............................................. ช้นั ................. เลขที่ .............
โรงเรียน ตชด. ......................................................................................

คาสงั่ ที่ ๒ ให้เขยี นข้อควำม “สมเดจ็ ยา่ ของเรา เรารกั สมเดจ็ ยา่ ” ใต้ภำพ

...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................

ภาคผนวก

(๒)

เน้ อื หา
เรือ่ ง “สมเด็จยา่ ”

หลกั สูตร ป.๑- ป.๖ โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน กก.ตชด.๒๓

ความสาคญั ของสมเด็จย่า

สมเดจ็ ย่า ทรงเป็นพระราชชนนี ผ้ใู ห้กาเนดิ และถวายการอภบิ าลเล้ียงดู
พระมหากษตั ริย์ผ้ทู รงคุณอนั ประเสริฐย่งิ ต่อคนไทยถงึ สองพระองค์ โดยเฉพาะอย่างย่งิ
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดช พระมหากษตั ริยร์ ัชกาลปัจจุบนั ผ้ทู รง
เป็นศูนย์รวมยึดเหน่ียวจิตใจของคนไทยท้งั ชาติ ตลอดพระชนม์ชีพของสมเดจ็ ย่า
พระองคท์ า่ นได้ทรงท่มุ เทพระวรกาย และพระราชทานทรัพย์สว่ นพระองค์ เพ่ือ
ช่วยเหลือราษฎรไทยผู้ยากไร้ ท่อี าศัยอยู่ในถ่นิ ทรุ กนั ดารห่างไกลความเจริญให้พ้น
จากความทุกข์ยาก และทรงปฏบิ ัติพระราชภารกจิ ต่างๆ มากมาย

นอกจากน้ันสมเดจ็ ย่ายังทรงเลง็ เหน็ ว่า การศึกษาเป็นส่งิ สาคญั ท่ที าให้เยาวชน
ในชนบทมีความรู้ ความคิด และสติปัญญาท่เี ฉลยี วฉลาด อนั จะเป็นปัจจัยสาคัญใน
การพัฒนาชนบท เม่อื ทรงทราบว่ากองกากบั การตารวจตระเวนชายแดนมโี ครงการท่ี
จะสร้างโรงเรียนในเขตพ้ืนท่ตี ามแนวชายแดน จึงได้พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์
เพ่ือนาไปสร้างโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน และได้พระราชทานช่อื โรงเรียนตามช่อื
ผ้บู ริจาคเงินในการจดั สร้างด้วย เม่ือโรงเรียนแต่ละแห่งสร้างเสรจ็ แล้ว พระองคก์ จ็ ะ
เสดจ็ ฯ ไปทรงเปิ ดโรงเรียนแห่งน้นั ด้วยพระองคเ์ อง พร้อมกบั พระราชทานอุปกรณ์
การเรียนการสอนท่จี าเป็นให้กบั เดก็ นกั เรียนด้วย

ถึงแม้ว่าสมเดจ็ ย่าจะทรงเจริญพระชนมายุมากข้นึ กม็ ไิ ด้ทอดท้งิ โรงเรียนตารวจ
ตระเวนชายแดน พระองค์ได้ทรงฝากให้สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กมุ ารี ทรงช่วยดูแลแทน ดังพระราชกระแสท่วี ่า “ยา่ แก่แลว้ ไปไหนไมค่ ่อยไหว ถา้
สมเด็จพระเทพฯ เสดจ็ ฯ กใ็ หเ้ ยีย่ มแทนยา่ ดว้ ย” นบั เป็นพระมหากรณุ าธคิ ณุ ท่ที รง
มตี ่อเยาวชนในท้องถ่ินชนบทห่างไกลเป็นล้นพ้น

(๓)

จากพระราชกรณียกจิ ท่ที รงบาเพญ็ ตลอดพระชนม์ชีพ สมเดจ็ ย่าจงึ ได้รับการ
ประกาศเฉลมิ พระเกยี รติคุณจาก UNESCO ให้ทรงเป็นบคุ คลสาคัญของโลกประจาปี
พุทธศกั ราช ๒๕๔๓ - ๒๕๔๔

พระราชประวตั ิ

ชาติกาเนดิ

“สมเดจ็ ยา่ ” เป็นพระสมัญญานามของ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ทรงมีพระนามเดมิ ว่า “สงั วาลย”์ เสดจ็ พระราชสมภพเม่อื วันอาทติ ย์ท่ี ๒๑ ตุลาคม
พทุ ธศักราช ๒๔๔๓ ทจ่ี งั หวดั นนทบรุ ี ในครอบครัวสามญั ชนท่ปี ระกอบอาชีพเป็น
ช่างทอง ทรงมพี ่ีน้องรวม ๔ คน โดยทรงเป็นบุตรคนท่ี ๓ ของพระชนกช่ือ “ชู” และ
พระชนนีช่ือ “คา” ท้งั น้ีพระภคินแี ละพระเชษฐาของพระองค์ได้ถึงแกอ่ นิจกรรมต้งั แต่
วัยเยาว์ สว่ นพระอนุชา “ถมยา” ได้มีชวี ิตอย่ตู ่อมาจนอายุราว ๒๗-๒๘ ปี จงึ ถงึ
แกก่ รรมลงด้วยโรคเย่ือหุ้มสมองอกั เสบ

ครอบครัวของพระชนกชูและพระชนนีคา ได้พานักอยู่ท่จี งั หวดั นนทบรุ ี เป็น
เวลานานเทา่ ใดไม่ปรากฏ แต่เม่ือสมเดจ็ ย่าทรงจาความได้กพ็ บว่าครอบครัวของ
พระองค์ได้ย้ายมาต้งั ถ่ินฐานอยู่ท่ซี อยวัดอนงค์ บริเวณเชงิ สะพานสมเดจ็ พระพทุ ธ
ยอดฟ้ าจุฬาโลก ย่านฝ่ังธนบุรีแล้ว โดยบ้านท่ที รงพานักเป็นเหมือนห้องแถวช้ัน
เดยี ว ก่อด้วยอฐิ มงุ หลังคากระเบ้ือง สมเดจ็ ย่าทรงเป็นกาพร้าต้งั แต่ยังเยาว์ เน่ือง
ด้วยพระชนกชูได้ถึงแกก่ รรมลงในขณะท่สี มเดจ็ ย่ายงั ทรงเลก็ อยู่ พระชนนีคา จึงต้อง
รับภาระในการเล้ียงดสู มเดจ็ ย่าและพระอนุชาโดยลาพังต่อมา

(๔)

การศึกษา

สมเดจ็ ย่า ทรงเข้าศึกษาในโรงเรียนวัดอนงคารามเป็นแห่งแรก หลังจากน้นั
ได้ย้ายไปเรียนต่อท่โี รงเรียนศึกษานารี และเม่ือพระชนมายุราว ๗-๘ พรรษา ได้ถกู
นาข้ึนถวายตวั เป็นข้าหลวง ณ สวนส่ฤี ดูในพระราชวงั ดุสติ ต่อมาได้ทรงพานกั อยู่ท่ี
บ้านพระพ่ีเล้ยี งของสมเดจ็ พระบรมราชชนกและถูกส่งไปศกึ ษาทโ่ี รงเรียนสตรีวทิ ยา
ขณะน้นั สมเดจ็ ย่าทรงมีพระชนมายุราว ๙ พรรษา พระชนนีคาได้ถงึ แกอ่ นิจกรรม

ในปี พุทธศักราช ๒๔๕๖ สมเดจ็ ย่าได้ทรงเข้าเป็นนักเรียนพยาบาล ณ โรงเรียน
แพทยผ์ ดุงครรภ์และหญิงแห่งศิริราช ท้งั ๆ ท่มี ีพระชนมายุเพียง ๑๓ พรรษา เทา่ น้ัน
จงึ ทรงเป็นนักเรียนพยาบาลท่มี อี ายุน้อยท่สี ดุ ในเวลาน้นั

ในช่วงท่สี มเดจ็ ย่าทรงฝึกงานการพยาบาลอยู่น้ัน เป็นระยะเวลาท่ที างราชการ
ได้พยายามปรับปรุงงานด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ให้แพร่หลายและมีประสทิ ธภิ าพ
มากย่ิงข้นึ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขนุ ชัยนาทนเรนทร (ซ่งึ ต่อมาทรงดารงพระยศ
เป็น สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร) ได้ทรงคัดเลือกนักเรียน
แพทยแ์ ละนกั เรียนพยาบาลอย่างละ ๒ คน ให้ไปศึกษาต่อท่ปี ระเทศสหรัฐอเมริกา
ด้วยทุนของสมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม บรมราชชนก ทพ่ี ระราชทาน
ให้แก่นกั เรียนแพทย์ และทุนของสมเดจ็ พระศรีสวรินทราบรมราชเทวี พระพันวัสสา
อยั ยิกาเจ้า ท่พี ระราชทานให้แก่นกั เรียนพยาบาล ซ่ึงนักเรียนพยาบาล “สงั วาลย”์
และนกั เรียนพยาบาล “อบุ ล” ได้รับการคดั เลือกให้ไปศึกษาท่ปี ระเทศสหรัฐอเมริกา
ในคร้ังน้ี

(๕)

ชีวิตสมรส

ในช่วงท่สี มเดจ็ ย่าศึกษาต่อในวิชาพยาบาลท่ปี ระเทศสหรัฐอเมริกา ทา่ นได้พบ
กบั สมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ พระราชโอรสของ
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ กบั สมเดจ็ พระศรีสวรินทราบ
รมราชเทวี (สมเดจ็ พระพันวสั สาอยั ยิกาเจ้า) ท่เี สดจ็ ไปศึกษาวชิ าแพทย์ และได้
อภิเษกสมรส เม่อื วนั ท่ี ๑๐ กนั ยายน พ.ศ.๒๔๖๓ โดยมีพระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๖ มาพระราชทานนา้ สงั ข์ ณ วงั สระประทมุ ภายหลังสมรส
ฐานะของสมเดจ็ ย่า จากนางสาวสงั วาลย์ เป็น หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยธุ ยา มี
พระราชธดิ า และพระราชโอรส รวม ๓ พระองค์ คอื

๑. สมเดจ็ พระเจ้าพ่ีนางเธอเจ้าฟ้ ากลั ยาณวิ ัฒนากรมหลวงนราธวิ าส
ราชนครินทร์

๒. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหิดล (รัชกาลท่ี ๘)
๓. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี ๙)

ทรงเป็ นพระราชชนนี

ในตอนเช้ามดื วนั ท่ี ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ คณะราษฎร์ ได้ทาการปฏวิ ตั ิ
เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชยม์ าเป็นระบอบ
ประชาธปิ ไตย พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงยอมรับท่จี ะเป็นพระมหา
กษตั ริย์ภายใต้การปกครองระบอบใหม่น้ี สมเดจ็ พระศรีสวรินทราบรมราชเทวี
พระพันวัสสาอยั ยิกาเจ้า ทรงตดั สนิ พระทยั ให้หม่อมสงั วาลย์ พระธดิ า พระโอรส ไป
พานักณ เมืองโลซาน ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ พระองค์ต้องรับภาระในการอบรม
เล้ียงดูพระธดิ า และพระโอรสท้งั ๓ พระองค์โดยลาพัง

เม่ือวันท่ี ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง
ประกาศสละราชสมบัติ ด้วยเหตทุ ่พี ระองค์ไม่ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธดิ า

(๖)

รัฐบาลไทยในสมยั น้นั จงึ ได้กราบบังคมทลู อญั เชิญพระวรวงศเ์ ธอพระองคเ์ จ้าอานันท
มหิดล พระชนมายุ ๙ พรรษา พระราชโอรสองคโ์ ตในสมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช
กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระบรมราชชนก) กบั หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยุธยา
ข้นึ ครองราชย์ เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลท่ี ๘ ทาให้ฐานะของหม่อมสงั วาลย์
เปล่ียนเป็น พระราชชนนีศรีสงั วาลย์ ต่อมาสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหิดลได้ทรง
พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระราชชนนศี รีสงั วาลยข์ ้นึ เป็น สมเดจ็ พระราชชนนีศรี
สงั วาลย์ ทรงดารงพระยศเป็นพระบรมวงศ์ฝ่ ายในช้นั สงู เม่ือวันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน
พุทธศักราช ๒๔๘๑

ทรงอภิบาลดูแลยุวกษตั ริย์

หลังส้นิ พระชนมข์ องสมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดลอดลุ ยเดช หรือสมเดจ็ พระบรมราช
ชนก ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ แล้ว สมเดจ็ ย่า หรือ หม่อมสงั วาลย์ มหิดล ณ อยุธยา
ขณะน้นั พระชนมายุ ๒๙ พรรษา ต้องทรงรับพระราชภาระในการอภบิ าลบารุงพระ
ราชธดิ า พระราชโอรส ถึง ๓ พระองค์ โดยทาหน้าท่ใี นฐานะ “พ่อ” และ “แม่” ผู้
ประเสริฐ ยึดหลักในการอภิบาล ๒ ประการ คอื เดก็ ตอ้ งมีอนามยั สมบูรณ์ และเด็ก
ตอ้ งอยู่ในระเบยี บวินยั โดยไม่บงั คบั เขม้ งวดมากเกินไป นอกจากน้สี มเดจ็ ย่ายัง
ทรงอบรม
สงั่ สอน ใหพ้ ระราชธิดา พระราชโอรส เป็ นเดก็ ดี มีมารยาทดี และมเี หตุผล ย่งิ
เม่ือหม่อมสงั วาลย์ มหิดล เปล่ยี นฐานะเป็นพระราชชนนี การอภบิ าลว่าท่ี
พระมหากษัตริย์ พระองคน์ ้อย เป็นพระราชภารกจิ ท่ยี ่ิงใหญ่ ทง้ั น้เี พราะมีพระราช
ประสงค์อนั แรงกล้าท่จี ะให้พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวท่เี สดจ็ ข้นึ ครองราชยภ์ ายใต้
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ทรงสามารถปฏบิ ตั ิหน้าท่ปี ระมุขของชาติให้ได้
ประโยชนเ์ ตม็ ท่ี มใิ ช่เพียงแต่รับราชสมบัติแล้วมทิ รงทะนุบารงุ อาณาประชาราษฎร์
จากพระปณิธานน้เี องทาให้สมเดจ็ ย่าต้องทรงเพ่ิมความเอาพระทยั ใส่ในการอบรมเล้ยี ง
ดพู ระราชธดิ า และพระราชโอรสมากย่งิ ข้นึ เป็นเทา่ ทวคี ูณ ซ่งึ การถวายอภบิ าลองคย์ ุ
วกษตั ริยข์ องสมเดจ็ ย่าน้ัน เป็นท่ยี อมรับจากท้งั พระบรมวงศานุวงศ์ และประชาชน
โดยท่วั ไป

(๗)

ทรงสูญเสียพระราชโอรส “อานนั ทมหิดล”

ในวันท่ี ๙ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๔๘๙ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดสวรรคต

ณ พระท่นี ่ังบรมพิมานในพระบรมมหาราชวัง การเสดจ็ สวรรคตของสมเดจ็ พระ

เจ้าอยู่หัวอย่างกระทนั หัน กอ่ ให้เกดิ ความเศร้าโศกสะเทอื นพระราชหฤทยั แกส่ มเดจ็ ย่า

เป็นท่ยี ่งิ จนพระวรกายซูบลงอย่างรวดเรว็ แม้จะทรงเสยี พระทยั มากเพียงใดสมเดจ็

ย่ากท็ รงพระองคด์ ้วยความเข้มแขง็ เป็นท่นี ่าสรรเสริญย่ิง

ในวนั เดียวกบั ท่สี มเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหิดลเสดจ็ สวรรคต สภา

ผ้แู ทนราษฎรได้ลงมติเป็นเอกฉันทใ์ ห้คณะรัฐมนตรีกราบบงั คมทลู เชิญ สมเดจ็ พระเจ้า

น้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภมู ิพลอดลุ ยเดชเสดจ็ ข้ึนสบื ราชสนั ตติวงศ์ เป็นพระมหากษตั ริย์

แห่งบรม

ราชจักรีวงศ์ ซ่งึ ขณะน้นั ทรงมีพระชนมพรรษาเพียง ๑๘ พรรษา สมเดจ็ ย่าจึงยังคง

ต้องรับพระราชภาระในการถวายพระอภบิ าลพระเจ้าแผ่นดนิ พระองค์ใหม่ต่อไป

ทรงเป็ นสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ ได้ทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเฉลิมพระนามพระราชบิดา สมเด็จเจา้ ฟ้ ามหิดล
อดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ เป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช
วิกรม พระบรมราชชนก และมพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้
ประกาศเฉลิมพระนาม สมเดจ็ พระราชชนนศี รีสงั วาลย์ เป็น สมเดจ็ พระศรีนครินทรา
บรมราชชนนี เม่ือวันท่ี ๙ มถิ นุ ายน พทุ ธศักราช ๒๕๑๓

(๘)

พระราชนดั ดาของสมเด็จยา่

สมเดจ็ ย่าทรงมีพระราชนัดดา ท่ปี ระสูติแต่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ล
อดุลยเดช และสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ต์ิ พระบรมราชินีนาถ รวม ๔ พระองค์ คอื

๑. สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟ้ าอบุ ลรัตนร์ าชกญั ญาฯ
๒. สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟ้ ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฎราชกุมาร
๓. สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า เจ้าฟ้ ามหาจกั รีสริ ินธร รัฐสมี าคุณากรปิ ยชาติ

สยามบรมราชกมุ ารี
๔. สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟ้ าจุฬาภรณว์ ลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี

พระราชนัดดาท่ปี ระสตู แิ ต่สมเดจ็ พระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ ากลั ยาณวิ ัฒนากรม
หลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ คอื ท่านผ้หู ญงิ ทศั นาวลยั ศรสงคราม

(๙)

สมเดจ็ ยา่ เสดจ็ สวรรคต

ในวันท่ี ๒ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๓๘ สมเดจ็ ย่าทรงประชวรด้วยโรคพระหทยั
กาเริบ ต้องเสดจ็ ฯ เข้ารบั การรักษาท่ตี กึ ๘๔ ปี โรงพยาบาลศิริราช แม้คณะแพทย์จะ
ถวายการรักษาอย่างสดุ ความสามารถแล้ว แต่พระอาการกลับทรงและค่อยๆ ทรุดลง
เป็นลาดับ จนกระท่งั เวลา ๒๑.๑๗ น. ของคืนวนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๘
สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี จึงได้เสดจ็ สวรรคตโดยพระอาการสงบ สิริ
พระชนมายุ ๙๔ พรรษา ๗ เดือน ๒๘ วนั

เม่ือสมเดจ็ ย่าเสดจ็ สวรรคตแล้ว พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราช
โองการโปรดเกล้าฯ ให้สานักพระราชวงั จัดการพระบรมศพ ถวายพระเกยี รติยศสงู สดุ
ตามพระราชประเพณี ประดษิ ฐานพระบรมศพ ณ พระท่นี ่งั ดุสติ มหาปราสาท ใน
พระบรมมหาราชวัง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าทลู
ละอองธุลีพระบาทในราชสานกั ไว้ทุกข์ถวายมกี าหนด ๑๐๐ วัน ต้งั แต่วนั สวรรคตเป็น
ต้นไป พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประชาชนเข้าถวายนา้ สรงพระบรมศพหน้า
พระบรม
ฉายาลักษณ์ หลงั พระราชพิธบี าเพญ็ พระราชกุศลทกั ษณิ านุปทาน ๑๐๐ วนั ถวาย
พระบรมศพสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีแล้ว พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้จดั การพระราชทานพิธถี วายพระเพลิงพระ
บรมศพสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ข้ึนในวนั ท่ี ๑๐ มนี าคม พ.ศ.๒๕๓๙
โดยใช้บริเวณทางด้านทศิ ใต้ของท้องสนามหลวง โดยสร้างองค์เมรมุ าศเป็นแบบทรง
ปราสาท ๓ องค์เรียงกนั งานพระราชพิธถี วายพระเพลงิ พระบรมศพสมเดจ็ ย่า เป็นไป
อย่างสมพระเกยี รติยศ ท่ามกลางความโศกสลดและอาลัยรักของพสกนิกรชาวไทยโดย
ทว่ั กนั

(๑๐)

พระราชกรณยี กิจ

สมเดจ็ ย่าได้ทรงบาเพญ็ พระราชกรณียกจิ เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน
โดยเฉพาะในท้องถ่ินทุรกนั ดาร เพราะทรงเหน็ ว่าถ้าพระราชทานโอกาสแก่พสกนกิ ร
ในท้องถ่ินห่างไกลให้มคี วามรู้ แม้พออา่ นออกเขียนได้ ร้จู ักรักษาสขุ ภาพอนามยั ของ
ตนเอง ร้จู กั ประกอบสมั มาอาชีพ ประชาชนเหล่าน้นั กจ็ ะเป็นทรัพยากรท่มี คี ณุ ค่าของ
ชาติ พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ ย่าส่วนใหญ่จงึ มุ่งพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน
ในถ่ินทุรกนั ดาร เช่น

๑. การสง่ เสริมการศกึ ษาเดก็ และเยาวชนในถ่นิ ทุรกนั ดาร (โรงเรียนตารวจ
ตระเวนชายแดน)

๒. การเสดจ็ ฯ เย่ียมเยยี น และพระราชทานความช่วยเหลือประชาชน
๓. การจดั ต้งั หน่วยแพทยอ์ าสาสมเดจ็ พระราชชนนีศรีสงั วาลย์
๔. การสนบั สนุนกจิ การลูกเสอื ชาวบ้าน
๕. การกอ่ สร้างโรงพยาบาลเพ่ือการพักฟ้ื นตารวจตระเวนชายแดน ท่สี ้รู บกบั

ผ้กู ่อการร้าย และปกป้ องเอกราชของประเทศชาติ
๖. การฟ้ื นฟูสภาพป่ าโดยรอบดอยตุง และพัฒนาสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของ

ราษฎรท่อี ยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคยี ง

(๑๑)

สมเดจ็ ยา่ กบั การสงเคราะหโ์ รงเรียน ตชด.

สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงสนพระทยั และเป็นห่วงในเร่ือง

การศกึ ษาของเยาวชนในเขตชนบทเป็นอย่างมาก ด้วยทรงมีพระราชดาริว่า

“การศึกษาเป็ นสิง่ สาคญั ที่จะทาใหเ้ ยาวชนในชนบทมคี วามรู้ ความคิดและ

สติปัญญาทีเ่ ฉลียวฉลาด อนั จะเป็ นปัจจัยสาคญั ในการพฒั นาชนบท” สมเดจ็

ย่าทรงพบว่าเยาวชน ในถ่ินทุรกนั ดารขาดโรงเรียน หรือสถานศกึ ษา เพราะ

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารยงั ขยาย

ออกไปไม่ถึง เม่อื ทรงทราบว่ากองกากบั การตารวจตระเวนชายแดน มีโครงการขยาย

การจัดต้งั โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน จึงทรงพระราชทานพระราชทรัพยส์ ว่ น

พระองค์ ให้นาไปสร้างโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน และโรงเรียนชาวเขา ต่อมา

มีผ้มู จี ติ ศรัทธาทลู เกล้าฯ ถวายเงนิ สมทบเพ่ือจดั สร้างโรงเรียนชาวเขาหรือโรงเรียน

ตารวจตระเวนชายแดนเพ่ิมมากข้นึ ในภมู ภิ าคต่างๆ

ไม่เพียงเทา่ น้นั สมเดจ็ ย่ายังได้ทรงรับเอาโครงการของโรงเรียนตารวจตระเวน

ชายแดน ไว้ในพระราชูปถมั ภ์ และเม่ือสมเดจ็ ย่าทรงเจริญพระชนมายุมากข้นึ กม็ ไิ ด้

ทรงทอดท้งิ พระองคไ์ ด้ทรงฝากให้สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

ทรงช่วยดแู ลแทนดงั พระราชกระแสท่วี ่า “ย่าแก่แลว้ ไปไหนไม่ค่อยไหว ถา้ สมเดจ็

พระเทพฯ เสดจ็ ฯ ก็ใหเ้ ยีย่ มแทนย่าดว้ ย” สมเดจ็ ย่าจึงมีพระคณุ ย่งิ สาหรับพวกเรา

นกั เรียนโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ถ้าไม่มสี มเดจ็ ย่าและสมเดจ็ พระเทพ

รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เดก็ และเยาวชนในถ่ินทุรกนั ดาร คงไม่ได้รับ

การศกึ ษา ไม่มคี วามรู้ ครอบครัวของพวกเขาคงลาบาก ไม่ได้รับความช่วยเหลอื

และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เช่นปัจจุบันน้ี

(๑๒)

สมเดจ็ ยา่ กบั ช่วยเหลือประชาชน

สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี แม้จะเป็นพระชนนี (มารดา) ของ
พระมหากษตั ริยไ์ ทย ๒ พระองค์ คอื รัชกาลท่ี ๘ และรัชกาลท่ี ๙ กม็ ไิ ด้ทรงเสวยสขุ
อยู่แต่ในพระราชวัง พระองค์ทรงแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยู่หัว ในการดแู ลความทกุ ขส์ ขุ ของราษฎรในชนบทอย่างจริงจัง ทรงเสดจ็ พระ
ราชดาเนินเย่ียมชาวไทยภเู ขาท่อี ยู่ห่างไกล ชาวชนบทในถ่นิ ทุรกนั ดาร แม้จะอยู่
บน
เกาะกลางทะเลท่โี ดดเด่ยี ว ทรงพระราชทานความช่วยเหลือท่ตี รงตามความต้องการ
และความจาเป็น ชาวไทยท่วั ไปจึงร่วมใจถวายพระราชสมัญญา “สมเดจ็ ย่า”และชาว
ไทยภเู ขากถ็ วายพระราชสมญั ญา “แม่ฟ้ าหลวง” ด้วยความเคารพรัก และเทดิ ทนู อย่าง
บริสทุ ธ์ใิ จ

สมเดจ็ ยา่ กบั งานดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ

จากการท่สี มเดจ็ ย่าได้เสดจ็ ฯ เย่ยี มเยียนชาวบ้านตามหม่บู ้านในป่ าเขา ทาให้
ได้ทรงพบเหน็ ราษฎรจานวนมากได้รับทกุ ขเวทนาอนั เกดิ จากโรคภยั ไข้เจบ็ ต่างๆ แล้ว
มิได้รับการรักษาพยาบาลท่ถี กู ต้อง เน่อื งจากพวกเขาเหล่าน้นั อยู่ในถน่ิ ทรุ กนั ดาร
ห่างไกล จากสถานพยาบาล สมเดจ็ ย่าจงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แพทยแ์ ละ
พยาบาลผ้ตู ามเสดจ็ ทาการตรวจรักษาชาวบ้านทเ่ี จบ็ ป่ วยเหล่าน้นั นบั เป็นจุดเร่ิมต้น
ของหน่วยแพทย์อาสาเคล่ือนท่ใี นพระองค์

เม่ือปี พ.ศ.๒๕๑๑ จึงทรงมีพระราชดาริจัดต้งั หน่วยแพทยอ์ าสาในพระองค์ข้ึน
เป็น “หนว่ ยแพทยอ์ าสาสมเดจ็ พระราชชนนศี รีสงั วาลย”์ : (พอ.สว) หน่วยแพทย์
พอ.สว. ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ ท่เี ป็นอาสาสมัคร
ทางานด้วยความเสยี สละโดยมิได้รับเงนิ หรือค่าตอบแทนอ่นื ใด จะออกไปให้บริการ
ตรวจรักษาชาวบ้านตามท้องถ่ินท่กี นั ดาร ห่างไกลความเจริญ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๑๗
สมเดจ็ ย่าจงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทนุ ๑ ล้านบาท จัดต้งั เป็นมลู นธิ ิ ใช้ช่อื

(๑๓)

ในการจดทะเบียนว่า “มูลนิธิแพทยอ์ าสาสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี” ใช้
ช่อื ย่อว่า “พอ.สว.” โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือให้ความช่วยเหลอื รักษาพยาบาลแก่
ประชาชนและเจ้าหน้าท่ที ่ปี ฏบิ ัติงานในท้องถ่นิ ทุรกนั ดารตามชายแดน โดยไม่จากดั
เช้อื ชาติ ศาสนา และไม่คดิ มลู ค่า

สมเด็จยา่ กบั กจิ การลูกเสือชาวบา้ น

ระหว่างวันท่ี ๒๕-๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๔ กองกากบั การตารวจตระเวน
ชายแดน เขต ๔ ได้ฝึกอบรมลกู เสอื ชาวบ้านร่นุ ท่ี ๙ ท่บี ้านทรายมูล ตาบลอุ่มเหม้า
อาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม มผี ้เู ข้ารับการฝึกจานวน ๒๓๘ คน เวลาน้นั
สมเดจ็ ย่าเสดจ็ ฯ เย่ยี มราษฎร และประทบั แรมอยู่ท่โี ครงการชลประทานเข่อื นนา้ อนู
จังหวดั สกลนคร พระองค์ได้เสดจ็ ฯ ไปทอดพระเนตรการฝึกและทรงเป็นประธานใน
พิธปี ิ ด พระองคท์ รงมีรับสง่ั กบั คณะวิทยากรว่า “พยายามพัฒนาการฝึกให้เกดิ ผลดี
ต่อชาติ บ้านเมอื ง ให้ประชาชนรู้จักพ่ึงตนเอง ช่วยตนเอง รู้จักนาวิธที ฝ่ี ึกไปพัฒนา
ตวั เอง ครอบครัวและชุมชน”

สมเดจ็ ย่าได้พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์จานวน ๒๓๘,๐๐๐ บาท
สนับสนุนกจิ การลูกเสอื ชาวบ้าน ทาให้สามารถขยายกจิ การลกู เสอื ชาวบ้านไปได้ท่วั
ประเทศ ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงรับกจิ การลกู เสอื ชาวบ้านไว้ในพระ
บรมราชานุเคราะห์ เม่อื วันท่ี ๒๙ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๑๕

สมเดจ็ ย่า ทรงมีพระมหากรณุ าธคิ ณุ ต่อกจิ การลูกเสอื ชาวบ้านอย่างย่งิ พระองค์
ได้เสดจ็ ฯ ไปพระราชทานธงประจาร่นุ ลูกเสอื ชาวบ้านเป็นคร้ังแรก ท่อี าเภอเมือง
จงั หวดั อุดรธานี เม่อื วนั ท่ี ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ และพระราชทานเหรียญ
อนุสรณ์มหาราชแกค่ ณะวิทยากร และเหรียญลูกเสอื แกผ่ ้เู ข้าอบรมทกุ คน มูลนิธิ
วิทยากรลูกเสอื ชาวบา้ น (มวส.) ได้ก่อต้งั ข้นึ ในวันท่ี ๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๒๘ โดย
ได้รับพระราชทานเงนิ ทุนจากสมเดจ็ ย่า เป็นเงินแปดแสนบาท รวมกบั มีผ้บู ริจาคอกี
ส่วนหน่งึ รวมเป็นเงินท้งั ส้นิ ๑ ล้านบา

(๑๔)

สมเด็จย่ากบั การสงเคราะหต์ ารวจตระเวนชายแดน

ในการเสดจ็ ฯ ไปเย่ียมเยยี นตารวจตระเวนชายแดนท่ฐี านปฏบิ ัตกิ าร สมเดจ็
พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้ทอดพระเนตรเหน็ สภาพความเป็นอยู่ท่ลี าบาก
แร้นแค้นและอนั ตรายท่ตี ารวจตระเวนชายแดนผู้ออกไปปฏบิ ัตหิ น้าท่ปี กป้ องชาติ
บ้านเมอื ง บางคร้ังถึงกบั เสยี ชีวิตหรือสญู เสยี อวยั วะบางส่วนไปในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี
เป็นเหตุให้ครอบครัวท่อี ยู่เบ้ืองหลงั ต้องประสบเคราะห์กรรมลาบาก เน่อื งจากต้อง
ขาดหัวหน้าครอบครัวหรือหัวหน้าครอบครัวต้องทุพพลภาพไม่อาจทามาหาเล้ียง
ครอบครัว ได้อกี ต่อไป ด้วยเหตนุ ้สี มเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี จงึ ได้
พระราชทานพระราชทรพั ยส์ ่วนพระองคใ์ หน้ าไปจัดต้งั เป็ น “มูลนธิ ิสงเคราะห์
ตารวจชายแดนและ
ครอบครวั ในพระอปุ ถมั ภส์ มเด็จพระราชชนนีศรีสงั วาลย”์ มีชื่อยอ่ ว่า “มส.ชด.สว.”
เม่ือวนั ท่ี ๑๘ กนั ยายน ๒๕๑๐ มวี ัตถุประสงค์เพ่ือช่วยเหลือสวสั ดกิ ารตารวจและ
ครอบครัวท่ไี ด้รับบาดเจบ็ หรือถงึ แก่กรรมลงในขณะปฏบิ ัติหน้าท่ี ตลอดรวมไปถึง
การช่วยเหลอื ในด้านการศกึ ษาให้แก่บุตรของเหล่าตารวจตระเวนชายแดน ท้งั ยังรับ
เอามูลนธิ แิ ห่งน้ีไว้ในพระอุปถัมภ์ของพระองคอ์ กี ด้วย เป็นผลให้เกดิ ขวัญและกาลังใจ
แกข่ ้าราชการตารวจตระเวนชายแดน และครอบครัวเป็นอย่างมาก

ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรด
เกล้าฯ สถาปนาสมเดจ็ พระราชชนนีศรีสงั วาลย์ข้นึ เป็น “สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรม
ราชชนน”ี ดังน้ันกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดนจึงได้ขอเปล่ียนนาม “มลู นธิ ิ
สงเคราะห์ตารวจชายแดนและครอบครัวในอุปถมั ภส์ มเดจ็ พระราชชนนีศรีสงั วาลย์”
(มส.ชด.สว.) เป็น “มูลนธิ ิสงเคราะหต์ ารวจตระเวนชายแดนและครอบครวั ในพระ
ราชูปถมั ภข์ องสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี” (มส.ตชด.สว.)” ต้ังแต่วนั ท่ี
๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ เป็นต้นมา

เน่ืองจากสมเดจ็ ย่าทรงเลง็ เหน็ ว่า ตารวจตระเวนชายแดน ได้ทาการส้รู บกบั
ผ้กู ่อการร้ายคอมมิวนสิ ต์ และปกป้ องเอกราช เป็นเหตใุ ห้ได้รับบาดเจบ็ และสญู เสยี
ชีวิต ต้องพักรักษาตัวตามโรงพยาบาลต่างๆ สมเดจ็ ย่าทรงเลง็ เหน็ ความจาเป็นท่ี
จะต้องให้ความช่วยเหลอื ในการพักฟ้ื นอาการเจบ็ ป่ วยเน่ืองจากการส้รู บ กอ่ นท่จี ะ

(๑๕)

กลบั ไป ปฏบิ ัตภิ ารกจิ และเพ่ือใช้เป็นสถานท่รี ับสง่ คนไข้ในพระราชานุเคราะห์ ท่จี ะ

เข้ามารักษาในโรงพยาบาลส่วนกลาง เน่อื งจากคนไข้ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้

หรือเดนิ ทางไปมาไม่ถกู หรือเป็นทพ่ี ักคนไข้ก่อนท่จี ะนาตัวส่งไปรักษาใน

โรงพยาบาลและ

ระหว่างรอสง่ ตัวกลับภมู ิลาเนา จึงได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นทนุ

ในการกอ่ สร้างโรงพยาบาล

กรมตารวจได้พิจารณาอนุมัตใิ ห้กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน ใช้ท่ดี นิ

ภายในกองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดนเน้อื ท่๓ี ๐๐ตารางวา เพ่ือสร้างโรงพยาบาล

ขนาด ๓๐ เตยี ง และอนุมตั ิเพ่ิมอกี ๑๕๓.๔๐ ตารางวา เพ่ือขยายโรงพยาบาลเป็น ๕๐

เตยี ง กองกากบั การตารวจตระเวนชายแดนได้ขอพระราชทานพระราชานุญาตอญั เชญิ

พระนามาภิไธย เป็นนามอาคารโรงพยาบาลตารวจตระเวนชายแดนว่า “อาคารศรี

นครินทร”์ ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงพยาบาลว่า “นวุติ

สมเด็จย่า” ซ่งึ มีความหมายว่า “สมเดจ็ ยา่ ๙๐ ปี ” เม่อื วนั ท่ี ๕ มีนาคม พทุ ธศกั ราช

๒๕๓๓

(๑๖)

สมเด็จย่ากบั การศาสนา

สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเป็นพทุ ธศาสนิกชนท่ยี ึดม่ันใน
พระพทุ ธศาสนาตลอดมา นอกจากจะทรงทาทาน (ทรงบาเพญ็ ทานบารมดี ้วยการให้
และช่วยเหลือผ้อู ่นื โดยเฉพาะผ้ปู ่ วย)รักษาศลี และเจริญภาวนาเป็นกจิ วัตรแล้ว
พระองคย์ ัง
ทรงสนพระทยั ในการศกึ ษาปฏบิ ัติธรรมด้วย ยงั ได้ทรงซึมซบั ให้พระราชธดิ าและพระ
ราชโอรส ได้ประพฤติปฏิบัติตามโดยมิต้องทรงเค่ยี วเขญ็ แต่ประการใด

เม่อื คร้ังท่สี มเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเป็นผ้สู าเรจ็ ราชการแทน
พระองค์ได้ทรงมีพระเมตตาธคิ ุณท่จี ะให้ข้าราชการสานกั ได้มโี อกาสสดับพระธรรม
เทศนาบ้างเป็นคร้ังคราว จึงโปรดเกล้าฯ ให้อาราธนาพระเถรานุเถระมาบรรยายธรรม
พร้อมกบั ทรงให้รวบรวมจัดพิมพ์ข้นึ เป็นเล่ม เพ่ือเผยแพร่ให้แก่บคุ คลทว่ั ไปในโอกาส
ต่อมา เช่น เร่ืองหน้าท่ี ชีวิตกบั ธรรม ปริยัติและปฏบิ ตั ิ และฆราวาสพ้ืนฐานของ
การทาดีและทาช่วั เป็นต้น ท้งั น้ีเน่อื งจากสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรง
มีพระราชดาริว่า “จิตใจเป็ นรากฐานของการกระทาและการกระทาเป็ นรากฐานของ
การเกดิ ความสุข หรือความทุกข์ของคน ดังนนั้ การฝึ กอบรมจิตจึงเป็ นส่งิ จาเป็ น
สาหรับทุกคน เพราะทุกคนมจี ิตทีจ่ ะตอ้ งรู้ ตอ้ งคิด เหมอื นกันจึงจาเป็ นจะตอ้ ง
บริหารจิตหรือพฒั นาจติ ใหร้ ู้ ใหค้ ดิ ไปในทางทถี่ กู ทีค่ วร เพอื่ การกระทาต่างๆ ไป
ในทางทีถ่ กู ทีค่ วร…”

สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ยงั ทรงห่วงใยถงึ นักศึกษาและข้าราชการ
ท่พี านกั อยู่ในต่างประเทศว่าพวกเขาควรจะมีหนงั สอื เก่ยี วกบั คาสง่ั สอนใน
พระพุทธศาสนาเป็นค่มู ือสาหรับอ่านเพ่ือเป็นแนวทางสาหรับปฏบิ ตั ติ นกบั เพ่ือสามารถ
ใช้อธบิ าย ให้กบั ชาวต่างชาตผิ ้ตู ้องการทราบถงึ หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาให้
เข้าใจได้ จึงทรงอาราธนาสมเด็จพระญาณสงั วร สมเด็จพระสงั ฆราชสกลมหา
สงั ฆปรินายก แห่งวัดบวรนิเทศวิหาร เม่ือคร้ังยังทรงสมณศักด์ิเป็นพระสาสนโสภณ
ใหท้ รงเรียบเรียง หนงั สอื ธรรมะ “พระพุทธเจา้ ทรงสงั่ สอนอะไร ?” โดยในหนงั สอื

(๑๗)

ได้กล่าวถงึ อริยสจั ๔ ไตรลักษณ์ พรหมวิหาร ๔ นิพพาน ตลอดจนการปฏบิ ตั ิตน

ให้ถกู ต้องในทางธรรม อนั จะนาความสขุ ความเจริญมาสชู่ ีวิตตนเม่ือพระสาสนโสภณ

เรียบเรียงข้นึ แล้ว สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้ทรงตรวจทานในแง่ของ

การใช้ถ้อยคาและสานวนภาษาให้เหมาะสมกบั กล่มุ ผ้ทู ่จี ะอา่ น ซ่ึงมิใช่ผู้ท่รี อบร้ทู าง

พระพุทธศาสนา โดยทรงเอาพระองค์เองเป็นเคร่ืองวดั ความยากง่ายของเร่ือง

จากน้นั ได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้พระขนั ติปาโลและพระนาคเสโน แปลเป็น

ภาษาองั กฤษ แล้วจดั พิมพ์ข้นึ เพ่ือแจกจ่ายไปยังสถานศกึ ษา และหน่วยงาน

ข้าราชการ ท่ปี ระจาอยู่ในต่างประเทศ

พระจริยวัตรท่สี าคญั อกี ประการหน่ึงในทางพระพุทธศาสนาของสมเดจ็ พระศรี

นครนทิ ราบรมราชชนนี ท่นี ้อยคนนกั จะได้รู้เหน็ กค็ ือ การป้ันพระพุทธรูป แม้พระองค์

จะมิได้ทรงศึกษาการป้ันในทางศิลปะมาก่อนแต่ด้วยพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา

ทาให้ทรงสามารถป้ันพระพทุ ธรูปได้อย่างงดงามด้วยพทุ ธลกั ษณะ และพระองคย์ ังทรง

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จดั สร้างพระพุทธปฏมิ าในลกั ษณะต่างๆข้นึ เพ่ือพระราชทาน

ให้แก่บุคคลและหน่วยงานท่รี ับสนองพระราชกจิ ในวโรกาสต่างๆ เพ่ือให้บุคคลดังกล่าว

ได้ใช้เป็นส่งิ ยึดเหน่ียวจติ ใจให้ต้งั อยู่ในศีลธรรมอนั ดี พระเคร่ืองท่โี ปรดเกล้าฯ ให้

จดั ทาข้นึ น้มี ี พระพทุ ธเมตตา พระพุทธปฏมิ าทรงเคร่ืองขนาดเลก็ เหรียญพระพุทธ

ปฏมิ ารูปใบโพธ์ิ พระกร่ิง สว. เหรียญพระพทุ ธรปู ประทานพรรูป ใบโพธ์ปิ ระดับ

พระนามาภไิ ธยย่อ สว.เป็นอาทิ

อกี สง่ิ หน่ึงท่แี สดงให้เหน็ ถึงพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา ของสมเดจ็

พระศรีนครินทราบรมราชชนนี คือได้ทรงพระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์

ร่วมกบั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว และสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ

เพอื่ ใชเ้ ป็ นทุนในการตรวจชาระ และจดั พิมพพ์ ระไตรปิ ฎกฉบบั มหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลยั ปี พุทธศกั ราช ๒๕๓๕ และในวโรกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพในทกุ ๆ ปี

กจ็ ะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้นาพระราชทรัพย์ไปบริจาคให้แก่วดั วาอารามต่างๆ

เพ่ือทานุบารงุ ให้กจิ การทางพระพทุ ธศาสนาได้สบื ต่อไป

มิใช่เพียงพระพทุ ธศาสนาเท่าน้ันท่ที รงให้ความเก้อื หนุน สมเดจ็ พระศรีนคริน

ทราบรมราชชนนี ยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สานักจุฬาราชมนตรีจดั พิมพ์

หนังสอื “ศาสนาอสิ ลาม สอนอะไร?” ข้นึ สาหรับพระราชทาน ให้แกป่ ระชาชนใน

(๑๘)

จงั หวดั ภาคใต้และผู้สนใจทว่ั ไป เพราะทรงตระหนกั ว่าทกุ ศาสนาล้วนมจี ุดหมายท่จี ะ
สอนให้ผู้ท่นี บั ถอื เป็นคนดี และอยู่ร่วมกบั ผ้อู ่นื ได้อย่างสนั ติ

สมเดจ็ ย่ากบั งานอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ

ในปี พทุ ธศักราช ๒๕๓๐ เป็นปี ท่สี มเดจ็ ย่าทรงเจริญพระชนมายุครบ ๙๐
พรรษา รัฐบาลภายใต้การนาของพลเอกเปรม ติณสลู านนท์ ได้ดาเนนิ การกอ่ สร้างพระ
ตาหนกั ดอยตงุ บนเทอื กเขานางนอน จังหวดั เชยี งราย ข้ึนถวายเพ่ือทรงใช้เป็นท่ี
ประทบั แทนการเสดจ็ ฯ แปรพระราชฐานไปประทบั ยังประเทศสวติ เซอร์แลนด์ กอ่ น
หน้าน้ี สมเดจ็ ย่าทรงสงั เกตเหน็ ว่าพ้ืนท่สี ว่ นใหญ่โดยรอบดอยตงุ มีสภาพเป็นป่ า
เส่อื มโทรม เน่ืองจากถกู บกุ รุกทาลายเพ่ือการทาไร่เล่อื นลอยด้วยความร้เู ทา่ ไม่ถึงการณ์
ของชาวไทยภเู ขา พระองคจ์ งึ ทรงมีพระราชดาริท่จี ะพลกิ ฟ้ื นผนื ป่ าให้กลับมามชี วี ิต
ใหม่อกี คร้ัง โครงการพัฒนาดอยตุงจงึ ถอื กาเนิดข้นึ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ฟ้ื นฟูสภาพป่ า
โดยรอบดอยตุงให้กลับฟ้ื นคืนสภาพ สาหรับเป็นแหล่งต้นนา้ ลาธาร และเพ่ือการ
พัฒนาส่งเสริมสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรซ่ึงอาศยั อยู่บริเวณใกล้เคยี ง ให้มี
คณุ ภาพชีวติ ท่ดี ขี ้นึ ต้ังถ่ินฐานเป็นหลักแหล่งม่นั คง มอี าชพี ท่สี จุ ริต หยุดการปลูกพืช
เสพติดทกุ ชนิด และหยุดการบุกรกุ ทาลายป่ าอย่างส้นิ เชิง รวมท้งั พัฒนาดอยตุงให้
เป็นแหล่งท่องเท่ยี วระดับประเทศด้วย

(๑๙)

งานอดิเรกของสมเดจ็ ยา่

ทรงโปรดอยู่ตามเขาลาเนาป่ า

ผ้มู ีโอกาสเข้าเฝ้ าทลู ละอองพระบาทสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนแี ต่ละ
คนจะมีเหตกุ ารณ์ท่ปี ระทบั ใจเก่ยี วกบั พระองค์เสมอ พลตารวจตรี สเุ ทพ สขุ สงวน
(สมั ภาษณ์, ๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๔๓ ) เล่าว่า

…เม่ือเดอื นธนั วาคม ปี พ.ศ.๒๕๑๓ ขณะน้นั ยศร้อยตารวจโท
เป็นผ้บู งั คับหมวดชายแดนพร้อมด้วยกาลังตารวจชายแดน ๑๕ นาย ทา
หน้าท่ถี วายความปลอดภยั สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ท่พี ระ
ตาหนกั ภพู ิงคราชนิเวศนจ์ งั หวัดเชียงใหม่

สมเดจ็ ย่าโปรดทรงพระดาเนินตามภเู ขา ทอดพระเนตรดอกไม้
และธรรมชาติมาก หลงั จากเสวยพระกระยาหารกลางวันแล้ว ตอนบ่าย
ทรงพระดาเนินไปตามป่ าเขา โปรดความสะอาดและความเป็นระเบียบ
เรียบร้อย เม่ือทรงพระดาเนินไปตามทาง ทอดพระเนตรเหน็ สง่ิ ของซ่ึง
ไม่ควรจะอยู่ในธรรมชาติ เช่น เศษกระดาษ ก้นบุหร่ี ถุงพลาสติก ทรง
ก้มเกบ็ สง่ิ เหล่าน้นั ด้วยพระองค์เอง พวกเราจึงจดั ให้ตารวจชายแดน
มีย่ามสะพายหรือถุงคอยเกบ็ ล่วงหน้ากอ่ น แต่บางคร้ังกย็ ังหลงหูหลง
ตาบ้าง ทรงมีพระราชกระแสรับส่งั ให้ตารวจชายแดนช่วยกนั รักษาความ
สะอาดและรักษาสง่ิ แวดล้อมต้องให้เป็นธรรมชาติ ระหว่างพักการ
เดินทางพระองค์จะประทบั บนขอนไม้ ตารวจชายแดนจะน่งั เรียงราย
ล้อมพระองค์ โปรดให้ตารวจตระเวนชายแดนร้องเพลงถวายเป็นเพลง
พระราชทาน คือ เพลงตารวจตระเวนชายแดน (เน้อื ร้องโดย ท่านผ้หู ญิง
ม.ล.มณรี ัตน์ บนุ นาค) และตามด้วยเพลงลูกทงุ่ บางคร้ังตารวจ
ชายแดนร้องลเิ กถวาย พระองค์สาราญพระราชหฤทยั มาก เป็นพระราช
จริยาวตั รท่เี ป่ี ยมไปด้วยพระเมตตาและพระกรุณาธคิ ุณย่ิงนกั …

(๒๐)

ดา้ นศิลปะ

แม้สมเดจ็ ย่า จะมไิ ด้ทรงศกึ ษาวิชาทางศลิ ปะโดยตรง แต่พระปรีชาสามารถ
สว่ นพระองค์ ในด้านงานศลิ ป์ กลับมปี รากฎในหลายแขนง อาทงิ านป้ัน งานปัก
งานวาด และงานปะดษิ ฐ์ต่างๆ ผลงานศิลปะเหล่าน้สี ว่ นใหญ่จะทรงเป็นงานอดิเรก
ยามว่าง และผลงานเหล่าน้ีพระองคจ์ ะพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศใ์ นโอกาส
ต่างๆ แก่ข้าราชการและบุคคลใกล้ชิด รวมท้งั มอบแก่ผ้มู ีจติ ศรัทธาบริจาคทรัพยร์ ่วม
โดยเสดจ็ พระราชกศุ ลสมทบมูลนิธติ ่างๆ ท่อี ยู่ในพระอุปถมั ภข์ องพระองค์ ช้ินงาน
ศลิ ป์ ท่สี มเดจ็ ย่าทรงสรรค์สร้างได้แก่ งานป้ันพระพุทธรูป งานป้ันเคร่ืองเคลือบ
ดินเผา งานปักผ้าครอสตซิ งานประดษิ ฐ์บัตรอวยพร ซ่ึงทรงนาเอาดอกไม้แห้งท่ี
เสดจ็ ฯ ไปทรงเกบ็ และอดั แห้งด้วยพระองค์เอง มาประดบั ไว้ในบตั รน้นั ๆ

นอกจากน้ยี ังมงี านถักผ้าพันคอสาหรับกนั หนาว เพ่ือจะพระราชทานให้แก่
ทหาร ตารวจ และบรรดาอาสาสมคั รท่ปี ฏบิ ัติราชการตามแนวชายแดน และถ่ิน
ทรุ กนั ดาร สาหรับเป็นท่รี ะลึกและเป็นขวัญกาลงั ใจแกผ่ ้ไู ด้รับ

ดา้ นกฬี า

สมเดจ็ ย่าทรงเล่นกฬี าหลายประเภทเพ่ือการออกพระกาลังมาโดยตลอด
สมเดจ็ ย่าทรงเหน็ ความสาคัญของกฬี า ท่เี ป็นประโยชนต์ ่อชีวติ และสขุ ภาพเช่น ทรงสกี
ข่มี ้า เทนนสิ แบดมนิ ตนั เดนิ ข้ึนเขาเพ่ือเกบ็ ดอกไม้ แต่เม่ือทรงเจริญพระชนมพรรษา
มากข้นึ จาเป็นท่จี ะต้องทรงเลอื กกฬี าท่เี หมาะสมกบั พระกาลงั และพระวรกาย พระองค์
ทรงร้จู กั กฬี า “เปตอง” คร้ังแรกในปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ ต่อมากท็ รงโปรดกฬี าชนิดน้ี
มากและทรงเปตองอย่างจริงจังเร่ือยมาสลับกบั กฬี าประเภทอ่นื ๆ มกั จะทรงเปตองใน
เวลาว่างหรือช่วงเยน็ ๆ อยู่เสมอ การทรงกฬี าเปตองน้ี บ่อยคร้ังจะร่วมทรงกบั บรรดา
ข้าราชการและตารวจตระเวนชายแดน ในการเล่นกฬี าเปตองนอกจากจะได้ความ
สนุกสนานแล้ว สมเดจ็ ย่ายังทรงปลูกฝังเร่ืองความสามัคคีและการร้แู พ้ร้ชู นะให้แก่ผู้
ร่วมแข่งขันด้วย หลายคร้ังทรงประดิษฐ์ท่คี ่นั หนังสอื ใบลานประดับดอกไม้แห้งเลก็ ๆ

(๒๑)

พระราชทานเป็นรางวลั แกผ่ ้แู ข่งขนั ไม่ว่าจะเป็นผ้ชู นะหรือผ้แู พ้ แม้บางคนไม่เคยชนะ
เลยแต่มนี า้ ใจลงแข่งอยู่เสมอ กไ็ ด้รับพระราชทานรางวัลปลอบใจเช่นกนั

สมเดจ็ ย่างทรงเล่นกฬี าเปตองอย่างจริงจังมานานแล้ว และทรงมบี ทบาทสาคญั
ย่งิ ในฐานะผ้ทู รงสนับสนุนกฬี าชนิดน้ี ทรงสง่ เสริมให้มีการเล่นเปตองจนแพร่หลาย
บางคร้ังเสดจ็ ฯ ไปทรงให้กาลังใจนักกฬี าไทยท่ไี ปแข่งขนั เปตองยังต่างแดน พระองค์
จงึ ทรงเป็นท่รี ้จู กั ของชาวต่างชาตใิ นวงการกฬี าเปตอง ส่งิ สาคญั ท่ไี ด้จากกฬี าเปตอง
นอกจากท่ไี ด้กล่าวมาแล้ว คอื ทรงนากฬี าเปตองให้เป็นกฬี าเช่อื มความสามคั ครี ะหว่าง
ข้าราชการในพ้ืนท่ี ข้าราชบริพารท่ตี ามเสดจ็ และตารวจตระเวนชายแดนท่ถี วายงาน
และถวายความปลอดภยั

ภาพสมเดจ็ ยา่ ที่ทรงเล่นเปตองกบั ตารวจตระเวนชายแดน เป็ นภาพที่ยงั
ฉายอยู่ในหวั ใจของคนไทยท้งั ชาติ

เพลงสดุดสี มเดจ็ ยา่

คารอ้ ง : ตัดตอนมาจากเพลงพระม่ิงขวญั บคุ คลสาคัญของโลก
โดย น.ท.พยงค์ มกุ ดา ร.น.

ทานอง : ราตรีประดับดาวสองช้นั
--------------------

สมเดจ็ ย่า ค่ฟู ้ าเหมอื น ธงไตรรงค์
โลกถวาย พระนามสงู ส่ง เทดิ องค์พระชนนี
(เอย๋ ) ศรีนครินทร์ พระเกยี รติคุณ ทว่ มฟ้ า
พระกรณุ า ท่วมดิน สมเดจ็ พระศรีนครินทราเอย

คณะกรรมการจดั ทาหลกั สูตรสมเดจ็ ย่า

(๒๒)

คณะทีป่ รึกษา กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน

๑. พล.ต.ท. สาโรจน์ ปัญญา ผบช.ตชด.

๒. พล.ต.ต. สมศกั ด์ิ แขวงโสภา รอง ผบช.ตชด.

๓. พล.ต.ต. ฉัตรพล คคั โนภาส รอง ผบช.ตชด.

๔. พล.ต.ต. บวร สงคศริ ิ รอง ผบช.ตชด.

๕. พล.ต.ต. ถาวร จันทร์ย้มิ รอง ผบช.ตชด.

๖. พล.ต.ต. วรพจน์ อนิ ทเส รอง ผบช.ตชด.

๗. พล.ต.ต. ธรี ะเดช รอดโพธ์ทิ อง รอง ผบช.ตชด.

๘. พล.ต.ต. นิพนธ์ ศริ ิวงศ์ รอง ผบช.ตชด.

๙. พล.ต.ต. เธยี รชยั เอ่ยี มรักษา รอง ผบช.ตชด.

๑๐. พล.ต.ต. ดเิ รก พงษภ์ มร รอง ผบช.ตชด.

๑๑. พล.ต.ต. นพรัตน์ มปี รีชา ผบก.อก.ตชด.

๑๒. พล.ต.ต. สทุ นิ เขยี วรัตน์ ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๓. พล.ต.อ. เฉลิมชยั พิมลศรี รอง ผบก.อก.ตชด.

๑๔. พ.ต.อ. ธารง สาริกลั ยะ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๕. พ.ต.อ. ชัยธชั ยอดอานนท์ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๖. พ.ต.อ. ยุทธนา ตุงคะเสน รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๗. พ.ต.อ. โกสนิ ทร์ เทยี มทศั น์ รอง ผบก.ตชด.ภาค ๒

๑๘. พ.ต.อ. เอนก ณ นคร ผกก.๕ บก.อก.ตชด.

๑๙. พ.ต.อ. โชติ ไทยย่งิ ผกก.ตชด.๒๑

๒๐. พ.ต.อ. ปรีชา บุญสขุ ผกก.ตชด.๒๓

๒๑. พ.ต.ท. ประจวบ จรูญธรรม รอง ผกก.ตชด.๒๓

๒๒. พ.ต.ท. คูณ โคตาสตู ร รอง ผกก.๕ บก.อก.ตชด.

๒๓. พ.ต.ท. บวร มทุ ขอนแกน่ ผบ.ร้อย(สบ.๒)ร้อย ตชด.๒๓๒

๒๔. พ.ต.ท. ปราโมทย์ ตระกูลโชคเสถียร สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓

๒๕. พ.ต.ต. นรินทร์ เกษกาญจนานุช อดตี สว.ผ.๕ กก.ตชด.๒๓

๒๖. พ.ต.ท. หญิง อมั พร โอฬารสกุล สว.ผ.๒ กก.๕ บก.อก.ตชด.

๒๗. ร.ต.อ. หญิง เสาวนยี ์ เรืองสภุ าชาติ รอง สว.ผ.๒ กก.๕ บก.อก.ตชด.

๒๘. อาจารย์ กติ ติ ขันธมิตร สานักงานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตน

(๒๓)

๒๙. อาจารย์ อภิสทิ ธ์ิ พ่ึงพร ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสท.)
สานกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตน
ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสท.)

คณะที่ปรึกษา สถาบนั ราชภฏั สกลนคร

๑. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา สวุ รรณไตรย์ อธกิ ารบดี

๒. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ นิพนธ์ อนิ สนิ อดตี อธกิ ารบดี

๓. นายพิศิษฐ์ แสงวงศ์ รองอธกิ ารบดฝี ่ ายกจิ การพิเศษ

๔. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สเุ ทพ การุณยล์ ัญจกร คณบดีคณะครศุ าสตร์

คณะกรรมการดาเนนิ งาน

๑. นายคมสนั อุดมสารเสวี หัวหน้าคณะกรรมการดาเนนิ งาน
๒. นางลดั ดา พนัสนอก กรรมการ
๓. นางสาวสายใจ มาลัยกรอง กรรมการ
๔. นายยงยศ วงศ์แพงสอน กรรมการ
๕. ดร.ปัญญา นาแพงหม่นื กรรมการ
๖. ร.ต.อ. มานะ ดรเถ่อื น กรรมการ
๗. ร.ต.อ. เชดิ ชูพงศ์ วงศรียา กรรมการ
๘. ด.ต. ธนากร คฒั มาตร กรรมการ
๙. นางลดั ดาศรี อุดมสารเสวี กรรมการและเลขานุการ
๑๐. ส.ต.ต.หญงิ ปาริชาติ บัวรอด กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ
๑๑. นางสาวอจั ฉรา ประมาพันธ์ กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ


Click to View FlipBook Version