The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ E-BOOK

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saen_sak, 2021-11-11 01:33:37

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ E-BOOK

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ E-BOOK

กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านออนไลน์ E-BOOK
วนั ลอยกระทง

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอเวียงเชียงรงุ้ จงั หวดั เชียงราย

วันลอยกระทง 2564 (Loy Krathong Festival)

ลอยกระทง เป็นพิธีอยา่ งหนงึ่ ท่ีมกั จะทากนั ในคืนวนั เพ็ญ เดอื น
12 หรือวนั ขนึ ้ 15 คา่ เดือน 12 อนั เป็นวนั พระจนั ทร์เตม็ ดวง และ
เป็นช่วงท่ีนา้ หลากเต็มตลิ่ง โดยจะมกี ารนาดอกไม้ ธปู เทียนหรือ
ส่ิงของใสล่ งในสง่ิ ประดิษฐ์รูปตา่ งๆ ที่ไมจ่ มนา้ เชน่ กระทง เรือ
แพ ดอกบวั ฯลฯ แล้วนาไปลอยตามลานา้ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์
และความเชื่อตา่ งๆ กนั ในปี นี ้วนั ลอยกระทง ตรงกบั วนั ศุกร์ท่ี
19 พฤศจกิ ายน 2564

ทาไมถงึ ลอยกระทง

การลอยกระทง เป็นประเพณีทมี่ ีมาแตโ่ บราณ แตไ่ มป่ รากฏ
หลกั ฐานแนช่ ดั วา่ ปฏิบตั ิกนั มาแตเ่ ม่ือไร เพยี งแตท่ ้องถ่ินแตล่ ะ
แหง่ ก็จะมีจดุ ประสงค์และความเชื่อในการลอยกระทงแตกตา่ ง
กนั ไป เช่น ในเรื่องเกี่ยวกบั พระพทุ ธศาสนา กจ็ ะเป็นการบชู าพระ
เกศแก้วจฬุ ามณีบนสวรรค์ชนั้ ดาวดงึ ส์, เป็นบชู ารอยพระพทุ ธบาท
ณ หาดทรายริมฝั่งแมน่ า้ นมั มทา ซงึ่ ปัจจบุ นั คือแมน่ า้ เนรพทุ ทาใน
อนิ เดีย หรือต้อนรับพระพทุ ธเจ้า ในวนั เสด็จกลบั จากเทวโลก เม่ือ
ครัง้ ไปโปรดพระพทุ ธมารดา

ทาไมกระทงส่วนใหญ่เป็ นรูปดอกบัว
ในหนงั สอื ตารับท้าวศรีจฬุ าลกั ษณ์ หรือตานานนางนพมาศ ซง่ึ เป็ นพระสนมเอก ของ
พระมหาธรรมราชาลไิ ทยหรือพระร่วง แหง่ กรุงสโุ ขทยั ได้กลา่ วถงึ วนั เพญ็ เดือนสบิ สอง
วา่ เป็นเวลาเสดจ็ ประพาสลานา้ ตามพระราชพิธีในเวลากลางคนื และได้มีรับสง่ั ให้
บรรดาพระสนมนางในทงั้ หลาย ตกแตง่ กระทงประดบั ดอกไม้ธูปเทียน นาไปลอย
นา้ หน้าพระท่ีนง่ั ในคราวนนั้ ท้าวศรีจฬุ าลกั ษณ์ หรือนางนพมาศพระสนมเอก ก็ได้คดิ
ประดิษฐ์กระทงเป็นรูปดอกบวั กมทุ ขนึ ้ ด้วยเหน็ วา่ เป็นดอกบวั พิเศษ ที่บานในเวลา
กลางคืนเพียงปี ละครัง้ ในวนั ดงั กลา่ ว สมควรทาเป็นกระทงแตง่ ประทีป ลอยไปถวาย
สกั การะรอยพระพทุ ธบาท ซง่ึ เมื่อพระร่วงเจ้าได้ทอดพระเนตรเหน็ ก็รับสงั่ ถามถงึ
ความหมาย นางกไ็ ด้ทลู อธิบายจนเป็นท่พี อพระราชหฤทยั พระองค์จงึ มีพระราชดารัส
วา่ "แต่นีส้ ืบไปเบอื้ งหน้าโดยลาดบั กษัตริย์ในสยามประเทศ ถงึ กาลกาหนด

นักขัตฤกษ์ วันเพญ็ เดือน 12 ให้นาโคมลอยเป็ นรูปดอกบวั อุทศิ สักการบูชา
พระพุทธบาทนัมมทานที ตราบเท่ากัลปาวสาน" ด้วยเหตนุ ี ้เราจงึ เหน็ โคมลอยรูป
ดอกบวั ปรากฏมาจนปัจจบุ นั

เร่ืองแรก ว่ากันว่าการลอยกระทง มีต้นกาเนิดมาจากศาสนาพทุ ธน่ันเอง
กลา่ วคือก่อนท่ีพระพทุ ธองค์จะตรัสรู้ เป็นสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ได้ประทบั อยู่
ใต้ต้นโพธิ์ ใกล้แมน่ า้ เนรัญชรา กาลวนั หนงึ่ นางสชุ าดาอบุ าสกิ าได้ให้สาวใช้นาข้าว
มธุปายาส (ข้าวกวนหงุ ด้วยนา้ ผงึ ้ หรือนา้ อ้อย) ใสถ่ าดทองไปถวาย เม่ือพระองค์เสวย
หมดแล้ว กท็ รงตงั้ สตั ยาธิษฐานวา่ ถ้าหากวนั ใดจะสาเร็จเป็นพระพทุ ธเจ้า กข็ อให้
ถาดลอยทวนนา้ ด้วยแรงสตั ยาธิษฐาน และบญุ ญาภนิ หิ าร ถาดก็ลอยทวนนา้ ไป
จนถงึ สะดือทะเล แล้วก็จมไปถกู ขนดหางพระยานาคผ้รู ักษาบาดาล
พระยานาคต่ืนขนึ ้ พอเห็นว่าเป็นอะไร ก็ประกาศก้องวา่ บดั นีไ้ ด้มีพระสมั มาสมั พทุ ธ
เจ้า อบุ ตั ขิ นึ ้ ในโลกอีกองค์แล้ว ครัน้ แล้วเทพยดาทงั้ หลายและพระยานาค กพ็ ากนั ไป
เข้าเฝ้ าพระพทุ ธเจ้า และพระยานาคกไ็ ด้ขอให้พระพทุ ธองค์ ประทบั รอยพระบาทไว้
บนฝ่ังแมน่ า้ เนรัญชรา เพื่อพวกเขาจะได้ขนึ ้ มาถวายสกั การะได้ พระองค์กท็ รงทาตาม
สว่ นสาวใช้กน็ าความไปบอกนางสชุ าดา ครัน้ ถงึ วนั นนั้ ของทกุ ปี นางสชุ าดาก็จะนา
เครื่องหอม และดอกไม้ใสถ่ าดไปลอยนา้ เพ่ือไปนมสั การรอยพระพทุ ธบาทเป็น
ประจาเสมอมา และตอ่ ๆ มาก็ได้กลายเป็นประเพณีลอยกระทง ตามทเ่ี หน็ กนั อย่ใู น
ปัจจบุ นั

ในเรื่องการประทบั รอยพระบาทนี ้บางแหง่ กว็ า่ พญานาคได้ทลู อาราธนา
พระพทุ ธเจ้า ไปแสดงธรรมเทศนาในนาคพิภพ เม่อื จะเสดจ็ กลบั พญานาคได้ทลู
ขออนสุ าวรีย์จากพระองค์ไว้บชู า พระพทุ ธองค์จงึ ได้ทรงอธิษฐาน ประทบั รอยพระ
บาทไว้ท่ีหาดทรายแมน่ า้ นมั มทา และพวกนาคทงั้ หลาย จงึ พากนั บชู ารอยพระ
พทุ ธบาทแทนพระองค์ ตอ่ มาชาวพทุ ธได้ทราบเร่ืองนี ้จงึ ได้ทาการบชู ารอยพระ
บาทสืบต่อกนั มา โดยนาเอาเครื่องสกั การะใสก่ ระทงลอยนา้ ไป สว่ นท่ีวา่ ลอย
กระทงในวนั เพญ็ เดือน 11 หรือวนั ออกพรรษา เพ่ือเฉลมิ ฉลองวนั คล้ายวนั ที่
พระพทุ ธเจ้า เสดจ็ กลบั มาสโู่ ลกมนษุ ย์ หลงั การจาพรรษา 3 เดือน ณ สวรรค์ชนั้
ดาวดงึ ส์เพื่อแสดงอภธิ รรมโปรดพทุ ธมารดานนั้ ก็ด้วยวนั ดงั กลา่ ว เหลา่ ทวยเทพ
และพทุ ธบริษัท พากนั มารับเสด็จนบั ไมถ่ ้วน พร้อมด้วยเครื่องสกั การบชู า และเป็น
วนั ท่ีพระพทุ ธองค์ได้เปิ ดให้ประชาชนได้เหน็ สวรรค์ และนรกด้วยฤทธิ์ของพระองค์
คนจงึ พากนั ลอยกระทง เพื่อเฉลมิ ฉลองรับเสดจ็ พระพทุ ธเจ้า

เร่ืองท่ีสอง ตามตาราพรหมณ์คณาจารย์กล่าวว่า
พิธีลอยประทีปหรือตามประทีปนี ้แตเ่ ดมิ เป็นพิธีทางศาสนาพราหมณ์ ทาขนึ ้ เพ่ือ
บชู าเทพเจ้าทงั้ สามคือ พระอศิ วร พระนารายณ์และพระพรหม เป็นประเภทคกู่ บั
ลอยกระทง ก่อนจะลอยกต็ ้องมีการตามประทีปก่อน ซง่ึ ตามคมั ภีร์โบราณอินเดีย

เรียกวา่ “ทปี าวลี” โดยกาหนดทางโหราศาสตร์วา่ เมื่อพระอาทติ ย์ถงึ ราศีพิจิก
พระจนั ทร์อยรู่ าศีพฤกษ์เม่ือใด เมื่อนนั้ เป็นเวลาตามประทีป และเมื่อบชู าไว้ครบ
กาหนดวนั แล้ว ก็เอาโคมไฟนนั้ ไปลอยนา้ เสีย ตอ่ มาชาวพทุ ธเหน็ เป็นเรื่องดี จึงแปลง
เป็นการบชู ารอยพระพทุ ธบาท และการรับเสดจ็ พระพทุ ธเจ้า ดงั ท่ีกลา่ วมาข้างต้น
โดยมกั ถือเอาเดือน 12 หรือเดือนย่ีเป็งเป็นเกณฑ์ (ย่ีเป็งคือเดือนสอง ตามการนบั
ทางล้านนา ท่ีนบั เดือนทางจนั ทรคติ เร็วกวา่ ภาคกลาง 2 เดือน)

เร่ืองท่ีสาม เป็ นเร่ืองของพม่า
เลา่ วา่ ครัง้ หนงึ่ ในสมยั พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงมีพระประสงค์จะสร้างเจดีย์ให้
ครบ 84,000 องค์ แตถ่ กู พระยามารคอยขดั ขวางเสมอ พระองค์จงึ ไปขอให้พระ
อรหนั ต์องค์หนงึ่ คือ พระอปุ คตุ ช่วยเหลอื พระอปุ คตุ จงึ ไปขอร้องพระยานาคเมือง

บาดาลให้ช่วย พระยานาครับปาก และปราบพระยามารจนสาเร็จ พระเจ้าอโศก
มหาราช จงึ สร้างเจดีย์ได้สาเร็จสมพระประสงค์ ตงั้ แตน่ นั้ มา เมื่อถงึ วนั เพญ็ เดือน
12 คนทงั้ หลายก็จะทาพธิ ีลอยกระทง เพื่อบชู าคณุ พระยานาค เร่ืองนี ้บางแหง่ กว็ ่า
พระยานาค ก็คือพระอปุ คตุ ท่อี ยทู่ ี่สะดือทะเล และมีอิทธิฤทธ์ิมาก จงึ ปราบมารได้
และพระอปุ คตุ นี ้เป็นท่ีนบั ถือของชาวพมา่ และชาวพายพั ของไทยมาก

เร่ืองท่ีส่ี เกดิ จากความเช่ือแต่ครัง้ โบราณในล้านนาว่า
เกิดอหิวาต์ระบาด ที่อาณาจกั รหริภญุ ชยั ทาให้คนล้มตายเป็นจานวนมาก พวกที่
ไมต่ ายจงึ อพยพไปอยเู่ มืองสะเทมิ และหงสาวดีเป็นเวลา 6 ปี บางคนก็มีครอบครัว
อยทู่ ี่นนั่ ครัน้ เมื่ออหิวาต์ได้สงบลงแล้ว บางสว่ นจงึ อพยพกลบั และเม่ือถงึ วนั
ครบรอบที่ได้อพยพไป กไ็ ด้จดั ธปู เทียนสกั การะ พร้อมเครื่องอปุ โภคบริโภคดงั กลา่ ว

ใส่ สะเพา ( อา่ นวา่ “ สะ - เปา หมายถงึ สาเภาหรือกระทง ) ลอ่ งตามลานา้ เพื่อ
ระลกึ ถึงญาติท่ีมีอยใู่ นเมืองหงสาวดี ซง่ึ การลอยกระทงดงั กลา่ ว จะทาในวนั ย่ีเพง
คือ เพญ็ เดือนสบิ สอง เรียกกนั วา่ การลอยโขมด แตม่ ิได้ทาทว่ั ไปในล้านนา สว่ น
ใหญ่เทศกาลย่ีเพงนี ้ชาวล้านนาจะมพี ิธีตงั้ ธมั ม์หลวง หรือการเทศน์คมั ภีร์ขนาด
ยาวอยา่ งเทศน์มหาชาติ และมีการจดุ ประทีปโคมไฟอยา่ งกว้างขวางมากกวา่ (การ
ลอยกระทง ที่ทางโบราณล้านนาเรียกวา่ ลอยโขมดนี ้คาวา่ “ โขมด อา่ นวา่ ขะ-
โหมด เป็นชื่อผีป่ า ชอบออกหากินกลางคืน และมีไฟพะเหนียงเหน็ เป็นระยะๆ
คล้ายผีกระสือ ดงั นนั้ จงึ เรียกเอาตามลกั ษณะกระทง ที่จดุ เทียนลอยในนา้ เหน็ เงา
สะท้อนวบั ๆ แวมๆ คล้ายผีโขมดวา่ ลอยโขมด ดงั กลา่ ว)

เร่ืองท่ีห้า กล่าวกนั ว่าในประเทศจีนสมัยก่อน
ทางตอนเหนือ เมื่อถงึ หน้านา้ นา้ จะทว่ มเสมอ บางปี นา้ ทว่ มจนชาวบ้านตายนบั เป็น
แสนๆ และหาศพไมไ่ ด้กม็ ี ราษฎรจงึ จดั กระทงใสอ่ าหารลอยนา้ ไป เพื่อเซน่ ไหว้ผี
เหลา่ นนั้ เป็นงานประจาปี สว่ นท่ีลอยในตอนกลางคืน ทา่ นสนั นิษฐานวา่ อาจจะ
ต้องการความขรึม และขมกุ ขมวั ให้เหน็ ขลงั เพราะเป็นเรื่องเก่ียวกบั ผีๆสางๆ และผีก็
ไมช่ อบปรากฏตวั ในตอนกลางวนั การจดุ เทียนก็เพราะหนทางไปเมืองผีมนั มืด จงึ
ต้องจดุ ให้แสงสวา่ ง เพื่อให้ผีกลบั ไปสะดวก ในภาษาจีนเรียกการลอยกระทงวา่
ปลอ่ ยโคมนา้ (ป่ังจ๊ยุ เตง็ ) ซงึ่ ตรงกบั ของไทยวา่ ลอยโคม จากเรื่องข้างต้น เราจะเหน็
ได้วา่ การลอยกระทง สว่ นใหญ่จะเป็นการแสดงความกตญั ญู ระลกึ ถงึ ผ้มู ีพระคณุ ตอ่
มนษุ ย์ เชน่ พระพทุ ธเจ้า เทพเจ้า พระแมค่ งคา และบรรพชน เป็ นต้น และแสดงความ
กตเวที (ตอบแทนคณุ ) ด้วยการเคารพบชู าด้วยเคร่ืองสกั การะตา่ งๆ โดยเฉพาะการ
บชู าพระพทุ ธเจ้า หรือรอยพระพทุ ธบาท ถือได้วา่ เป็นคติธรรมอยา่ งหนง่ึ ท่ีบอกเป็ น
นยั ให้พทุ ธศาสนิกชน ได้เจริญรอยตามพระบาทของพระพทุ ธองค์ ซง่ึ เป็นสญั ลกั ษณ์
แหง่ ความดีงามทงั้ ปวงนนั่ เอง


Click to View FlipBook Version