The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

15. หน่วยต้นไม้ที่รัก อนุบาล3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อมรรัตน์, 2022-05-13 08:35:32

15. หน่วยต้นไม้ที่รัก อนุบาล3

15. หน่วยต้นไม้ที่รัก อนุบาล3

การวิเคราะหโ์ ครงสร้างหนว่ ยการจัดประสบการณต์ ามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560
หน่วยที่ 15 ตน้ ไม้ท่รี ัก ชั้น อนบุ าลปีที่ 1 - 3 ภาคเรยี นที่ 1

รายการ อนุบาลปที ี่ 1 อนุบาลปที ี่ 2 อนุบาลปีท่ี 3
สาระที่ควรเรยี นรู้
1. ส่วนประกอบของต้นไม้ 1. ช่อื และสว่ นประกอบของต้นไม้ 1. ชื่อและลกั ษณะของต้นไม้
มาตรฐาน 2. ลกั ษณะส่วนประกอบของตน้ ไม้ 2. รูปรา่ งและลักษณะของใบไม้ 2. การจาแนกประเภทของต้นไม้
ตัวบง่ ชี 3. การเจริญเตบิ โตของต้นไม้ 3. การปลูกต้นไม้ การดแู ลต้นไม้ (ไม้ดอก ไม้ผล ไม้ใบ)
สภาพที่พงึ ประสงค์ 4. ประโยชน์ของต้นไม้ 4. ประโยชนข์ องต้นไม้ 3. การทดลองการดูดนาของราก
5. การดแู ลต้นไม้ 5. การประกอบอาหารจากพืช และหนา้ ท่ขี องราก
4. การบารงุ ดูแลรกั ษาตน้ ไม้
5. โทษของการทาลายป่า

มฐ 1 ตบช. 1.3 (1.3.1) มฐ 1 ตบช. 1.3 (1.3.1) มฐ 1 ตบช. 1.3 (1.3.1)
มฐ 2 ตบช. 2.1 (2.1.4) มฐ 2 ตบช. 2.1 (2.1.4), มฐ 2 ตบช. 2.1 (2.1.4)

ตบช. 2.2 (2.2.1) ตบช. 2.2 (2.2.1) ตบช. 2.2 (2.2.1)
มฐ 4 ตบช. 4.1 (4.1.1) (4.1.3) มฐ 4 ตบช. 4.1 (4.1.1) (4.1.3) มฐ 4 ตบช. 4.1 (4.1.1) (4.1.3)
มฐ 7 ตบช. 7.1 (7.1.1) มฐ 7 ตบช. 7.1 (7.1.1) มฐ 7 ตบช. 7.1 (7.1.1)
มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1) มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1) มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1)
มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1) มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1) มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1)
มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1)
(10.1.2) ตบช. 9.2 (9.2.1)
(10.1.2) (10.1.3) มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1)
(10.1.4)
มฐ 12 ตบช. 12.2 (12.2.1) (10.1.2) (10.1.3)
(10.1.4)
มฐ 12 ตบช. 12.2 (12.2.1)

รายการ อนุบาลปที ่ี 1 อนบุ าลปีท่ี 2 อนุบาลปที ่ี 3
ประสบการณส์ าคัญ รา่ งกาย ร่างกาย
รา่ งกาย 1.1.1 การใช้กลา้ มเนือใหญ่ 1.1.1 การใช้กลา้ มเนือใหญ่
1.1.1 การใช้กล้ามเนือใหญ่ (2) การเคลื่อนไหวเคล่ือนท่ี (2) การเคลื่อนไหวเคล่ือนที่
(1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ (3) การเคล่ือนไหวพรอ้ มอุปกรณ์ (3) การเคลื่อนไหวพรอ้ มอุปกรณ์
(2) การเคล่ือนไหวเคลื่อนท่ี (4) การเคลื่อนไหวท่ีใชป้ ระสานสัมพนั ธ์ (5) การเลน่ เครื่องเล่นสนามอยา่ งอสิ ระ
(4) การเคล่ือนไหวท่ีใช้การประสาน ของการใชก้ ลา้ มเนอื ใหญ่ในการรบั บอล 1.1.2 การใชก้ ลา้ มเนือเล็ก
สมั พนั ธข์ องการใช้กล้ามเนือใหญ่ (5) การเล่นเครื่องเลน่ สนามอยา่ งอสิ ระ (1) การเล่นเครื่องเล่นสมั ผสั และ
ในการกลงิ บอล การโยนบอล 1.1.2 การใชก้ ล้ามเนือเลก็ การสร้างจากแทง่ ไม้ บล็อก
(5) การเล่นเคร่ืองเลน่ สนามอยา่ งอิสระ (1) การเล่นเครอ่ื งเลน่ สมั ผัสและ (2) การเขยี นภาพและการเล่นกับสี
1.1.2 การใช้กลา้ มเนือเล็ก การสรา้ งจากแทง่ ไม้ บลอ็ ก (3) การปน้ั
(1)การเลน่ เครื่องเลน่ สัมผัสและการสรา้ ง (2) การเขยี นภาพและการเล่นกับสี (4) การประดษิ ฐส์ งิ่ ตา่ งๆ ด้วยเศษวสั ดุ
จากแท่งไม้ บล็อก (3) การป้ัน (5) การหยบิ จบั การใชก้ รรไกร การฉีก
(2) การเขยี นภาพและการเล่นกับสี (5) การหยิบจับ การใชก้ รรไกร การตดั การตดั การปะ และการร้อยวัสดุ
(3) การปัน้ การปะ และการร้อยวสั ดุ 1.1.5 การตระหนักรู้เก่ียวกับร่างกาย
(5) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การตัด 1.1.5 การตระหนกั รู้เก่ียวกับร่างกาย ตนเอง
การปะ ตนเอง (1) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไป
1.1.5 การตระหนักรู้เกย่ี วกับรา่ งกาย (1) การเคล่ือนไหวโดยควบคุมตนเองไป ในทศิ ทาง ระดบั และพืนที่
ตนเอง ในทศิ ทาง ระดับและพนื ท่ี
(1) การเคล่อื นไหวโดยควบคุมตนเองไป อารมณ์
ในทศิ ทาง ระดับและพนื ที่ อารมณ์ 1.2.1 สนุ ทรียภาพ ดนตรี
อารมณ์ 1.2.1 สนุ ทรียภาพ ดนตรี (3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
1.2.1 สนุ ทรียภาพ ดนตรี (3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (4) การเล่นบทบาทสมมติ
(3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (4) การเล่นบทบาทสมมติ (5) การทากิจกรรมศลิ ปะต่าง ๆ
(5) การทากิจกรรมศลิ ปะต่างๆ (5) การทากจิ กรรมศลิ ปะต่างๆ 1.2.2 การเล่น
1.2.2 การเล่น 1.2.2 การเลน่
(2) การเลน่ รายบุคคล กล่มุ ย่อยและกลมุ่

รายการ อนบุ าลปที ี่ 1 อนบุ าลปีท่ี 2 อนบุ าลปที ่ี 3
(2) การเล่นรายบคุ คล กลมุ่ ย่อย
ใหญ่ (2) การเล่นรายบุคคล กลมุ่ ย่อย กลุม่ ใหญ่
(3) การเลน่ ตามมุมประสบการณ์ กล่มุ ใหญ่ (3) การเล่นตามมมุ ประสบการณ์
1.2.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ (3) การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์
(4) การร้องเพลง (4) การเล่นนอกห้องเรียน สงั คม
สังคม สังคม 1.3.2 การดูแลรักษาธรรมชาติและ
1.3.2 การดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละ 1.3.2 การดแู ลรกั ษาธรรมชาตแิ ละ สิง่ แวดล้อม
สิ่งแวดล้อม สงิ่ แวดล้อม (1) การมีสว่ นรว่ มรบั ผิดชอบดแู ลรักษา
(1) การมีส่วนรว่ มรบั ผดิ ชอบดูแลรักษา (4) การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้ ส่ิงแวดล้อมทังภายในและภายนอก
สง่ิ แวดล้อมทงั ภายในและภายนอก 1.3.5 การเล่นและทางานแบบร่วมมือ หอ้ งเรียน
หอ้ งเรยี น รว่ มใจ (4) การเพาะปลูกและดูแลตน้ ไม้
(4) การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้ (3) การทาศิลปะแบบร่วมมือ 1.3.5 การเล่นและทางานแบบรว่ มมอื
ร่วมใจ
สตปิ ญั ญา สติปญั ญา (3) การทาศลิ ปะแบบรว่ มมือ
สติปัญญา
1.4.1 การใชภ้ าษา 1.4.1 การใช้ภาษา 1.4.1 การใช้ภาษา
(3) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง
(3) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง (3) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง . บทร้อยกรองหรือเร่อื งราวต่างๆ
(4) การพูดแสดงความคิด ความรสู้ กึ และ
หรอื เรอ่ื งราวต่างๆ หรอื เรื่องราวต่างๆ ความต้องการ
(5) การพดู กบั ผู้อืน่ เกีย่ วกบั ประสบการณ์
(4) การพูดแสดงความคิด ความรู้สึกและ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิง ของตนเอง หรือพูดเลา่ เร่ืองราวเก่ียวกบั
ตนเอง
ความต้องการ เหตุผล การตัดสินใจและแกป้ ัญหา (8) การรอจงั หวะทเ่ี หมาะสมในการพูด
(14) การอา่ นและชขี ้อความ โดยกวาด
1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชงิ (1) การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ

เหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา ของสง่ิ ต่างๆ โดยใชป้ ระสาทสัมผสั อยา่ ง

(1) การสงั เกตลกั ษณะ สว่ นประกอบ เหมาะสม

ของสง่ิ ตา่ งๆโดยใช้ประสาทสัมผสั อย่าง (2) การสังเกตสง่ิ ตา่ งๆและสถานทีจ่ าก

เหมาะสม มุมมองทตี่ ่างกนั

รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปที ่ี 2 อนบุ าลปที ี่ 3
คณิตศาสตร์ (6) การต่อของชนิ เล็กเตมิ ในชินใหญ่ (8) การนบั และแสดงจานวนของส่ิงต่างๆ
ใหส้ มบรู ณแ์ ละการแยกชินสว่ น ในชีวติ ประจาวัน สายตาตามบรรทัดจากซ้ายไปขวา จาก
(8) การนับและแสดงจานวนสงิ่ ตา่ งๆ (13) การจับคู่ การเปรยี บเทียบและการ บนลงล่าง
ในชวี ิตประจาวนั เรียงลาดับสิ่งต่างๆ ตามลักษณะความ (18) การเลน่ เกมทางภาษา
(13) การจับคู่ ตามลักษณะ รูปร่าง และ ยาว/ความสูง นาหนกั ปรมิ าตร 1.4.2 การคดิ รวบยอด การคิดเชิง
จานวน (14) การบอกและเรียงลาดบั กจิ กรรม เหตผุ ล การตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหา
หรอื เหตุการณ์ตามช่วงเวลา (1) การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ
1. การนับปากเปลา่ 1 - 5 1.4.4 เจตคตทิ ีด่ ตี ่อการเรียนร้แู ละการ การเปล่ยี นแปลง และความสัมพันธ์ของ
2. นบั และแสดงจานวน 1 - 2 แสวงหาความรู้ ส่ิงต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอยา่ ง
(1) การสารวจสง่ิ ต่างๆ และแหลง่ เรียนรู้ เหมาะสม
รอบตัว (9) การเปรียบเทยี บและเรียงลาดบั
จานวนของสงิ่ ตา่ งๆ
1. การเปรยี บเทยี บจานวน มาก - นอ้ ย (14) การบอกและเรียงลาดบั กิจกรรม
2. ตาแหน่ง บน - ล่าง หรอื เหตุการณต์ ามช่วงเวลา
3. การนบั ปากเปล่า 1 - 10 1.4.4 เจตคติท่ดี ตี ่อการเรยี นรูแ้ ละการ
4. นับและแสดงจานวน 1 - 5 แสวงหาความรู้
(1) การสารวจส่ิงตา่ งๆ และแหล่งเรยี นรู้
รอบตัว
(4) การมีสว่ นรว่ มในการรวบรวมข้อมูล
จากการสืบเสาะหาความรูใ้ นรูปแบบ
ตา่ งๆ และแผนภมู ิอยา่ งง่าย

1. การเปรยี บเทียบจานวน มาก - น้อย
2. ตาแหน่ง บน-กลาง-ลา่ ง
3. ทิศทาง ซ้าย - ขวา
4. การนบั ปากเปล่า 1 - 20
5. นบั และแสดงจานวน 1 - 9

รายการ อนุบาลปที ี่ 1 อนบุ าลปที ่ี 2 อนุบาลปีที่ 3
วิทยาศาสตร์ - ทกั ษะการสงั เกต - ทกั ษะการสงั เกต
1. ทกั ษะการสังเกต
การพฒั นาทางภาษาและการรู้ 2. อธิบายเชอื่ มโยงสาเหตแุ ละผลที่
หนังสือ เกิดขนึ ในเหตุการณห์ รือการกระทา

1. การฟังและปฏิบัติตามคาสั่ง 1. การฟังและปฏิบัติตามคาส่ัง 1. การฟงั และปฏิบัตติ ามคาสั่ง

2. การฟังเพลง นทิ าน คาคล้องจอง หรอื คาแนะนา คาแนะนา

เรือ่ งราวตา่ งๆ 2. การฟงั เพลง นทิ าน คาคล้องจอง หรือ 2. การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง

3. การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สกึ เรื่องราวต่างๆ บทรอ้ ยกรองหรือเรอื่ งราวต่างๆ

และความต้องการ 3. การพูดแสดงความคดิ เหน็ ความรูส้ ึก 3. การพดู แสดงความคดิ เห็น ความรู้สกึ

และความต้องการ และความต้องการ

4. การพดู อธบิ ายเกยี่ วกับสิง่ ของ 4. การพูดอธบิ ายเก่ยี วกับส่งิ ของ

เหตุการณ์ และความสมั พนั ธ์ของสงิ่ ตา่ งๆ เหตกุ ารณ์ และความสัมพันธ์ของสง่ิ ต่างๆ

หนว่ ยการจัดประสบการณ์ที่ 15 ต้นไม้ทรี่ กั ช้ันอนบุ าลปีที่ 3

แนวคดิ
ป่าไม้เปน็ พนื ทท่ี ี่มตี ้นไมใ้ หญ่และพืชเลก็ ๆ ต้นไม้แต่ละชนดิ มีลกั ษณะและธรรมชาติตา่ งกัน ประกอบดว้ ย ราก ลาตน้ กิ่ง ก้าน ดอก ใบ และผล ซง่ึ มีหนา้ ท่ตี า่ งกัน

ป่าไม้มีหลายประเภท มีคุณค่าต่อโลกและสงิ่ มีชวี ติ มากมาย เป็นแหล่งกาเนิดแม่นาลาธารช่วยดดู ซบั นาฝนไม่ให้เกิดการพังทลายของหน้าดนิ และป้องกนั นาท่วมเป็นท่ีอยู่
ของสตั วป์ า่ ผู้คนได้อาศัยปา่ ในการดารงชีวติ จึงควรอนรุ กั ษ์ปา่ ไว้

มาตรฐาน มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี 1 ตวั บ่งช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ประสบการณส์ าคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู้

รา่ งกาย 1.3 รักษา 1.3.1 เล่น ทากิจกรรมและ 1. เล่น ทากจิ กรรมและปฏิบัตติ อ่ 1.1.1 การใชก้ ลา้ มเนือใหญ่ 1. ช่ือและลกั ษณะ
เจรญิ เตบิ โต
ความปลอดภัย ปฏบิ ัตติ ่อผอู้ นื่ อย่างปลอดภัย ผู้อื่นอย่างปลอดภยั (5) การเลน่ เครื่องเลน่ สนามอย่างอสิ ระ ของต้นไม้
ตามวยั และ
ของตนเองและ 1.1.2 การใช้กล้ามเนือเล็ก 2. การจาแนก
มสี ุขนสิ ยั ท่ีดี
ผ้อู นื่ (1) การเล่นเครอื่ งเลน่ สมั ผัสและการสร้าง ประเภทของตน้ ไม้

จากแทง่ ไม้ บล็อก (ไม้ดอก ไมผ้ ล ไม้ใบ)

1.1.5 การตระหนักร้เู กย่ี วกับร่างกาย 3. การทดลองการดูด

ตนเอง นาของราก และ

(1) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไป หนา้ ทขี่ องราก

ในทิศทาง ระดับและพนื ที่ 4. การบารงุ ดูแล

1.2.2 การเลน่ รกั ษาต้นไม้

(2) การเลน่ รายบุคคล กลุม่ ย่อย กลุม่ 5. โทษของการ

ใหญ่ ทาลายป่า

(3) การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์ 6. การเปรยี บเทียบ

จานวน มาก - นอ้ ย

7. ตาแหน่ง

บน-กลาง-ลา่ ง

8. ทิศทาง ซ้าย - ขวา

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ สาระทค่ี วรเรียนรู้
มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณ์สาคญั 9. การนับปากเปลา่
มาตรฐานท่ี 2 2. รับลกู บอลท่ีกระดอนขนึ จากพืน 1.1.1 การใชก้ ลา้ มเนือใหญ่ 1 - 20
กล้ามเนอื ใหญ่ 2.1 เคลอื่ นไหว 2.1.4 รบั ลูกบอลทีก่ ระดอน ได้ (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
และกล้ามเนือ 10. นบั และแสดง
เล็กแข็งแรง ร่างกายอย่าง ขนึ จากพืนได้ 1.1.5 การตระหนกั รูเ้ ก่ียวกบั รา่ งกาย
ใชไ้ ด้อยา่ ง จานวน 1 - 9
คล่องแคล่วและ คลอ่ งแคล่ว ตนเอง
ประสานสมั พันธ์ (1) การเคล่อื นไหวโดยควบคุมตนเองไป
กนั ประสาน
ในทศิ ทาง ระดับและพนื ที่
มาตรฐานที่ 4 สมั พันธ์และ
ชน่ื ชมและ
แสดงออกทาง ทรงตวั ได้
ศิลปะ ดนตรี
และการ 2.2 ใช้มือ-ตา 2.2.1 ใชก้ รรไกรตัดกระดาษ 3. ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนว 1.1.2 การใช้กล้ามเนือเลก็
เคล่อื นไหว ประสาน (5) การหยบิ จับ การใช้กรรไกร การฉกี
สัมพนั ธ์กนั ตามแนวเส้นโคง้ ได้ เส้นโค้งได้ การตัด การปะ และการรอ้ ยวัสดุ

4.1 สนใจมี 4.1.1 สนใจมีความสุขและ 4. สนใจมีความสขุ และแสดงออก 1.1.2 การใชก้ ลา้ มเนือเลก็
ความสุขและ แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ ผ่านงานศิลปะได้ (2) การเขยี นภาพและการเล่นกับสี
แสดงออกผา่ น (3) การปั้น
งานศิลปะ 4.1.3 สนใจ มีความสุขและ 5. สนใจ มคี วามสขุ และแสดง (4) การประดิษฐส์ ่ิงต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ
ดนตรี และ แสดงทา่ ทาง/เคลือ่ นไหว ทา่ ทาง / เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง 1.2.1 สนุ ทรียภาพ ดนตรี
การเคล่ือนไหว ประกอบเพลง จงั หวะและ จังหวะ และดนตรีได้ (3) การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
ดนตรี (4) การเลน่ บทบาทสมมติ
(5) การทากจิ กรรมศลิ ปะต่าง ๆ
1.1.1 การใช้กล้ามเนือใหญ่
(3)การเคล่ือนไหวพร้อมอปุ กรณ์
1.1.5 การตระหนักรูเ้ ก่ียวกบั รา่ งกาย
ตนเอง
(1) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไป

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สาระที่ควรเรยี นรู้
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณส์ าคัญ
ในทศิ ทาง ระดบั และพนื ท่ี
มาตรฐานท่ี 7 7.1 ดูแลรักษา 7.1.1 ดูแลรกั ษาธรรมชาติ 6. ดูแลรกั ษาธรรมชาติและ 1.3.2 การดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละ
รกั ธรรมชาติ ธรรมชาติและ และสง่ิ แวดลอ้ มด้วยตนเอง สง่ิ แวดลอ้ มดว้ ยตนเองได้ ส่งิ แวดลอ้ ม
สง่ิ แวดลอ้ ม สงิ่ แวดลอ้ ม (1) การมสี ่วนร่วมรบั ผดิ ชอบดแู ลรักษา
วัฒนธรรมและ สิ่งแวดล้อมทังภายในและภายนอก
ความเปน็ ไทย ห้องเรียน
(4) การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้
มาตรฐานท่ี 8 8.2 การมี 8.2.1 เล่นหรือทางาน 7. เล่นหรอื ทางานรว่ มกบั เพ่อื น 1.3.5 การเล่นและทางานแบบร่วมมอื
ร่วมใจ
อยรู่ ่วมกับผอู้ ืน่ ได้ ปฏสิ มั พนั ธ์ทีด่ ี ร่วมกับเพื่อนอย่างมี อยา่ งมีเป้าหมายได้ (3) การทาศิลปะแบบร่วมมือ

อยา่ งมีความสขุ กบั ผ้อู น่ื เปา้ หมาย 1.4.1 การใชภ้ าษา
(3) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บท
และปฏบิ ัตติ น ร้อยกรองหรือเร่ืองราวตา่ งๆ
(4) การพูดแสดงความคดิ ความรสู้ ึกและ
เป็นสมาชิกที่ดี ความตอ้ งการ
(5) การพูดกบั ผู้อ่ืนเกยี่ วกับประสบการณ์
ของสงั คมใน

ระบอบ

ประชาธิปไตย

อนั มี

พระมหากษัตริย์

เปน็ ประมุข

มาตรฐานที่ 9 9.1 สนทนาโต้ 9.1.1 ฟังผู้อน่ื พูดจนจบและ 8. ฟังผอู้ ่นื พดู จนจบและสนทนา

ใชภ้ าษาส่อื สาร ตอนและเล่า สนทนาโต้ตอบอย่างต่อเน่อื ง โตต้ อบอย่างต่อเน่ืองเชื่อมโยงกบั

ให้เหมาะสมกับ เรือ่ งใหผ้ อู้ ื่น เช่ือมโยงกบั เรื่องท่ีฟงั เรอ่ื งท่ีฟังได้

วยั เข้าใจ

มาตรฐาน มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ตวั บง่ ชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ประสบการณ์สาคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี 10 ของตนเอง หรอื พดู เล่าเรื่องราวเกย่ี วกับ
มคี วามสามารถ 9.2 อ่าน เขียน 9.2.1 อา่ นภาพ สัญลักษณ์ 9. อ่านคาด้วยการชหี รอื กวาดตา ตนเอง
ในการคดิ ท่เี ป็น ภาพและ คาด้วยการชีหรอื กวาดตา มองจดุ เริ่มตน้ และจุดจบของ (8) การรอจงั หวะทเ่ี หมาะสมในการพูด
พืนฐานในการ สัญลักษณ์ได้ มองจดุ เร่ิมตน้ และจุดจบของ ขอ้ ความได้ 1.4.1 การใชภ้ าษา
เรียนรู้ ข้อความ (14) การอา่ นและชขี ้อความ โดยกวาด
สายตาตามบรรทดั จากซ้ายไปขวา จาก
10.1 มี 10.1.1 บอกลักษณะ 10. บอกลักษณะการเปล่ยี นแปลง บนลงลา่ ง
ความสามารถ (18) การเล่นเกมทางภาษา
ในการคดิ รวบ ส่วนประกอบ การ ของส่ิงต่างๆ จากการสงั เกตโดยใช้ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ล
ยอด การตัดสินใจและแกป้ ัญหา
เปลยี่ นแปลงหรือ ประสาทสมั ผัสได้ (1) การสงั เกตลักษณะ
การเปลี่ยนแปลงของส่งิ ต่างๆ โดยใช้
ความสัมพันธข์ องสิง่ ต่างๆ ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม

จากการสงั เกตโดยใช้ 1.4.2 การคดิ รวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ล
การตดั สินใจและแกป้ ัญหา
ประสาทสัมผัส (8) การนบั และแสดงจานวน
(9) การเปรียบเทียบและเรียงลาดบั
10.1.2 จบั ค่แู ละ 11.จบั คแู่ ละเปรยี บเทยี บความ จานวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ
(13) การจบั คู่ การเปรียบเทียบและ
เปรียบเทียบความแตกต่าง แตกต่างและความเหมือนของ การเรียงลาดับสิ่งตา่ งๆตามลักษณะ
1.4.2 การคดิ รวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ล
และความเหมือนของส่งิ ตา่ งๆ สง่ิ ต่างๆ โดยใช้ลักษณะท่สี ังเกต การตดั สินใจและแก้ปัญหา
(5) การคัดแยก การจัดกลุ่มและการ
โดยใชล้ ักษณะท่ีสงั เกตพบ พบได้

2 ลักษณะขึนไป

10.1.3 จาแนกและจดั กล่มุ 12. จาแนกและจัดกลมุ่ สิ่งต่างๆ

ส่งิ ต่างๆโดยใชต้ งั แต่ โดยใชต้ ังแต่ 2 ลักษณะขนึ ไปเป็น

2 ลกั ษณะขึนไปเปน็ เกณฑ์ เกณฑ์ได้

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้
มาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
จาแนกสิง่ ต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง
10.1.4 เรียงลาดบั สิง่ ของ 13. เรยี งลาดบั ส่งิ ของหรือ รปู ทรง
หรือเหตุการณอ์ ยา่ งน้อย เหตุการณ์อย่างน้อย 5 ลาดับได้
5 ลาดับ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิง

เหตุผล การตดั สนิ ใจและแก้ปัญหา
(14) การบอกและเรียงลาดับกจิ กรรม

หรอื เหตุการณ์ตามช่วงเวลา

มาตรฐานที่ 12 12.2 มี 12.2.1 คน้ หาคาตอบของ 14. คน้ หาคาตอบของขอ้ สงสัย 1.4.4 เจตคตทิ ดี่ ีต่อการเรยี นร้แู ละการ
มเี จตคตทิ ่ีดีต่อ ความสามารถ ข้อสงสัยต่างๆ โดยใช้วิธกี าร ต่างๆ โดยใช้วิธกี ารท่หี ลากหลาย แสวงหาความรู้
การเรยี นรู้ และมี ในการแสวงหา ทหี่ ลากหลายดว้ ยตนเอง ด้วยตนเองได้ (1) การสารวจสิง่ ต่างๆ และแหล่งเรยี นรู้
ความสามารถใน ความรู้ รอบตัว
การแสดงหา (4) การมสี ่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูล
ความรไู้ ด้อย่าง จากการสืบเสาะหาความรใู้ นรูปแบบ
เหมาะสมกบั วัย ต่างๆ และแผนภูมิอย่างง่าย

การวางแผนกิจกรรมรายหน่วยการจดั ประสบการณ์
ชั้นอนบุ าลปที ี่ 3 หนว่ ยต้นไม้ที่รกั

วันท่ี เคลอื่ นไหวและจงั หวะ เสริมประสบการณ์ กิจกรรม เล่นตามมุม กลางแจ้ง เกมการศกึ ษา
ศิลปะสรา้ งสรรค์ - เกมรบั บอล - เกมสังเกต
1 - เคลื่อนไหวพนื ฐาน - ชื่อและลกั ษณะของตน้ ไม้ - วาดภาพสเี ทียน
- เล่นตามมมุ กระดอนจากพนื รายละเอียด

- เคลอ่ื นไหวประกอบ - ตดั กระดาษรปู ใบไม้ต่อเติม ประสบการณ์ ภาพต้นไม้

เพลงตน้ ไม้ ตามจนิ ตนาการ

2 - เคลือ่ นไหวพืนฐาน - การจาแนกประเภทของ - พิมพ์ภาพจากนวิ มือเป็น - เล่นตามมมุ - เลน่ เคร่อื งเลน่ - เกมพืนฐาน
สนาม การบวก 1 ถงึ 9
- เคลอ่ื นไหวตามคาสง่ั ต้นไม้ (ไมด้ อก ไม้ผล ไม้ใบ) รปู ต้นไม้ ประสบการณ์

- พบั สี
3 - เคลื่อนไหวพืนฐาน - การทดลองการดดู นาของ - ศิลปะแบบร่วมมือประดิษฐ์ - เลน่ ตามมุม
- เกมลิงชิง - เกมเรียงลาดับ

- เคลื่อนไหวประกอบ ราก และหน้าที่ของราก ตน้ ไมจ้ ากเศษวัสดุ ประสบการณ์ ลกู บอลกระดอน ภาพการเจรญิ เตบิ โต

คาบรรยาย จากพนื ของพืช

4 - เคลอ่ื นไหวพืนฐาน - การบารงุ ดแู ลรักษาต้นไม้ - ปั้นดินนามัน - เล่นตามมุม - เล่นนาเล่นทราย - เกมจับคู่ตน้ ไม้กบั
ประสบการณ์ ผลไม้
- เคลื่อนไหวประกอบ - เปา่ สี

อุปกรณ์

5 - เคลื่อนไหวพนื ฐาน - โทษของการทาลายป่า - โมบายรปู ใบไม้ - เล่นตามมมุ - มอญซ่อนใบไม้ - เกมจดั หมวดหมู่
- เคลอื่ นไหวประกอบ ประสบการณ์ ภาพกับสัญลักษณ์
เพลงต้นไม้ใหญ่

ผงั ความคดิ แผนการจดั ประสบการณ์หน่วย หน่วยตน้ ไม้ทร่ี กั ชั้นอนบุ าลปีท่ี 3

๑. กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ ๒. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ ๓. กิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์

1. เคล่อื นไหวประกอบเพลงต้นไม้ 1. ชอื่ และลกั ษณะของตน้ ไม้ 1. วาดภาพสเี ทียนและตัดกระดาษรปู ใบไม้ตอ่ เติม
2. เคลือ่ นไหวตามคาสง่ั 2. การจาแนกประเภทของต้นไม้ (ไม้ดอก ไม้ผล ไมใ้ บ) ตามจินตนาการ
3. เคลอ่ื นไหวประกอบคาบรรยาย 3. การทดลองการดดู นาของราก และหนา้ ท่ีของราก 2. พมิ พภ์ าพจากนวิ มือเป็นรปู ตน้ ไม้และพบั สี
4. เคลอ่ื นไหวประกอบอปุ กรณ์ 4. การบารุงดูแลรกั ษาตน้ ไม้ 3. ศลิ ปะแบบรว่ มมือประดิษฐต์ น้ ไมจ้ ากเศษวัสดุ
5. เคลือ่ นไหวประกอบเพลงต้นไม้ใหญ่ 5. โทษของการทาลายป่า 4. ปั้นดินนามันและเป่าสี
5. โมบายรปู ใบไม้

๔. กิจกรรมเล่นตามมุม หนว่ ย ๖. กิจกรรมเกมการศึกษา
การเลน่ ตามมุมประสบการณ์ ต้นไม้ทรี่ กั
1. เกมสังเกตรายละเอียดภาพต้นไม้
๕. กจิ กรรมกลางแจง้ 2. เกมพนื ฐานการบวก 1-9
3. เกมเรยี งลาดบั ภาพการเจรญิ เตบิ โตของพชื
1. เกมรับบอลกระดอนจากพืน 4. เกมจบั คู่ต้นไมก้ บั ผลไม้
2. เลน่ เคร่ืองเลน่ สนาม 5. เกมจัดหมวดหม่ภู าพกับสัญลักษณ์
3. เกมลิงชิงลูกบอลกระดอนจากพืน
4. เล่นนาเล่นทราย
5. มอญซอ่ นใบไม้

แผนการจดั ประสบการณร์ ายวนั วนั ท่ี 1 หน่วยท่ี 15 ต้นไมท้ ร่ี ัก ช้ันอนุบาลปีที่ 3

จดุ ประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ

เรียนรู้ ประสบการณส์ าคญั สาระท่คี วรเรียนรู้ 1. กจิ กรรมพนื ฐานให้เด็กเคล่ือนไหวร่างกายไป 1. เครื่องเคาะจังหวะ สงั เกต
ทั่วบรเิ วณอย่างอิสระตามจังหวะ เมือ่ ได้ยนิ 2. เพลงตน้ ไม้ ความสนใจ มคี วามสุขและ
กจิ กรรม (1) การเคลือ่ นไหว สัญญาณหยดุ ให้หยุดเคลื่อนไหวในทา่ นนั ทนั ที แสดงทา่ ทาง / เคลื่อนไหว
2. ครูแนะนาการปฏิบัติกจิ กรรมเคลื่อนไหว ประกอบเพลง จังหวะ
เคลอื่ นไหวและ โดยควบคมุ ตนเองไป ประกอบเพลงตน้ ไม้ และดนตรี
3. ให้เด็กรอ้ งเพลงตน้ ไม้ ตามครทู ลี ะวรรค
จังหวะ ในทศิ ทาง ระดับและ 2 – 3 ครัง หรือจนเด็กสว่ นใหญ่จาได้
4. เดก็ เคล่อื นไหวร่างกายตามจนิ ตนาการ
สนใจ มคี วามสุข พืนที่ ประกอบเพลงตน้ ไม้
5.เด็กและครูรว่ มกันปฏบิ ัตติ ามข้อ 2 ซา
และแสดงท่าทาง / (3) การเคลื่อนไหว 2 – 3 ครงั
6. หลงั ปฏบิ ัติกจิ กรรมเสรจ็ แล้ว เดก็ พักผ่อนเพื่อ
เคลอื่ นไหว ตามเสยี งเพลง/ดนตรี เตรียมปฏิบตั ิกิจกรรมตอ่ ไป

ประกอบเพลง

จังหวะ และดนตรี

ได้

จุดประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมินพฒั นาการ
สังเกต
เรียนรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ 1. การฟังผอู้ น่ื พดู จนจบ
กจิ กรรมเสรมิ และสนทนาโตต้ อบอยา่ ง
ประสบการณ์ (3) การฟงั เพลง ช่ือและลักษณะของ 1. ครอู ่านเนือเพลงชมไพรใหเ้ ด็กอ่านตาม 1. แผนภมู เิ พลงชมไพร ตอ่ เนอ่ื งเชื่อมโยงกบั เรื่องท่ี
1. ฟังผอู้ นื่ พดู จน นิทาน คาคล้องจอง ต้นไม้ 2. เด็กรอ้ งเพลงชมไพรตามครทู ีละวรรค 2. ภาพปา่ หลายๆแบบ ฟงั
จบและสนทนา บทรอ้ ยกรองหรือ ไม้ดอก คือ ไมท้ ่ปี ลกู ไว้ จนเดก็ ส่วนใหญจ่ าได้แล้วสนทนาเก่ียวกบั และภาพสง่ิ ต่างๆท่มี ีอยู่ 2. การอ่านคาดว้ ยการชี
โต้ตอบอย่าง เรอื่ งราวตา่ งๆ เพอ่ื ใชด้ อกเป็น เนอื เพลง ในปา่ เช่น ต้นไม้ สตั ว์ หรอื กวาดตามองจดุ เร่ิมตน้
ต่อเนื่องเช่ือมโยง (4) การพูดแสดง ประโยชน์ เช่น ประดบั 3. เด็กเลา่ ประสบการณ์ของตนเองเกี่ยวกับตน้ ไม้ นาตก และจุดจบของข้อความ
กบั เรอื่ งทฟี่ ังได้ ความคิด ความร้สู ึก ตกแต่งจัดสวน และปา่ ไมท้ ่ีเคยพบ 3. ปริศนาคาทาย
และความต้องการ ไม้ผล คือ ตน้ ไมท้ ี่มลี กู 4. เด็กดภู าพตน้ ไม้พร้อมทังเลน่ ปริศนาคาทาย เก่ียวกบั ต้นไม้
เกยี่ วกับตน้ ไม้
เป็นผลสามารถ 5. เด็กตอบปรศิ นาคาทายเก่ียวกบั ตน้ ไม้
อะไรเอย่ .. ลกู กินได้ ใบแก้ร้อน ใบออ่ นใช้สบู
2. อา่ นคาด้วยการ (5) การพดู กับผู้อื่น รับประทานได้
เกีย่ วกบั ประสบการณ์ ไม้ใบ คือ ไม้ท่ีปลกู ไว้ (ต้นจาก)
ชหี รอื กวาดตามอง ของตนเอง หรอื พดู เพื่อใชใ้ บเป็นประโยชน์
จดุ เร่ิมต้นและจุด เล่าเรื่องราวเก่ยี วกบั
จบของขอ้ ความได้ อะไรเอ่ย....เด็กๆนุ่งผ้า เมื่อชราเปลอื ยกาย

ตนเอง (ต้นไผ่)

(8) การรอจงั หวะที่ อะไรเอ่ย... ตน้ เทา่ ลาเรอื ใบหอ่ เกลือไม่มิด

เหมาะสมในการพูด (ต้นสน, ต้นมะขาม)

(14) การอ่านและชี อะไรเอย่ ... ใบหยกั ๆ ลกู รกั เตม็ คอ มะละกอ

ขอ้ ความโดยกวาด กไ็ ม่ใช่ (ตน้ ตาล)

สายตาตามบรรทัด 6. ครนู าบัตรภาพตน้ ไม้เช่น ไมด้ อก ไม้ผล ไม้ใบ
มาใหเ้ ดก็ ดูพร้อมทังสนทนาร่วมกนั เกยี่ วกับชื่อของ
จากซ้ายไปขวาจากบน ต้นไม้ว่าชอ่ื อะไรบา้ ง รวมทงั ลักษณะสาคัญของ
ตน้ ไม้ 3 ประเภท
ลงล่าง

จุดประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ

เรยี นรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระที่ควรเรยี นรู้

กจิ กรรมศลิ ปะ (5) การทากจิ กรรม 1. ครูเตรยี มอปุ กรณก์ ิจกรรม 2 กิจกรรม ไดแ้ ก่ 1. กระดาษวาดภาพ สังเกต

สร้างสรรค์ ศลิ ปะตา่ ง ๆ วาดภาพสีเทยี นตามจินตนาการ และตัดกระดาษ 2. สีเทยี น 1. ความสนใจ มีความสุข

1. สนใจ มี (5) การหยิบจบั การ เป็นรปู ใบไมส้ รา้ งภาพต่อเตมิ ตามจินตนาการ 3. กรรไกรปลายมน และแสดงออกผ่านงาน

ความสุขและ ใชก้ รรไกร การตัด 2. ครแู นะนาอปุ กรณ์ วธิ กี ารปฏิบตั ิและข้อตกลง 4. กระดาษติดภาพใบไม้ ศิลปะ

แสดงออกผา่ นงาน การปะ ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 5. กาว 2. การใช้กรรไกรตัด

ศลิ ปะได้ 3. เด็กทากิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ทงั 2 กิจกรรม กระดาษตามแนวเสน้ โค้ง

2. ใชก้ รรไกรตัด ตามความสนใจ

กระดาษตามแนว 4. เด็กร่วมกันเก็บอปุ กรณ์และนาเสนอผลงาน

เสน้ โค้งได้

กจิ กรรมเลน่ (1) การเล่นเคร่ืองเลน่ 1. ครแู นะนากจิ กรรมตามมุมประสบการณ์ มมุ ประสบการณ์ใน สงั เกต
หอ้ งเรียน การเล่น ทากิจกรรมและ
ตามมุม สมั ผัสและการสร้าง 2. เด็กเลือกกิจกรรมตามมมุ ประสบการณ์ตาม ปฏบิ ตั ิต่อผู้อน่ื อยา่ ง
1. ลูกบอล ปลอดภัย
เลน่ ทากจิ กรรม จากแทง่ ไม้ บล็อก ความสนใจ ซึ่งควรจดั ไว้อย่างนอ้ ย ๔ มุม เช่น 2. นกหวีด
สังเกต
และปฏิบัตติ ่อผู้อืน่ (2) การเลน่ รายบคุ คล - มมุ หนงั สือ - มุมบล็อก การรับลกู บอลท่กี ระดอน
ขึนจากพนื
อยา่ งปลอดภยั ได้ กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ - มุมเกมการศกึ ษา - บทบาทสมมติ

(3) การเล่นตามมุม - มุมเครอ่ื งเลน่ สัมผัส - มมุ ธรรมชาตศิ ึกษา

ประสบการณ์ 3. เม่ือหมดเวลาเด็กเกบ็ ของเขา้ ท่ีใหเ้ รียบร้อย

กจิ กรรมกลางแจ้ง (2)การเคล่อื นไหว 1. เดก็ ยนื เป็นวงกลมเตรยี มความพรอ้ มรา่ งกาย

รับลกู บอลที่ เคลอื่ นที่ โดยครเู ป็นผนู้ าใหเ้ ด็กปฏบิ ตั ติ าม

กระดอนขนึ จาก (4) การเคลื่อนไหว 2. อาสาสมคั รออกมาเปน็ ผู้นาในการทาท่าทาง

พนื ได้ ทใี่ ช้การประสาน เตรียมความพร้อมรา่ งกาย ประมาณ 3 – 4 คน

สัมพันธ์ของกล้ามเนือ และให้เพื่อนปฏิบตั ิตาม

จุดประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ

เรียนรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ 3. ครสู าธิตวิธีการเลน่ เกมรับบอลกระดอนจากพืน
4. เด็กยืนเรียงแถวตอนลึก หนั หน้าเขา้ หาครู
ใหญใ่ นการรบั บอล ครูยืนหา่ งจากเด็กประมาณ 1 เมตร
5. ครูโยนบอลบอลให้กระดอนจากพนื 1 ครังแล้ว
ให้เด็กคนที่ 1 รับ เม่ือเด็กรับแลว้ กโ็ ยนบอลให้
กระดอนขึนจากพนื 1 ครงั ส่งให้ครู แล้ววง่ิ ไป
ตอ่ ท้ายแถว
6. ปฏิบัติกิจกรรมในข้อ 5 จนครบทกุ คน
7. เม่ือหมดเวลาเด็กเขา้ แถวทาความสะอาด
ร่างกายก่อนเข้าชนั เรยี น

เกมการศกึ ษา (1) การสังเกต การสงั เกตรายละเอยี ด 1. ครแู นะนาอุปกรณ์พร้อมทังสาธติ วิธีการเล่น 1. เกมศกึ ษา สงั เกต
บอกลกั ษณะ การบอกลกั ษณะ
สว่ นประกอบของ ลักษณะ ส่วนประกอบ สว่ นประกอบ เกมศึกษารายละเอียดภาพต้นไม้ รายละเอยี ดภาพต้นไม้ สว่ นประกอบของสงิ่ ตา่ งๆ
สิ่งต่างๆ จากการ จากการสังเกตโดยใช้
สงั เกตโดยใช้ ของสิง่ ต่างๆ โดยใช้ ของต้นไม้ 2. แบ่งเดก็ เป็นกลุม่ ตามความเหมาะสม ใหเ้ ด็ก 1 ๒. เกมการศึกษาใน ประสาทสัมผัส
ประสาทสัมผสั ได้
ประสาทสมั ผัสอย่าง กลมุ่ รบั เกมท่ีแนะนาใหม่ไปเล่น กลมุ่ อ่นื ๆ เล่นเกม หน่วยท่ีผ่านมา

เหมาะสม การศึกษาชดุ เดิม

3. เด็กเล่นเกมโดยหมนุ เวียนสลับเปลี่ยนกนั ในแต่

ละกลุม่ โดยทุกกลุ่มต้องได้เล่นเกมศึกษา

รายละเอียดภาพตน้ ไม้

4. หมดเวลาเด็กเกบ็ เกมการศึกษาเข้าท่ีหลังเลิก

เล่นแลว้

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 2 หนว่ ยที่ 15 ตน้ ไมท้ ีร่ ัก ชัน้ อนบุ าลปที ่ี 3

จุดประสงค์การ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินพฒั นาการ

เรยี นรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ สงั เกต
ความสนใจ มคี วามสขุ และ
กจิ กรรม (1) การเคลอื่ นไหว 1. กจิ กรรมพืนฐานโดยเคลือ่ นไหวอยู่กับท่ี เช่น 1. เครื่องเคาะจังหวะ แสดงทา่ ทาง / เคลื่อนไหว
ประกอบ จังหวะ และ
เคลือ่ นไหวและ โดยควบคมุ ตนเองไป ก้มตวั ไปดา้ นลา่ ง เงยหนา้ ขนึ ข้างบน ยืดตัวใหส้ งู 2. นกหวีด ดนตรี

จงั หวะ ในทิศทาง ระดบั และ ยอ่ ตัวลง ฯลฯ และเคล่ือนไหวแบบเคลือ่ นท่ี เช่น

สนใจ มีความสุข พนื ที่ ว่ิงทางซา้ ย - ขวา เดินด้วยปลายเทา้ ไป

และแสดงท่าทาง / (3) การเคลื่อนไหว ข้างหนา้ - ข้างหลัง ฯลฯ ประกอบจังหวะที่

เคลือ่ นไหว ตามเสียงเพลง/ดนตรี ครเู คาะ และเมื่อไดย้ ินสัญญาณหยุด ใหห้ ยดุ

ประกอบ จังหวะ เคล่อื นไหว

และดนตรไี ด้ ในท่านันทนั ที

2. ครูแนะนาการปฏบิ ัติกจิ กรรมเคลื่อนไหวตาม

คาส่ังให้เดก็ ฟงั โดยให้เด็กยืนอิสระรอบๆ

ห้องเรยี นเม่ือไดย้ ินเสียงเคาะจงั หวะให้เดก็

เคลื่อนไหวร่างกายไปรอบๆห้องตามจังหวะการ

เคาะชา้ – เร็ว และเม่อื ไดย้ ินเสยี งนกหวีดใหเ้ ด็ก

หยดุ เคลอ่ื นไหวทนั ที และฟงั คาส่งั จากครู ดังนี

- กระโดดข้ามต้นไม้ลม้

- เขยง่ สมั ผสั ใบไม้

- กม้ ตวั ให้พ้นก่ิงไม้

- กระโดดไปทางซ้ายของต้นไม้

- กระโดดไปทางขวาของต้นไม้

ฯลฯ

3. หลงั ปฏิบตั ิกจิ กรรมเสร็จแล้ว เดก็ พกั ผอ่ น

อริ ยิ าบถ 2 – 3 นาที จับค่นู วดไหล่เบาๆ

เพอ่ื เตรียมปฏบิ ตั ิกิจกรรมต่อไป

จดุ ประสงค์การ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ
สังเกต
เรยี นรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู้ 1. กระดาษบรู๊พแผนภูมิ การจาแนกและจดั กลุ่มสง่ิ
กิจกรรมเสริม (4) การมสี ว่ นร่วมใน การจัดกลุ่ม จาแนก 2. บัตรภาพไม้ดอก ต่างๆ โดยใช้ตงั แต่ 2
ประสบการณ์ การรวบรวมข้อมลู จาก ประเภทของตน้ ไม้ คือ 1. ครนู าบตั รภาพไม้ดอก ไมใ้ บ ไมผ้ ล มาให้เด็กดู ไมผ้ ล ไม้ใบเท่าจานวน ลกั ษณะขนึ ไปเป็นเกณฑ์
จาแนกและจัดกลุ่ม การสืบเสาะหาความรู้ ไม้ดอก ไม้ใบ และไมผ้ ล กลมุ่
สิ่งตา่ งๆ โดยใช้ ในรปู แบบต่างๆ และ และทบทวนชอื่ และลกั ษณะของตน้ ไม้ 3 ประเภท
ตังแต่ 2 ลกั ษณะ แผนภูมอิ ยา่ งง่าย
ขนึ ไปเปน็ เกณฑ์ได้ (5) การคดั แยก การ และให้ความรู้เพ่มิ เติมเกี่ยวกับไมด้ อก ไมใ้ บ ไม้ผล

วา่ มคี วามเหมือนและต่างกนั อยา่ งไร

2. คละบตั รภาพตน้ ไม้ 3 ประเภทใหแ้ ต่ละกลุม่

ช่วยกันจาแนกบัตรภาพออกเป็นประเภทไม้ดอก

จัดกลุ่ม และจาแนก ไมใ้ บและไมผ้ ล โดยนาบตั รภาพไปตดิ บน

สิง่ ตา่ งๆ ตามลักษณะ กระดาษบรพู๊ ประจากลุ่มของตน ดงั นี

และรปู ร่าง รปู ทรง แผนภมู ิแสดงจานวนไม้ดอก ไมใ้ บและไม้ผล

ไมด้ อก ไมผ้ ล ไมใ้ บ

รวม รวม รวม

3. เดก็ เปรียบเทียบจานวนของไมด้ อก ไม้ผลและ

ไมใ้ บจากตารางแผนภมู วิ า่ ชนดิ ใดมีจานวนมาก

ชนิดใดมจี านวนน้อย และเขยี นตัวเลขลงใน

ชอ่ งรวม

กิจกรรมศลิ ปะ (2) การเขยี นภาพและ 1. ครเู ตรยี มอุปกรณ์กิจกรรม 2 กิจกรรม ไดแ้ ก่ 1. กระดาษวาดภาพ สังเกต
ความสนใจมีความสุขและ
สรา้ งสรรค์ การเล่นกบั สี พิมพ์ภาพจากนวิ มือเปน็ รปู ต้นไม้ และพบั สี 2. สนี า แสดงออกผ่านงานศลิ ปะ

สนใจมคี วามสุข (5) การทากจิ กรรม 2. ครูแนะนาอปุ กรณ์ วธิ ีการปฏบิ ตั แิ ละข้อตกลง 3. ฟองนา

และแสดงออกผา่ น ศลิ ปะตา่ ง ๆ ในการปฏิบตั ิกิจกรรม 4. ผ้าเช็ดมอื

งานศิลปะได้ 3. เด็กทากจิ กรรมศิลปะสร้างสรรค์ทัง 2 กจิ กรรม 5. พกู่ ัน

ตามความสนใจ

จดุ ประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พัฒนาการ

เรยี นรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู้ มมุ ประสบการณใ์ น สงั เกต
ห้องเรยี น การเลน่ ทากิจกรรมและ
4. เดก็ ร่วมกนั เก็บอปุ กรณ์และนาเสนอผลงาน ปฏบิ ตั ิตอ่ ผอู้ ืน่ อย่าง
ปลอดภัย
กิจกรรมเลน่ (1) การเลน่ เครื่องเล่น 1. ครแู นะนากิจกรรมตามมมุ ประสบการณ์

ตามมุม สมั ผสั และการสรา้ ง 2. เด็กเลอื กกิจกรรมตามมมุ ประสบการณ์ตาม

เล่น ทากิจกรรม จากแท่งไม้ บลอ็ ก ความสนใจซ่ึงควรจัดอยา่ งน้อย ๔ มุม เช่น

และปฏิบัตติ ่อผู้อ่ืน (2) การเล่นรายบคุ คล - มุมหนงั สือ - มมุ บลอ็ ก

อย่างปลอดภยั ได้ กลมุ่ ย่อย กลุ่มใหญ่ - มมุ เกมการศกึ ษา - บทบาทสมมติ

(3) การเล่นตามมมุ - มมุ เครอ่ื งเล่นสัมผัส - มุมธรรมชาตศิ กึ ษา

ประสบการณ์ 3. เมือ่ หมดเวลาเด็กเก็บของเข้าท่ีใหเ้ รียบร้อย

กิจกรรมกลางแจ้ง (5) การเล่นเครื่องเลน่ 1. ครูแนะนาข้อตกลงในการเล่นเครื่องเลน่ สนาม เคร่อื งเล่นสนาม สงั เกต
เล่น ทากจิ กรรม สนามอยา่ งอิสระ การเล่น ทากจิ กรรมและ
และปฏิบัตติ ่อผู้อน่ื แตล่ ะชนดิ พร้อมทังแนะนาวธิ ีการเล่นอยา่ ง ปฏบิ ตั ิตอ่ ผอู้ ่ืนอยา่ ง
อย่างปลอดภัยได้ ปลอดภัย
ปลอดภยั
สังเกต
2. เด็กเล่นเคร่ืองเล่นสนามโดยมีครูดแู ลอย่าง การจับคแู่ ละเปรยี บเทยี บ
ความแตกต่างและความ
ใกล้ชิด เหมือนของส่ิงต่างๆ โดยใช้
ลักษณะทสี่ งั เกตพบ
3. เมอื่ หมดเวลาเดก็ เข้าแถวทาความสะอาด

รา่ งกายก่อนเข้าชันเรียน

เกมการศกึ ษา (8) การนบั และแสดง การนบั และแสดง 1. ครแู นะนาอุปกรณ์พร้อมทังสาธิตวิธกี ารเลน่ 1. เกมพืนฐานการบวก
จับคู่และ จานวนของสง่ิ ตา่ งๆใน จานวน 1 - 9
เปรียบเทยี บความ ชวี ติ ประจาวนั เกมพนื ฐานการบวกจานวน 1 - 9 จานวน 1 - 9
แตกตา่ งและความ (13) การจับคู่ การ
เหมือนของสิ่ง เปรยี บเทยี บและการ 2. แบง่ เดก็ เป็นกลมุ่ ตามความเหมาะสม ให้เด็ก 1 ๒. เกมการศึกษาใน
ตา่ งๆ โดยใช้ เรยี งลาดับสง่ิ ตา่ งๆ
ลกั ษณะที่สงั เกต ตามลักษณะ กล่มุ รับเกมท่แี นะนาใหม่ไปเล่น กล่มุ อนื่ ๆ เล่นเกม หนว่ ยทผ่ี ่านมา
พบได้
การศกึ ษาชดุ เดิม

3. เดก็ เล่นเกมโดยหมนุ เวยี นสลับเปล่ียนกนั ในแต่

ละกลุ่มโดยทุกกลุม่ ต้องได้เลน่ เกมพืนฐานการบวก

จานวน 1 – 9

จดุ ประสงค์การ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ

เรียนรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้

4. หมดเวลาเด็กเก็บเกมการศกึ ษาเข้าท่ีหลงั เลิก

เล่นแล้ว

แผนการจดั ประสบการณ์รายวัน วนั ท่ี 3 หนว่ ยที่ 15 ต้นไมท้ ร่ี กั ชัน้ อนบุ าลปที ี่ 3

จดุ ประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ การประเมนิ
เรยี นรู้ พฒั นาการ
ประสบการณ์ สาระที่ควรเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื
กิจกรรม สาคัญ สังเกต
เคลื่อนไหวและ ความสนใจ มคี วามสุข
จงั หวะ (1) การเคล่ือนไหว 1. กิจกรรมพืนฐาน ให้เด็กเคลอ่ื นไหวร่างกายไปทว่ั บริเวณอยา่ ง 1. ดนตรีบรรเลง และแสดงท่าทาง /
สนใจ มีความสขุ อิสระตามเสียงดนตรบี รรเลง เมอ่ื เพลงหยดุ ให้หยดุ การ 2. คาบรรยาย เคลือ่ นไหวประกอบ
และแสดง โดยควบคุมตนเอง เคลือ่ นไหวในท่านันทนั ที จงั หวะ และดนตรี
ทา่ ทาง / 2. เดก็ ทาทา่ ตามจินตนาการของตนเอง โดยฟังคาบรรยาย
เคลอื่ นไหว ไปในทิศทาง ระดับ “เดก็ ๆ เดินเขา้ ไปในป่า ในระหวา่ งทางมกี ิ่งไมห้ ักขวางทางอยู่
ประกอบจังหวะ จงึ กระโดดข้ามก่ิงไม้ เมอ่ื เดินไปเรอ่ื ยๆก็มองเหน็ ตน้ มะม่วง
และดนตรไี ด้ และพืนท่ี มากมายนบั ได้ 1 2 3 จนถงึ 20 ตน้ (ครบู อกให้เด็กนับปาก
เปล่า) มาถึงตน้ มะม่วงต้นหน่งึ มลี ูกดกมาก เด็กๆ นบั ได้ 1 2 3
(3) การเคล่ือนไหว 4 5 6 7 8 9 ลูก (ครใู ห้เดก็ หยิบของเล่นชินเลก็ ๆ ให้ได้ 9
ชิน) แลว้ เดินต่อไปเร่ือยๆ ไปพบกบั หมูปา่ ตวั ใหญ่ หมปู ่าตัว
ตามเสียงเพลง/ ใหญร่ ปู ร่างนา่ กลัวมาก จึงรีบว่ิงหนหี มปู ่าไปแอบอยู่ท่ตี ้นไม้ใหญ่
เม่อื หมปู า่ วิ่งไปทางอ่ืน เด็กๆจึงรีบเดนิ กลบั บา้ นทนั ที
ดนตรี 3. หลังปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเสร็จแล้ว เด็กนอนราบพักผอ่ น เพือ่
เตรยี มปฏิบัติกิจกรรมต่อไป
(8) การนบั และ

แสดงจานวน

จดุ ประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ การประเมนิ
เรยี นรู้ พฒั นาการ
ประสบการณ์ สาระท่ีควรเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื
กิจกรรมเสริม สาคัญ สังเกต
ประสบการณ์ 1. ครูนาตน้ ไมม้ า 2 กระถาง กระถางท่ี 1 ต้นไมท้ ่ีมีรากเกาะตดิ 1. ตน้ ไม้ 2 กระถาง 1. การคน้ หาคาตอบ
1. คน้ หาคาตอบ (4) การมีส่วนรว่ ม การทดลองการดดู นา อยใู่ นดนิ กระถางท่ี 2 ตน้ ไม้ทไ่ี ม่มีรากอยใู่ นดิน 2. ตน้ กระสงั ของข้อสงสัยตา่ งๆ โดย
ของข้อสงสยั 2. อาสาสมคั ร 1 คนออกมาดึงต้นไม้ออกจากกระถาง 2 มือ ต้นเทียน หรอื ตน้ ไม้ที่ ใช้วิธีการท่ีหลากหลาย
ต่างๆ โดยใช้ ในการรวบรวม ของราก และหน้าที่ พร้อมๆ กนั แลว้ บอกความรสู้ ึกจากการดงึ ตน้ ไม้ออกจาก มนี ามาทดลองการดดู ดว้ ยตนเอง
วิธกี ารที่ กระถางว่ามีความรสู้ ึกอยา่ งไร ต้นไม้ในกระถาง 2 ใบต่างกันไหม นาของรากได้ 2. การบอกลักษณะ
หลากหลายด้วย ขอ้ มลู จากการสบื ของราก 3. ครูสรปุ เพิ่มเตมิ ถึงหนา้ ที่ของราก คือ 3. นาสีใส่ไปในขวด การเปลย่ี นแปลงของ
ตนเองได้ แก้วเทา่ กับจานวน สิ่งต่างๆ จากการ
2. บอกลักษณะ เสาะหาความรใู้ น (1) ยดึ ลาต้นให้ติดกบั ดนิ กลมุ่ สงั เกตโดยใชป้ ระสาท
การเปล่ียนแปลง (2) ดดู นาและอาหารไปเลียงลาตน้ 4. กระดาษบนั ทึกผล สัมผัส
ของสิง่ ต่างๆ จาก รปู แบบตา่ งๆ และ 4. ครูแนะนาอปุ กรณ์พร้อมสาธิตวธิ ีการทดลองการดดู นาของ การทดลอง
การสังเกตโดยใช้ รากตน้ กระสงั ต้นเทยี น หรือตน้ ไม้ทสี่ ามารถทดลองการดูดนา
ประสาทสัมผสั ได้ แผนภูมิอยา่ งงา่ ย ของรากได้
5. เด็กแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ทดลองการดูดนาของรากตน้ กระสงั
(1) การสังเกต หรอื ต้นเทียน
ลักษณะและการ 6. เด็กบนั ทึกผลการทดลองโดยการวาดภาพ พร้อมนาเสนอ
เปลี่ยนแปลงของส่งิ ข้อมูล
ตา่ งๆ โดยใช้ 7. เดก็ และครูรว่ มกันสรุปผลการทดลองและหนา้ ทข่ี องราก
ประสาทสมั ผสั อย่าง
เหมาะสม

กจิ กรรมศิลปะ (4) การประดษิ ฐ์สงิ่ 1. ครูแนะนากิจกรรมการทาศลิ ปะแบบรว่ มมอื โดยมเี ป้าหมาย 1. กระดาษวาดภาพ สังเกต
สร้างสรรค์ ตา่ งๆ ดว้ ยเศษวสั ดุ เพอื่ ทาตน้ ไมป้ ระดิษฐ์จากเศษวสั ดุ 2. สเี ทยี น, ดินสอสี การเลน่ หรอื ทางาน
เล่นหรอื ทางาน (3) การทาศิลปะ ๒. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ เชน่ กล่อง กระดาษวารสาร กระดาษ 3. เศษวสั ดุ เชน่ รว่ มกับเพื่อนอย่างมี
ร่วมกับเพ่ือน แบบร่วมมอื หนังสือพิมพ์ ก่ิงไม้ ใบไม้แหง้ ฯลฯ กล่อง กระดาษ เป้าหมาย
อย่างมีเป้าหมาย ๓. ครแู นะนาอปุ กรณ์ วิธกี ารปฏิบัตแิ ละข้อตกลงในการปฏิบตั ิ วารสาร กระดาษ
ได้ กิจกรรมร่วมกนั เป็นกลุ่ม หนังสือพิมพ์ กิ่งไม้

จดุ ประสงค์การ สาระการเรียนรู้ การประเมนิ
เรยี นรู้ พัฒนาการ
ประสบการณ์ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื
กจิ กรรมเลน่ สาคัญ ใบไม้แห้ง ฯลฯ
ตามมุม
เล่น ทากิจกรรม ๔. เด็กแต่ละกลุ่มออกแบบผลงานและลงมือปฏิบัติกิจกรรม
และปฏบิ ัติต่อ
ผูอ้ ืน่ อย่าง รว่ มกัน ไดผ้ ลงานตามความคิดของทกุ คน
ปลอดภัยได้
๕. เดก็ รว่ มกนั เก็บอปุ กรณ์ และนาเสนอผลงาน
กจิ กรรม
กลางแจ้ง (1) การเลน่ เครอ่ื ง 1. ครแู นะนากจิ กรรมตามมมุ ประสบการณ์ มมุ ประสบการณใ์ น สงั เกต
รับลูกบอลท่ี เลน่ สมั ผัสและการ หอ้ งเรียน การเล่น ทากิจกรรม
กระดอนขึนจาก สร้างจากแท่งไม้ 2. เดก็ เลอื กกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตามความสนใจ และปฏบิ ตั ิต่อผู้อื่น
พนื ได้ บลอ็ ก อยา่ งปลอดภัย
(2) การเลน่ ซง่ึ ควรจดั ไว้ อยา่ งน้อย ๔ มุม เชน่
รายบคุ คล กลมุ่ ย่อย
กลุ่มใหญ่ - มุมหนงั สือ - มุมบลอ็ ก
(3) การเลน่ ตามมมุ
ประสบการณ์ - มมุ เกมการศึกษา - บทบาทสมมติ

(2) การเคล่ือนไหว - มมุ เคร่ืองเลน่ สมั ผัส - มมุ ธรรมชาติศึกษา
เคล่ือนท่ี
(4) การเคล่ือนไหว 3. เมอื่ หมดเวลาเด็กเก็บของเขา้ ท่ีใหเ้ รยี บร้อย
ที่ใช้การประสาน
สมั พนั ธ์ของการใช้ 1. เด็กเตรยี มความพร้อมรา่ งกายโดยใหเ้ ด็กวงิ่ อยูก่ ับท่ี และ 1. เกมลงิ ชงิ ลูกบอล สังเกต
กล้ามเนอื ใหญ่ใน ก้มตวั ลงแตะข้อเท้าสลบั ซา้ ยขวา 10 ครัง กระดอนจากพืน การรับลูกบอลที่
การรบั บอล 2. ครูอธบิ ายและสาธติ การรับสง่ ลกู บอล 2. ลูกบอล กระดอนขึนจากพนื
3. เดก็ จับคู่ รับ – ส่งลูกบอล ตามความถนดั ของตนเอง 3. นกหวีด
4. ครูอธบิ ายและสาธิตการเล่นเกมลิงชิงบอลกระดอนจากพืน
ดังนี

(1) เดก็ จับมอื เปน็ วงกลม 1 วง (ขนาดตามความเหมาะสม)
(2) ครูขออาสาเด็ก 1 คน เปน็ ลิง คอยแยง่ ลูกบอลท่ีเพ่ือน
โยนลงพนื
(3) เดก็ ๆ จะโยนลูกบอลให้กระดอนกบั พืนก่อนส่งใหเ้ พ่ือน
พรอ้ มทงั เรยี กช่ือเพ่ือนไปดว้ ย

จุดประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ การประเมิน
เรียนรู้ พฒั นาการ
ประสบการณ์ สาระทคี่ วรเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื
สาคญั

4. ถ้าลงิ แย่งบอลได้ คนท่โี ยนลูกบอลใหเ้ พื่อนต้องมาเป็นลงิ

แทน

5. เม่อื หมดเวลาเด็กเก็บอปุ กรณ์ลกู บอลเข้าแถวทาความสะอาด

ร่างกายก่อนเข้าชันเรยี น

เกมการศึกษา (9) การ การเจริญเตบิ โต 1. ครแู นะนาอปุ กรณ์พรอ้ มทังสาธิตวธิ ีการเลน่ เกมเรยี งลาดบั 1. เกมเรียงลาดบั การ สงั เกต
เรียงลาดบั สิง่ ของ เปรยี บเทียบและ ของตน้ ไม้
หรือเหตุการณ์ เรยี งลาดบั จานวน การเจรญิ เติบโตของต้นไม้ เจริญเตบิ โตของต้นไม้ การเรียงลาดบั ส่ิงของ
อยา่ งน้อย 5 ของสิ่งต่างๆ
ลาดับได้ 2. แบง่ เด็กเปน็ กลุม่ ตามความเหมาะสม ใหเ้ ด็ก 1 กลุ่มรับเกมที่ ๒. เกมการศึกษาใน หรอื เหตกุ ารณอ์ ย่าง

แนะนาใหมไ่ ปเล่น กล่มุ อน่ื ๆ เล่นเกมการศกึ ษาชุดเดิม หน่วยทผ่ี ่านมา นอ้ ย 5 ลาดับ

3. เดก็ เล่นเกมโดยหมุนเวยี นสลับเปลี่ยนกันในแต่ละกลมุ่ โดยทกุ

กลุ่มตอ้ งไดเ้ ลน่ เกมเรยี งลาดับการเจริญเติบโตของตน้ ไม้

4. เดก็ เก็บเกมการศึกษาหลังเลกิ เล่นแล้ว

แผนการจดั ประสบการณร์ ายวนั วนั ท่ี 4 หน่วยท่ี 15 ต้นไม้ที่รกั ชนั้ อนุบาลปที ี่ 3

จุดประสงค์การ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ

เรยี นรู้ ประสบการณส์ าคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้ สังเกต
ความสนใจ มีความสขุ และ
กิจกรรม (3) การเคล่ือนไหว 1. กิจกรรมพนื ฐานให้เด็กเคล่ือนไหวร่างกายไป 1. เคร่อื งเคาะจงั หวะ แสดงท่าทาง / เคลื่อนไหว
ทั่วๆบรเิ วณอย่างอสิ ระตามเสียงดนตรเี มื่อได้ยิน 2. ใบไม้ ประกอบ จังหวะ และ
เคลื่อนไหวและ พรอ้ มอปุ กรณ์ สญั ญาณหยุดใหห้ ยุดเคล่ือนไหวในท่านันทันที 3. นกหวดี ดนตรี
2. ครแู นะนาการปฏิบัติกจิ กรรมเคล่ือนไหว
จงั หวะ (1) การเคลื่อนไหว ร่างกายประกอบใบไม้ใหเ้ ด็กฟงั โดยให้เดก็
เคลื่อนไหวบรเิ วณรอบหอ้ งเรียนเมื่อไดย้ ินเสียง
สนใจ มีความสขุ โดยควบคมุ ตนเองไป เคาะจังหวะ
3. เด็กเคลือ่ นไหวรา่ งกายตามจินตนาการ
และแสดงท่าทาง / ในทิศทาง ระดับและ ประกอบใบไมไ้ ปรอบๆห้องตามจังหวะการเคาะ
ชา้ หรอื เรว็ และเมอ่ื ได้ยนิ เสยี งนกหวดี ให้เด็กหยดุ
เคลอื่ นไหว พนื ท่ี เคลอ่ื นไหวในทา่ นันทันทีและฟังคาส่งั จากครู ดงั นี

ประกอบ จงั หวะ (3) การเคลื่อนไหว - วางใบไม้ไว้บนศีรษะ
- วางใบไม้ไวท้ ขี่ า้ งลา่ งใต้เทา้
และดนตรไี ด้ ตามเสียงเพลง/ดนตรี - วางใบไม้ไวท้ กี่ ลางลาตัวเสยี บไว้ท่เี อว
- แลกใบไมก้ ับเพือ่ นทอ่ี ยู่ใกล้

ฯลฯ
4. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามข้อ 3. ซาอกี
5. หลังปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเสร็จแล้ว เด็กพกั ผ่อน
อิริยาบถ เพอ่ื เตรยี มปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตอ่ ไป

จุดประสงค์การ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ พัฒนาการ

เรียนรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ 1. ให้เด็กพดู คาคล้องจอง “ป่าแสนสวย” ตามครู 1. คาคล้องจอง สงั เกต
กจิ กรรมเสรมิ ทลี ะวรรค 2 – 3 ครงั หรอื จนเดก็ ส่วนใหญ่จาได้ ป่าแสนสวย การดแู ลรักษาธรรมชาติ
ประสบการณ์ (1) การมสี ่วนรว่ ม การบารุงดูแลรักษา แล้วสนทนากบั เด็กเกย่ี วกับเนือหาคาคลอ้ งจอง 2. แปลงผกั ที่รดนา และส่งิ แวดล้อมด้วยตนเอง
ดแู ลรกั ษา รับผดิ ชอบดแู ลรกั ษา ต้นไม้
ธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดล้อมทงั ภายใน 2. ครสู นทนาเกย่ี วกบั ประสบการณก์ ารปลกู ต้นไม้ พรวนดิน และแปลงผกั ที่
สงิ่ แวดลอ้ มด้วย และภายนอก
ตนเองได้ ห้องเรียน และการดูแลรักษาต้นไม้ โดยมีการสรา้ งข้อตกลง ต้นไมข้ าดนา
(4) การเพาะปลูกและ
ดแู ลตน้ ไม้ รว่ มกันในการไปศึกษาแหล่งเรยี นรู้ภายใน
(1) การสารวจสิ่ง
ต่างๆ และแหลง่ โรงเรยี น
เรียนรู้รอบตวั
3. เดก็ ไปสารวจแปลงเพาะปลกู และต้นไม้ต่างๆ

ในบริเวณโรงเรียนทค่ี รเู ตรียมไว้มีทงั แปลงท่รี ดนา

พรวนดนิ และแปลงทต่ี น้ ไมข้ าดนา ใหเ้ ด็กสงั เกต

ความแตกตา่ งว่าเกดิ อะไรขนึ

4. เด็กๆ ช่วยกันตอบคาถามต่อไปนี

- ถ้าตน้ ไมไ้ ม่ไดร้ บั นาหลายๆ วนั ตน้ ไม้จะเป็น

อย่างไร เพราะเหตใุ ด

- เด็ก ๆ รู้สกึ อย่างไรท่ีเห็นตน้ ไม้เหยี่ วเฉา

- เดก็ ๆ จะทาอย่างไรไม่ให้ตน้ ไม้เหี่ยวเฉา

5. ครแู ละเด็กร่วมกนั สรปุ เร่ืองการบารุงดแู ล

รักษาตน้ ไม้ และรว่ มกันท่องคาคล้องจอง

“ปา่ แสนสวย”

จดุ ประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ
สงั เกต
เรยี นรู้ ประสบการณ์สาคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ ความสนใจมคี วามสุขและ
แสดงออกผ่านงานศิลปะ
กจิ กรรมศิลปะ (2) การเขียนภาพและ 1. ครเู ตรยี มอปุ กรณ์กิจกรรม 2 กิจกรรม ไดแ้ ก่ 1. ดนิ นามัน
สงั เกต
สรา้ งสรรค์ การเลน่ กับสี ปั้นดินนามัน และเป่าสี 2. กระดาษ A4 การเล่น ทากจิ กรรมและ
ปฏบิ ตั ิต่อผอู้ ื่นอย่าง
สนใจมคี วามสขุ (3) การปัน้ 2. ครูแนะนาอปุ กรณ์ วธิ ีการปฏิบัตแิ ละข้อตกลง 3. สีนา ปลอดภยั

และแสดงออกผ่าน ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 3. หลอดเป่าสี

งานศิลปะได้ 3. เดก็ ทากิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ทงั 2 กิจกรรม

ตามความสนใจ

4. เดก็ ร่วมกันเก็บอุปกรณ์และนาเสนอผลงาน

กจิ กรรมลน่ (1) การเลน่ 1. ครแู นะนากิจกรรมตามมุมประสบการณ์ มมุ ประสบการณใ์ น

ตามมุม เครอ่ื งเลน่ สัมผสั และ 2. เด็กเลอื กกจิ กรรมตามมมุ ประสบการณ์ ห้องเรยี น

เลน่ ทากจิ กรรม การสร้างจากแทง่ ไม้ ตามความสนใจซึ่งควรจัดไว้ อย่างนอ้ ย ๔ มมุ เช่น

และปฏิบัตติ ่อผู้อ่นื บล็อก - มมุ หนังสือ - มุมบล็อก

อย่างปลอดภัยได้ (2) การเล่นรายบคุ คล - มุมเกมการศกึ ษา - บทบาทสมมติ

กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ - มุมเครอ่ื งเลน่ สัมผัส

(3) การเลน่ ตามมมุ 3. เม่ือหมดเวลาเด็กเก็บของเขา้ ทใี่ ห้เรยี บร้อย

ประสบการณ์

จดุ ประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ

เรยี นรู้ ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้ สังเกต
การเล่น ทากิจกรรมและ
กจิ กรรมกลางแจง้ (1) การเคล่ือนไหว 1. ครูแนะนาข้อตกลงในการเลน่ เล่นนา เลน่ ทราย อปุ กรณ์การเล่นนา ปฏิบัตติ ่อผอู้ ่ืนอย่าง
ปลอดภยั
เล่น ทากจิ กรรม โดยควบคุมตนเองไป พรอ้ มทังแนะนาวิธีการเล่นอย่างปลอดภัย เล่นทราย
สงั เกต
และปฏบิ ัตติ อ่ ผู้อ่นื ในทิศทาง ระดบั และ 2. เด็กเลน่ เลน่ นาเลน่ ทรายตามความสนใจโดยมี การจับคูแ่ ละเปรียบเทยี บ
ความแตกต่างและความ
อย่างปลอดภยั ได้ พนื ท่ี ครดู ูแลอยา่ งใกล้ชิด เหมอื นของส่งิ ต่างๆ โดยใช้
ลกั ษณะที่สงั เกตพบ
3. เม่ือหมดเวลาเดก็ เกบ็ อปุ กรณเ์ ลน่ นา เลน่ ทราย

เข้าแถวทาความสะอาดร่างกายก่อนเขา้ ชนั เรียน

เกมการศึกษา (13) การจบั คู่ การ ความสัมพนั ธ์ของต้นไม้ 1. ครแู นะนาอปุ กรณ์พร้อมทังสาธิตวิธีการเล่น 1. เกมจับคตู่ น้ ไม้กับ
จบั คู่และ เปรียบเทยี บและการ กับผลไม้
เปรยี บเทยี บความ เรียงลาดบั สิ่งต่างๆ เกมจบั คตู่ ้นไม้กบั ผลไม้ ผลไม้
แตกตา่ งและความ ตามลักษณะ.
เหมอื นของส่ิง 2. แบง่ เดก็ เป็นกลุ่มตามความเหมาะสม ใหเ้ ด็ก 1 ๒. เกมการศึกษาใน
ต่างๆ โดยใช้
ลกั ษณะทส่ี ังเกต กลุม่ รบั เกมทแ่ี นะนาใหม่ไปเล่น กลุ่มอนื่ ๆ เล่นเกม หน่วยที่ผ่านมา
พบได้
การศึกษา

ชดุ เดิม

3. เดก็ เลน่ เกมโดยหมุนเวียนสลบั เปลยี่ นกันในแต่

ละกลมุ่ โดยทุกกลมุ่ ต้องได้เลน่ เกมจับคตู่ น้ ไม้กับ

ผลไม้

4. เดก็ เก็บเกมการศึกษาเขา้ ท่หี ลงั เลกิ เลน่ แลว้

แผนการจัดประสบการณ์รายวนั วนั ที่ 5 หนว่ ยที่ 15 ต้นไม้ทีร่ กั ชั้นอนุบาลปที ี่ 3

จุดประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมินพฒั นาการ

เรียนรู้ ประสบการณส์ าคญั สาระทีค่ วรเรียนรู้

กจิ กรรม (1) การเคลือ่ นไหว 1. กิจกรรมพนื ฐานใหเ้ ด็กเคลื่อนไหวรา่ งกายไป 1. เครอื่ งเคาะจังหวะ สังเกต
ทวั่ ๆบรเิ วณอยา่ งอิสระตามจังหวะเมื่อไดย้ ิน 2. เพลง ต้นไมใ้ หญ่ ความสนใจ มคี วามสขุ และ
เคล่อื นไหวและ โดยควบคมุ ตนเองไป สัญญาณหยุดใหห้ ยุดเคล่ือนไหวในท่านนั ทนั ที แสดงทา่ ทาง / เคล่อื นไหว
2. ครแู นะนาการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเคลือ่ นไหว 1. นทิ าน เรอื่ งป่าไม้ ประกอบเพลง จังหวะ
จงั หวะ ในทศิ ทาง ระดบั และ ประกอบเพลง ต้นไม้ใหญ่ ให้เด็กฟัง 2. ภาพประกอบการเลา่ และดนตรี
3. เดก็ ร้องเพลงต้นไม้ใหญ่ ตามครูทีละวรรค นิทาน
สนใจ มคี วามสขุ พนื ท่ี สังเกต
2 – 3 ครงั หรอื จนเด็กสว่ นใหญจ่ าได้ - ภเู ขาท่มี ตี ้นไม้เขียว การฟังผู้อ่นื พดู จนจบและ
และแสดงท่าทาง / (3) การเคล่ือนไหว 4. แบง่ เดก็ เปน็ กล่มุ ตามความเหมาะสม ให้แตล่ ะ สมบูรณ์ สนทนาโต้ตอบสอดคลอ้ ง
กลุ่มออกแบบทา่ ทางตามจนิ ตนาการประกอบ กับเร่อื งทฟ่ี ัง
เคล่ือนไหว ตามเสียงเพลง/ดนตรี เพลง - ภูเขาหัวโล้นแห้งแลง้
5. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการประกอบเพลง ที่ถูกถางป่า เผาป่า
ประกอบเพลง (2) การเลน่ รายบุคคล ตน้ ไมใ้ หญ่ ทีอ่ อกแบบไว้
6. หลังปฏบิ ัติกจิ กรรมเสร็จแล้ว เด็กนอนพักผอ่ น - นาปา่ ไหลหลาก
จังหวะ และดนตรี กลมุ่ ย่อย กลุ่มใหญ่ เพอื่ เตรยี มปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่อไป

ได้ 1. ครูเล่านทิ านประกอบภาพเรอื่ งป่าไม้
2. เด็กช่วยกันสรุปเนือหาในนิทานและอภปิ ราย
กจิ กรรมเสรมิ (3) การฟังเพลง โทษของการทาลายป่า เกย่ี วกบั โทษของการทาลายป่าและใหต้ อบคาถาม
ประสบการณ์ นทิ านหรอื เร่ืองราว ดังนี
การฟังผู้อน่ื พดู จน ตา่ งๆ
จบและสนทนา (4) การพูดแสดง (1) เดก็ ๆ เห็นภาพภูเขาหัวโล้นแหง้ แล้งทีถ่ ูก
โตต้ อบสอดคล้อง ความคิด ความรูส้ ึก ถางป่า เผาปา่ จนเหลอื แตต่ อ และพนื ดินโลน้
กับเร่ืองท่ีฟังได้ และความต้องการ แห้งแลง้ แลว้ รสู้ กึ อย่างไร
(5) การพดู กับผู้อ่ืน
เกี่ยวกับประสบการณ์ (2) ถา้ เราต้องการให้ภูเขาหวั โลน้ แหง้ แล้ง

จุดประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พัฒนาการ
เรียนรู้
ประสบการณ์สาคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้ กลบั ไปเปน็ ปา่ ไม้ทส่ี มบรู ณเ์ ราควรทาอยา่ งไร - นาท่วมบา้ น ไร่ นา
กจิ กรรมศิลปะ (3) ถ้าโรงเรยี นของเราไม่มีตน้ ไม้เลยจะเปน็ 3. กระดาษบรู๊ฟตาม
สร้างสรรค์ ของตนเอง จานวนกลมุ่
ใชก้ รรไกรตัด หรอื พูดเล่าเรื่องราว อยา่ งไร 4. สีเทียน
กระดาษตามแนว เกย่ี วกับตนเอง 3. แบง่ กลมุ่ เดก็ ชว่ ยกนั สร้างภาพ (วาดและฉีกปะ 5. กระดาษมันปู
เสน้ โค้งได้ (8) การรอจังหวะท่ี กระดาษ) สวนป่าในอนาคตลงในกระดาษบรู๊ฟ 6. กาว
เหมาะสมในการพดู แลว้ นาเสนอผลงาน
(9) การพูดเรียงลาดับ
คาเพื่อใช้ในการ 1. ครเู ตรยี มอปุ กรณ์กิจกรรม 1 กิจกรรม ได้แก่ 1. กระดาษสี สงั เกต
สื่อสาร การทาโมบายรปู ใบไม้ 2. กระดาษจากวารสาร การใช้กรรไกรตดั กระดาษ
2. ครแู นะนาอุปกรณ์ วธิ ีการปฏบิ ัตแิ ละข้อตกลง สีท่ไี ม่ใชแ้ ลว้ ตามแนวเส้นโค้ง
(4) การประดษิ ฐส์ ง่ิ ในการปฏิบัติกิจกรรม 3. กรรไกรปลายมน
ต่างๆ ดว้ ยเศษวัสดุ 3. ครสู าธิตทาโมบายจากเศษวัสดุ 4. เชือก
(5) การหยบิ จบั 4. เด็กเลอื กเศษวัสดุตามท่ีสนใจ ตดั เป็นใบไม้ 5. แก้วหรอื ขวด
การใช้กรรไกร การตดั ตามท่ีออกแบบไว้ และทาโมบายใบไม้ พลาสตกิ ชนดิ อ่อน
และการร้อยวัสดุ 5. เด็กรว่ มกนั เก็บอุปกรณ์และนาเสนอผลงาน สีต่าง ๆ

จดุ ประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ

เรียนรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระที่ควรเรยี นรู้ สงั เกต
การเลน่ ทากิจกรรมและ
กจิ กรรมเลน่ (1) การเลน่ เคร่ืองเล่น 1. ครแู นะนากิจกรรมตามมุมประสบการณ์ มมุ ประสบการณใ์ น ปฏบิ ตั ติ อ่ ผอู้ ่นื อย่าง
ปลอดภยั
ตามมุม สมั ผสั และการสรา้ ง 2. เด็กเลือกกจิ กรรมเสรีตามมุมประสบการณ์ ห้องเรียน

เล่น ทากิจกรรม จากแท่งไม้ บลอ็ ก ตามความสนใจซ่ึงควรจัดไว้ อยา่ งน้อย ๔ มมุ เชน่

และปฏิบตั ติ ่อผู้อ่นื (3) การเลน่ ตามมมุ - มมุ หนงั สือ - มมุ บล็อก

อยา่ งปลอดภัยได้ ประสบการณ์ - มมุ เกมการศกึ ษา - บทบาทสมมติ

- มุมเคร่อื งเลน่ สมั ผัส - มมุ ธรรมชาติศึกษา

3. เมอ่ื หมดเวลาเดก็ เก็บของเข้าทใี่ ห้เรยี บร้อย

กจิ กรรมกลางแจ้ง (5) การเล่นเครื่องเล่น 1. ครอู ธบิ ายและแนะนาข้อตกลงในการเลน่ มอญ ใบไมจ้ ริงหรือพลาสติก สงั เกต
เล่น ทากิจกรรม สนามอย่างอสิ ระ ซ่อนใบไม้ และสาธิตวิธกี ารเล่น การเลน่ ทากจิ กรรมและ
และปฏิบัติตอ่ ผู้อืน่ (1) การเคล่อื นไหว 2. เด็กเล่นมอญซ่อนใบไม้ ดงั น้ี ปฏิบตั ิตอ่ ผู้อืน่ อยา่ ง
อยา่ งปลอดภยั ได้ โดยควบคุมตนเองไป ปลอดภัย
(1) เด็กนัง่ เปน็ วงกลมเอามือมาวางไว้บนตัก
ในทิศทาง ระดับและ
พนื ที่ มองท่ีกลางวง

(2) เดก็ ทีอ่ าสาเปน็ ผู้ซ่อนใบไม้ จะเดินวนไป
รอบ ๆ และร้องเพลงมอญซอ่ นใบไม้พร้อมกับคน
ทีน่ ง่ั ในวง

(3) คนทีซ่ ่อนใบไม้จะแอบวางใบไม้ไวข้ ้างหลงั
เพอื่ น แลว้ เดนิ วนมาครบรอบ ถา้ เพื่อนยงั ไม่รตู้ ัว
เพ่อื นคนท่ีวางใบไม้ ก็จะเอาใบไม้ตีก้นแลว้ ว่ิงหนี
เพือ่ ว่งิ ไปนง่ั แทนทค่ี นท่ถี ูกตี ถ้าวง่ิ หนีไม่ทันก็ต้อง
เปน็ คนซ่อนใบไม้อีกรอบหนงึ่
3. เมื่อหมดเวลาเดก็ เขา้ แถวทาความสะอาด
รา่ งกายก่อนเข้าชนั เรยี น

จดุ ประสงค์การ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พัฒนาการ

เรยี นรู้ ประสบการณส์ าคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้

เกมการศกึ ษา (18) การเล่นเกม การจัดหมวดหมู่ภาพ 1. ครูแนะนาอุปกรณ์พรอ้ มทังสาธิตวิธกี ารเลน่ 1. เกมจดั หมวดหม่ภู าพ สงั เกต
เกมจัดหมวดหมู่ภาพกับสญั ลักษณ์ กับสญั ลักษณ์ การจับคู่และเปรยี บเทียบ
จับคแู่ ละ ทางภาษา กบั สญั ลักษณ์ตัวอักษร 2. แบง่ เด็กเป็นกลมุ่ ตามความเหมาะสม ให้เด็ก 1 ๒. เกมการศึกษาใน ความแตกต่าง และความ
กลุม่ รบั เกมทีแ่ นะนาใหม่ไปเล่น กล่มุ อื่นๆ เล่นเกม หนว่ ยท่ผี ่านมา เหมอื นของสง่ิ ตา่ งๆท่ี
เปรียบเทียบความ การศกึ ษาชุดเดิม สงั เกตพบ
3. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวยี นสลบั เปลยี่ นกันในแต่
แตกต่าง และความ ละกลุม่ โดยทุกกลุม่ ต้องได้เลน่ เกมจดั หมวดหมู่
ภาพกับสัญลักษณ์
เหมือนของสงิ่ 4. เดก็ เก็บเกมการศึกษาเข้าที่หลงั เลกิ เลน่ แลว้

ตา่ งๆท่ีสังเกตพบ

ได้

1. เลขที่ ชื่อ-สกลุ
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.

1. การเลน่ ทากิจกรรมและปฏิบัตติ อ่ ผอู้ ่ืนอย่าง ด้านร่างกาย แบบสงั เกตพฤติกรรมเด็ก หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ท่ี 15 ตน้ ไมท้ ี่รัก ชน้ั อนุบาลปีท่ี 3
ปลอดภัยปลอดภยั
2. การรับลกู บอลทกี่ ระดอนขนึ จากพนื ดา้ นอารมณจ์ ิตใจ ด้านสงั คม ประเมินพฒั นาการ

3. การใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน้ โค้ง ด้านสติปญั ญา

4. ความสนใจมีความสขุ และแสดงออกผา่ นงาน
ศิลปะ

5. ความสนใจ มคี วามสขุ และแสดงทา่ ทาง /

เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี

6. การดูแลรกั ษาธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มด้วย
ตนเอง

7. การเลน่ หรือทางานรว่ มกบั เพ่ือนอยา่ งมีเป้าหมาย

8. การฟงั ผอู้ ืน่ พดู จนจบและสนทนาโตต้ อบอยา่ ง
ต่อเนอื่ งเชอื่ มโยงกับเรอ่ื งทฟ่ี งั
9. การอา่ นคาดว้ ยการชหี รอื กวาดตามองจดุ เร่มิ ตน้
และจดุ จบของขอ้ ความ

10. การบอกลกั ษณะการเปล่ียนแปลงของสิ่งต่างๆ
จาการสงั เกตโดยใช้ประสาทสมั ผัส

11. การจบั คู่และเปรยี บเทยี บความแตกต่างและ
ความเหมือนของสง่ิ ตา่ งๆ โดยใชล้ ักษณะที่สังเกตพบ

12. การจาแนกและจดั กลมุ่ ส่ิงต่างๆโดยใช้ตงั แต่
2 ลักษณะขึนไปเปน็ เกณฑ์

13. การเรยี งลาดบั สิง่ ของหรอื เหตกุ ารณ์อยา่ งน้อย
5 ลาดับ
14. การคน้ หาคาตอบของขอ้ สงสัยต่างๆ โดยใชว้ ธิ ี
การทหี่ ลากหลายด้วยตนเอง

หมายเหตุ

๑1. เลขท่ี ชอ่ื -สกลุ
๑2.
๑3.
๑4.
๑๕.
๑6.
๑7.
๑๘.
๑9.
๒0.
คาอธบิ าย

ระดับ ๓ ดี ครูสงั เกตพฤติกรรมเด็กรายบุคคล จดบันทึกสรปุ เปน็ รายสัปดาหร์ ะบรุ ะดบั คณุ ภาพเป็น ๓ ระดับ คือ

ระดับ ๒ พอใช้ 1. การเลน่ ทากิจกรรมและปฏิบัติตอ่ ผอู้ ่ืนอย่าง ด้านรา่ งกาย
ปลอดภัยปลอดภยั
2. การรับลกู บอลทกี่ ระดอนขึนจากพนื ด้านอารมณจ์ ติ ใจ

ระดบั ๑ ต้องสง่ เสริม 3. การใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน้ โค้ง ประเมินพฒั นาการ
ด้านสงั คม
4. ความสนใจมีความสุขและแสดงออกผา่ นงาน
ศิลปะ ดา้ นสตปิ ัญญา

5. ความสนใจ มคี วามสขุ และแสดงทา่ ทาง /

เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี

6. การดูแลรกั ษาธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มด้วย
ตนเอง

7. การเล่นหรอื ทางานรว่ มกบั เพ่ือนอยา่ งมีเป้าหมาย

8. การฟังผอู้ ืน่ พดู จนจบและสนทนาโตต้ อบอยา่ ง
ต่อเนอื่ งเชอื่ มโยงกับเรอ่ื งทฟ่ี งั
9. การอา่ นคาดว้ ยการชหี รอื กวาดตามองจดุ เร่มิ ตน้
และจดุ จบของขอ้ ความ

10. การบอกลกั ษณะการเปลย่ี นแปลงของสิ่งต่างๆ
จาการสงั เกตโดยใช้ประสาทสมั ผัส

11. การจบั คู่และเปรยี บเทยี บความแตกต่างและ
ความเหมอื นของสง่ิ ตา่ งๆ โดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบ

12. การจาแนกและจดั กลมุ่ ส่ิงต่างๆโดยใช้ตงั แต่
2 ลักษณะขึนไปเปน็ เกณฑ์

13. การเรยี งลาดบั สิง่ ของหรอื เหตุการณ์อยา่ งน้อย
5 ลาดับ
14. การคน้ หาคาตอบของขอ้ สงสัยตา่ งๆ โดยใช้วธิ ี
การทหี่ ลากหลายด้วยตนเอง

หมายเหตุ


Click to View FlipBook Version