แนวทาง “ลด ละ เลกิ เหลา กนั เถอะ”
การดูแลเชงิ รุกในชมุ ชน
สาํ หรบั ผูม ีปญั หาการดม่ื สุรา
ฉบบั ประชาชน
ฉบับส้ัน
แนวทาง “ลด ละ เลกิ เหลา กนั เถอะ”
การดแู ลเชิงรุกในชมุ ชน
สําหรบั ผมู ปี ญั หาการด่มื สุรา
ฉบบั ประชาชน
ISBN: 978-616-393-305-8
พัฒนาโดย : ดร.หรรษา เศรษฐบปุ ผา
คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม
พญ.พันธุนภา กติ ติรตั นไพบูลย
กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
จดั พิมพโดย : ศนู ยว ิจัยปญ หาสุรา (ศวส.) ภายใตการสนับสนุนจาก
สาํ นักงานกองทนุ สนับสนุนการสรางเสรมิ สุขภาพ (สสส.)
หนวยระบาดวิทยา อาคารบริหาร ช้ัน 6
คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร
15 ถนนกาญจนวนิช ตาํ บลคอหงส อําเภอหาดใหญ
จังหวัดสงขลา 90110
พมิ พครง้ั ที่ 1 : มิถุนายน 2563
จํานวนทพี่ มิ พ : 2,000 เลม
ออกแบบ/พิมพท ่ี : หจก.วนิดาการพมิ พ 14/2 หมู 5 ตําบลสันผเี สอื้
อาํ เภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหม 50300
โทรศพั ท/โทรสาร 0 5311 0503-4
•3•
“ลด ละ เลกิ เหลากนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
แนวทางสำหรบั ผูชว ยเหลือ
ในการดแู ล ประคับประคอง ผูมปี ญ หาการดื่มสรุ าในชมุ ชน ตามแนวคิด
การดแู ลเชงิ รกุ ในชุมชน ใหสามารถลด ละ เลกิ การด่มื สุราไดอยา งปลอดภยั
ผชู วยเหลอื ไดแ ก เพื่อน บุคคลใกลชดิ คนในชุมชน อาสาสมคั รสาธารณสขุ และ
ประชาชนท่ัวไป ทง้ั หญงิ และชาย อายรุ ะหวา ง 18-65 ป ที่มคี ณุ สมบตั ขิ องผูชว ยเหลอื
ตามทก่ี ำหนดไว
การดำเนินการ 3 ข้ันตอน
คน หา ผูทีต่ องการลด ละ เลิก การดมื่ สุรา
ชวนทำสญั ญาใจ เพอ่ื ใหมงุ มนั่ เปล่ยี นแปลงตนเอง
ชวยใหปรบั เปลย่ี นการใชชวี ติ โดยเคยี งคู ดูแล ติดตาม ชว ยเหลือ
เนน การปรบั เปล่ยี นการใชช วี ติ 9 ดา นสำหรบั เปน ภมู คิ มุ กนั ชวี ติ ใหส ามารถประคองตน
ในการลด ละ เลกิ การดม่ื สรุ าไดอยา งปลอดภัย และมสี ขุ ภาพดี
ดำเนนิ การอยา งนอ ยสัปดาหละหนง่ึ คร้ัง นาน 12 สปั ดาห
หลงั จากนัน้ ติดตามตอ ตามความเหมาะสม
การปรับเปล่ียนชีวิต 9 ดา น
1. การดแู ลท่ีอยูอาศัย 2. การดแู ลกจิ วตั รประจำวัน
3. การจัดการกับภาวะวิกฤต 4. การเขารับบริการสขุ ภาพ
5. การดูแลเร่ืองยา 6. การสงเสรมิ สุขภาพ
7. การสรางโอกาสในการทำงาน 8. การจัดการเงิน 9. การรบั การปรึกษา
•4•
“ลด ละ เลิกเหลากันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
“ลด ละ เลิกเหลา กนั เถอะ”
(Let’s Stop Drinking!)
เนน การดูแล ประคับประคอง
ผมู ปี ญหาจากการดมื่ สรุ าในชมุ ชน
โดยผชู วยเหลือ ตามแนวคดิ การดูแลเชงิ รุกในชมุ ชน
ใหส ามารถลด ละ เลกิ การดมื่ สุราไดอยางปลอดภัย
และมีชวี ติ อยอู ยางมคี วามสุข
ในครอบครัวและสังคม
•5•
“ลด ละ เลิกเหลา กนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
แนวคิดการดแู ลเชงิ รกุ ในชุมชน
ฉบบั ประชาชน
เปนหลกั การดแู ลผมู ีปญ หาการดมื่ สรุ า
ในโครงการใกลบ านสมานใจ และโครงการโทรถามตามเย่ียม
(หรรษา เศรษฐบุปผา และคณะ, 2553-2562)
เนน การดแู ล 3 ดา น 9 องคประกอบดงั น้ี
การบาํ บัดดูแล (Treatment) การฟนื้ ฟสู ภาพ
• การดูแลเร่ืองยา (Rehabilitation)
• การจัดการกบั ภาวะวิกฤต
• การใหคำปรกึ ษา • การสงเสริมสุขภาพ
• การดแู ลกจิ วตั รประจำวนั
การบริการสนบั สนนุ ประคับประคอง (Support service)
• การสรา งโอกาสในการทำงาน • การเขารับบรกิ ารสุขภาพ
• การดแู ลทอี่ ยูอ าศัย • การจัดการเงิน
•6•
“ลด ละ เลิกเหลา กันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
แนวทาง “ลด ละ เลิกเหลา กนั เถอะ”
สำหรับผูชว ยเหลือ 3 ขนั้ ตอน
คนหา ผูที่ตอ งการลด ละ เลิก การดืม่ สรุ า
ชวนทำสัญญาใจ
เพ่อื ใหม ุง มน่ั เปล่ยี นแปลงตนเอง
ชวยใหป รับเปลี่ยนการใชช ีวิต
ปรบั เปลยี่ นการใชชีวิต 9 ดาน ใหเปนภมู คิ มุ กนั
ในการประคองตนในการลด ละ เลกิ การด่ืมสุรา
ไดอยางปลอดภยั และมีสุขภาพดี
ดว ยการประเมนิ สังเกต ซกั ถาม ใหความรู
คำแนะนำ การฝก ทักษะ และบันทึกในแบบบันทกึ
โดยผชู วยเหลือ
•7•
“ลด ละ เลกิ เหลา กนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
ผูชว ยเหลือ
ไดแก เพ่ือน บคุ คลใกลชิด คนในชุมชน
อาสาสมัครสาธารณสขุ และประชาชนทั่วไป
ท่ีมีคุณสมบัติดงั น้ี
1. อายุระหวา ง 18-65 ป
2. มีจติ สาธารณะในการชว ยเหลอื ผูอ่ืน
3. มคี วามตอ งการใหผมู ีปญหาการใชส ุรา ลด ละ เลกิ การดื่มสรุ า
4. มีการเกบ็ การรักษาความลบั
5. มเี วลาในการใหการดูแลชวยเหลอื ตามโปรแกรม
6. มคี วามสะดวกในการดำเนนิ การในพ้ืนที่ท่ีผมู ีปญหาการดมื่ สุราอาศยั อยู
7. ไดร ับการอบรมความรแู ละทักษะในการชว ยดูแลตามแนวทาง
ลด ละ เลกิ เหลากันเถอะ
•8•
“ลด ละ เลกิ เหลากันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
จำนวนคร้งั ในการดำเนนิ การ
12อยางนอยสปั ดาหละหนึง่ ครง้ั
นาน สัปดาห
หลงั จากน้ันติดตามตอตามความเหมาะสม
•9•
“ลด ละ เลกิ เหลา กนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
เอกสารและคมู ือ
1. แนวทาง “ลด ละ เลกิ เหลากันเถอะ”
การดแู ลเชงิ รุกในชุมชน สำหรบั ผมู ีปญหาการด่มื สุรา
ฉบับประชาชน
2. คมู ือสำหรับผชู ว ยเหลอื ตามแนวทาง
"ลด ละ เลิกเหลา กนั เถอะ" การดแู ลเชิงรุกในชมุ ชน
สำหรบั ผมู ีปญ หาการด่ืมสุรา ฉบบั ประชาชน
3. เอกสาร เตรียมตัวดไี มม ดี มื่
(แนวทางการปรับเปล่ยี นการใชช วี ิต สำหรับผูมปี ญ หาการดม่ื สรุ า)
4. แบบบันทกึ “ลด ละ เลิกเหลากันเถอะ”
• 10 •
“ลด ละ เลกิ เหลา กนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
แบบบนั ทกึ “ลด ละ เลิกเหลากันเถอะ” สําหรบั ผูชวยเหลอื
ชือ่ ผูชวยเหลือ ...................................................... ใหทาํ เครอ่ื งหมาย X หนาขอ ความท่ีตรงกบั ความเปน จริงทเี่ กิดขนึ้ และเพ่ิมเติมขอ ความตามประเด็นใหครบถว น
ช่อื ผูมีปญหาการด่ืมสุรา ......................................
ครงั้ ที/่ วันท/ี่ เวลา .................................................. 1. การดูแลกจิ วตั รประจําวนั ดแู ลความสะอาดของรางกาย ทานอาหาร 3 ม้ือ 5 หมู นอนหลับตามเวลา
พดู ดี (ขอโทษ ขอบคุณ หรือเงียบไมโตเถยี งดวยอารมณ)
พฤตกิ รรมการดม่ื สรุ าในปจ จบุ นั (ปรมิ าณ/ความถ)่ี /
คําแนะนํา 2. การดแู ลทีอ่ ยอู าศยั ภายในบา นสะอาด อากาศถายเท เปน ระเบียบ
............................................................................... ภายนอกบาน ไมมีส่ิงกระตุนการอยากสรุ า และอปุ กรณที่เปน อนั ตราย
...............................................................................
อาการขาดสรุ า/คําแนะนาํ 3. การจดั การกบั ภาวะวิกฤต มอี าการอยากสุรา จัดการโดย ..........................................................................................
............................................................................... มีสง่ิ ยึดเหนย่ี วจิตใจไมใ หด่ืมสุรา ไดแก .............................................................................
............................................................................... มีอาการเมาสรุ า จดั การโดย .............................................................................................
ปญ หาทเี่ กดิ ขึ้นจากการดืม่ สรุ า/คาํ แนะนาํ มีอาการขาดสรุ า จัดการโดย ............................................................................................
............................................................................... มอี าการเจบ็ ปวยทางกาย หรือทางจติ จดั การโดย ............................................................
...............................................................................
4. การเขารับบริการสุขภาพ มสี ิทธกิ์ ารรับบริการสุขภาพของตนเอง ไดแก ..................................................................
การใหการปรึกษา
............................................................................... 5. การดแู ลเรอ่ื งยา มยี ารักษาอาการขาดสรุ า ไดแก .......................................................................................
............................................................................... ดูแลโดย ..........................................................................................................................
การเสรมิ สรา งแรงจงู ใจใหล ด ละ เลกิ การดม่ื สรุ า
............................................................................... มียารกั ษาอ่นื ไดแ ก .........................................................................................................
............................................................................... ดูแลโดย ..........................................................................................................................
6. การสง เสริมสุขภาพ ดูแลตนเองใหแขง็ แรงโดย ................................................................................................
ดูแลจติ ใจใหแ ขง็ แรงโดย ..................................................................................................
มีทกั ษะการควบคมุ อารมณ
มที ักษะการปฏิเสธ
7. การสรางโอกาสในการทํางาน วา งงาน มงี านทํา ไดแก ..............................................................................
8. การจดั การเงิน ทาํ แผนการใชเ งนิ ทาํ บญั ชรี ายรบั -รายจา ย มกี ารออมเงนิ ทเ่ี หลอื จากการเลกิ ดม่ื สรุ า
แนวทาง “ลด ละ เลิกเหลากนั เถอะ” พฒั นาโดย ดร.หรรษา เศรษฐบุปผา, พญ.พันธนุ ภา กิตตริ ัตนไพบูลย
ศนู ยประสานงานโครงการ คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม ถนนอนิ ทวโรรส ตําบลศรีภมู ิ อําเภอเมืองเชยี งใหม จงั หวัดเชียงใหม โทรศพั ท 0 5394 9014
แนวทาง “ลด ละ เลิกเหลากนั เถอะ”
มีการดำเนินการ 3 ระยะ
ระยะ เตรียมความพรอ มของ
เตรยี มการ ผูช วยเหลอื ประสานทมี สุขภาพ
ในสถานบรกิ ารสุขภาพใกลบา น
ประสานชมุ ชน
คนหา ทำสญั ญาใจ ดำเนนิ รกะยาะร
ชว ยใหปรับเปล่ียนการใชชีวติ
ระยะ ประมวลผล และวางแผน
ดแู ลตอ เนือ่ ง
ประมวลผล
• 14 •
“ลด ละ เลกิ เหลา กันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
ระเยตะ รียมการ
• 15 •
“ลด ละ เลิกเหลา กนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
เตรยี มความพรอม
ผูชวยเหลือ
รับการอบรม เพิ่มพนู ความรู
เก่ยี วกับ
• การดูแลเชิงรกุ ในชมุ ชนสำหรบั ผูม ปี ญ หาการดม่ื สรุ า ฉบบั ประชาชน
ตามแนวทาง “ลด ละ เลกิ เหลากันเถอะ” (คมู อื สำหรับผชู วยดูแล)
• การประเมินอาการขาดสรุ า
• การบนั ทึกในแบบบันทกึ “ลด ละ เลกิ เหลากนั เถอะ”
• 16 •
“ลด ละ เลกิ เหลา กนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
ประสานทีมสุขภาพ
ในสถานบริการสุขภาพใกลบ าน
ติดตอ บุคลากรสขุ ภาพ
ในสถานบรกิ ารใกลบานเพอื่ เปนพเี่ ล้ยี งในการใหก ารชว ยเหลือ
หากจำเปน ตองรกั ษาอาการขาดสรุ า
และเปนที่ปรกึ ษาเกยี่ วกบั สุขภาพของผูมีปญ หาการดืม่ สรุ า
ในระหวางดำเนนิ การตามแนวทาง
• 17 •
“ลด ละ เลกิ เหลากันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
ประสานชมุ ชนใกลบ า น
(ตามความเหมาะสม)
ติดตอผูนำชุมชน
เพื่อขอความรวมมอื ในการประสานงานกบั หนว ยงาน
ที่เกีย่ วของทจี่ ะชว ยในการเตรียมการ ดำเนนิ การ
รวมท้งั การประมวลผล ตดิ ตามตอเนื่อง
ใหผ ชู ว ยเหลอื สามารถชวยใหผูม ปี ญหา
การดื่มสุราสามารถ ลด ละ เลิก การดื่มสุราไดในทส่ี ุด
• 18 •
“ลด ละ เลกิ เหลา กันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
ระยะ
ดำเนินการ
• 19 •
“ลด ละ เลิกเหลากนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
1
คน หา:
คนหาผูมปี ญ หาการดื่มสรุ า
คนหา ผทู ีม่ ีพฤตกิ รรมด่ืมสุราในปริมาณมาก เปนประจำตอ เน่อื ง
และดื่มเปน ระยะเวลานาน หรอื มปี ญ หาจากการใชสุราบอ ยคร้ัง เชน
ปญ หาการเจบ็ ปวย ปญ หาครอบครัว ปญหาการทำงาน การเกดิ อบุ ตั ิเหตุ เปน ตน
หรือ มีอาการขาดสรุ าเมื่อไมไ ดด ่มื เชน มอื สนั่ เหงื่อออก ประสาทหลอน เปนตน
(ตามแบบประเมินอาการขาดสรุ า)
และมีความตองการอยากลด ละ เลิกการดื่มสรุ าเพือ่ ชวี ิตท่ีดี
เพ่อื เตรียมความพรอ มในการเขารว มโครงการ
• 20 •
“ลด ละ เลกิ เหลา กนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
แบบประเมนิ อาการขาดสรุ า
ประเมนิ อาการทอ่ี าจเกิดได
หลังลดหรอื หยดุ ดืม่
อาการขาดสุรา มอี าการ ไมมีอาการ
เหงอ่ื ออก
มือสั่น
วติ กกงั วล
กระสับกระสาย
มีไข ตวั รอน
ประสาทหลอน
(เห็น/ไดยนิ ในสิ่งท่ไี มจริง)
สูญเสียการรบั รู
วนั เวลา สถานที่
**หากประเมินพบอาการหลายขอ และอาการรนุ แรงมาก
ตอ งรีบติดตอ สถานบริการใกลบา นเพ่ือรกั ษาอาการขาดสุรา
• 21 •
“ลด ละ เลกิ เหลากนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
เตรียมความพรอ ม
ผูมปี ญหาการดื่มสรุ า
โนม นา ว และชว ยนำพาผูมีปญหาการดืม่ สรุ า ทีม่ อี าการขาดสุรารุนแรง
ใหเขา รับการประเมนิ ความพรอมในการลด ละ เลิกการดืม่ สรุ า
ท่ีสถานบริการสขุ ภาพใกลบาน โดยผูมีปญ หาการดมื่ สรุ าทม่ี อี าการ
ขาดสุรารนุ แรง อาจจำเปนตอ งไดร บั ยาชวยเหลือ
เพอ่ื บรรเทาอาการรนุ แรงของการขาดสุรา
• 22 •
“ลด ละ เลกิ เหลา กันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
บอกวัตถปุ ระสงค
และมอบเอกสารเตรยี มตัวดีไมม ดี มื่
• บอกวัตถุประสงค เพ่อื ชวยใหผ ูมปี ญหาการดมื่ สุราลด ละ เลกิ การด่มื สรุ า
และสามารถใชชวี ติ ไดอยางมีความสุขในครอบครัวและสงั คม
• บอกกจิ กรรมตามโปรแกรม ไดแก
1. มีการลงพ้ืนที่ หรือโทรศพั ท อยา งนอย
สปั ดาหล ะหนึ่งครัง้ นาน 12 สัปดาห
หลงั จากนั้นตดิ ตามตอตามความเหมาะสม
2. ผมู ีปญหาการด่ืมสรุ าจะไดร บั การประเมนิ
สังเกต ซกั ถาม การใหค วามรู
คำแนะนำ หรือการฝก ทกั ษะ 9 ดาน
• 23 •
“ลด ละ เลิกเหลากนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
2
ทำสัญญาใจ:
ลงนามเพอื่ แสดงความตั้งใจ
ในเอกสารสัญญาใจ
เอกสารสญั ญาใจ
ตามแนวทาง “ลด ละ เลกิ เหลา กันเถอะ”
ขา พเจา ...................................................................ขอลงนาม
ในสัญญาใจฉบับนี้เพ่ือเปนการแสดงวาขาพเจาพรอมที่จะลด ละ
เลิกการดื่มสุรา เพื่อใหขาพเจา มชี ีวิตที่ดี และมีความสขุ ตอไป
ขอสิ่งศักด์ิสิทธ์ิท้ังหลายปกปองคุมครองใหขาพเจาและ
ครอบครวั มีแตค วามสขุ ความเจริญ และสามารถนาํ ตนเองใหหาง
ไกลจากสุราไดตลอดไป
ภาพถา ย
.......................... .......................... ..........................
ผมู หี วั ใจเพชร ผูช วยเหลอื พยาน
• 25 •
“ลด ละ เลกิ เหลา กนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
นดั หมาย:
ทำตารางนดั หมาย 12 ครง้ั /12 สปั ดาห
ตกลงเรอ่ื งชองทางการส่อื สาร
• การนัดหมายเพือ่ ลงพนื้ ท่ี หรือโทรศัพทต ามเยีย่ ม อยา งนอยสปั ดาหละ
หน่ึงคร้ัง นาน 12 สัปดาห หลงั จากน้ันติดตามตอ ตามความเหมาะสม
• กำหนดชองทางการส่อื สาร เชน โทรศัพท ไลน เฟซบกุ ฝากบุคคล
ในพ้ืนท่ีไปแจง ลว งหนา
• ขอความรวมมือ ใหผ มู ปี ญหาการดืม่ สุราใหงดการด่มื สรุ าในวนั นดั หมาย
และขอความรว มมอื ญาติ หรือคนในชุมชนชวยดูแล
• 26 •
“ลด ละ เลกิ เหลา กันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
3
ชว ยใหป รับเปล่ยี นการใชชีวติ
ประเมนิ สงั เกต ซักถาม ใหความรู คำแนะนำ
หรือการฝกทกั ษะในทกุ ดาน และใหความรู
เพิ่มเติมในการดูแลตนเอง
1ครั้งที่ การจัดการกิจวตั รประจำวัน การจดั การที่อยูอาศัย
การใหก ารปรกึ ษา
2ครง้ั ท่ี การจัดการกบั ภาวะวิกฤต การเขารับบริการสุขภาพ
การใหก ารปรึกษา
3คร้งั ที่ การรบั ประทานยา การสง เสริมสขุ ภาพ
การใหก ารปรกึ ษา
4คร้งั ท่ี การสรางโอกาสในการทำงาน การจัดการเงิน
การใหการปรึกษา
5ค-ร้ัง1ท2ี่ ติดตามกจิ กรรมทงั้ 9 ดา น และ
การใหการปรึกษา
• 27 •
“ลด ละ เลิกเหลากนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
ประเมินอาการขาดสุรา
1. โดยผชู วยเหลือ
ประเมินอาการขาดสุราของผมู ปี ญ หา
การดม่ื สุราทกุ คร้ังในการลงพ้ืนท่/ี
โทรศัพทต ิดตามทุกคร้งั
2. โดยผมู ีปญ หาการด่ืมสุรา หรอื ญาติ
ประเมินอาการขาดสรุ า เชา เย็น
และหยุดประเมนิ เมอ่ื สามารถหยดุ ดม่ื
ไดเ กนิ สองสปั ดาห
**ถามอี าการไมร นุ แรง ใหด แู ลตามอาการ และหากมอี าการเพม่ิ ขน้ึ เร่ือยๆ
ใหปรึกษาบุคลากรสุขภาพใกลบา น เพ่ือรับการรักษา
• 28 •
“ลด ละ เลกิ เหลากันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
ปรระะยมะวลผล
• 29 •
“ลด ละ เลิกเหลากนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
ประมวลผล:
การเปลี่ยนแปลงการดื่ม
แบบบันทกึ /แบบสอบถาม
1. ระหวางดำเนนิ การ ประเมนิ เมื่อส้นิ สุดเดอื นที่ 1-2 และ 3
ผลลัพธ
1.1 การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการดื่ม – ดม่ื เพ่มิ ดม่ื เทา เดิม ลดการดม่ื หยุดด่มื
1.2 ปญ หาที่เกิดจากการดม่ื – 9 ดาน
การดำเนินการ
– ปญ หาการดำเนินการ สรปุ ปญ หา
อปุ สรรค และการแกไข
2. สนิ้ สดุ การดำเนนิ การ
- สรปุ ขอ เสนอแนะในการนำโปรแกรมไปใช
- ประมวลกุญแจแหง ความสำเร็จ
ทส่ี งเสรมิ ใหเ กิดความสำเรจ็ ตามโปรแกรม
- จดั ทำรายงานสรุปนำเสนอไปยงั สถานบริการสุขภาพ
ในชุมชน
• 30 •
“ลด ละ เลกิ เหลา กันเถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
วางแผนการดูแลตอเนอื่ ง
เสรมิ ความมั่นใจและใหก ำลังใจ
อาจวางแผนในการติดตามตอ เนือ่ ง
จนครบ 1 ป (แลวแตก รณี)
• 31 •
“ลด ละ เลกิ เหลากนั เถอะ” (Let’s Stop Drinking!)
การลด ละ เลกิ การด่ืมสรุ า
เปนความรบั ผดิ ชอบของผดู ม่ื
การเขา ใจ ใสใจ ใหก ำลังใจ และสนับสนนุ
ให ลด ละ เลกิ
เปนความรบั ผิดชอบของผชู ว ยเหลือ
“ทกุ วนั ที่ไมดม่ื และไมกอ ปญ หา มีความหมาย”
แนวทาง “ลด ละ เลกิ เหลา กันเถอะ”
การบำบัดดแู ลเชิงรุกในชุมชนสำหรบั ผูมปี ญหาการด่ืมสุรา ฉบับประชาชน
กติ ตกิ รรมประกาศ
ฉบบั สั้น
ขอบคุณ ผูมสี ว นเกย่ี วของในการพฒั นา ทดลองใช วิทยากรวิพากษ
คณะกรรมการนเิ ทศ คณะกรรมการกำกบั ทศิ บคุ ลากรสุขภาพ
ผูมีปญหาการดม่ื สุรา ญาติ บคุ คลในชมุ ชน รวมถงึ ผูมสี ว น
ในการขับเคลื่อน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
ศนู ยวจิ ยั ปญหาสรุ า (ศวส.) ภายใตก ารสนบั สนุนจาก
สํานักงานกองทุนสนับสนนุ การสรางเสริมสขุ ภาพ (สสส.)
หนว ยระบาดวทิ ยา อาคารบรหิ าร ชัน้ 6
คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร
15 ถนนกาญจนวณชิ ย ตาํ บลคอหงส อาํ เภอหาดใหญ จงั หวดั สงขลา 90110