The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อารยธรรมอินเดีย ลุ่มแม่น้ำสินธุ ม.6:2 เลขที่ 14

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Napatchon04408, 2021-08-26 10:29:12

อารยธรรมอินเดีย ลุ่มแม่น้ำสินธุ ม.6:2 เลขที่ 14

อารยธรรมอินเดีย ลุ่มแม่น้ำสินธุ ม.6:2 เลขที่ 14

อารยธรรมอินเดีย
ล่มุ แมน่ าํ สนิ ธุ

By ณภัทรชนม์ ศรมี งคล ม.6/2 เลขที14

คํานํา

หนังสอื E-book เลม นี้จดั ทาํ ข้ึนเพ่อื ใชป ระกอบการเรยี น
รายวิชาอารยธรรมโลก (ส33101) ในระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
โดยเน้ือหาประกอบไปดวยประวัตคิ วามเป็นมา เหตุการณตา งๆ
ในอารยธรรมอนิ เดยี ลุมแมน้ําสินธุ

ผูจดั ทาํ หวงั วาหนังสอื E-book เลม นี้จะเป็นประโยชนตอ ผู
อาน นักเรียนหรอื นักศกึ ษาและผทู ี่สนใจเกี่ยวกบั อารยธรรม
อนิ เดียลุมแมน ้ําสนิ ธุ

ณภทั รชนม ศรีมงคล
(ผจู ดั ทาํ )

1

ประวัติความเปนมา
อารยธรรมอินเดยี ลมุ่ แม่นาํ สินธุ

สมัยก่อนประวัติศาสตร์

ยคุ โลหะของอนิ เดยี เริมเมอื ผคู้ นรู้จกั ใชท้ องแดงและสํารดิ เมือประมาณ2,500
ป ก่อนคริสต์ศักราช และร้จู ักใชเ้ หลก็ ในเวลาต่อมา พบหลกั ฐานเปนซากเมือง
โบราณ 2 แห่ง ในบริเวณทีราบลุ่มแมน่ ําสินธุ คือ

(1) เมืองโมเฮนโจ ดาโร ( Mohenjo Daro ) ทางตอนใตข้ องประเทศปากีสถาน
(2) เมอื งฮารบั ปา ( Harappa ) ในแคว้นปนจาป ประเทศปากสี ถานในปจจบุ ัน

2

สมยั ประวตั ศิ าสตร์

อินเดียเข้าสู่ “สมยั ประวตั ศิ าสตร”์ เมอื มีการประดษิ ฐ์ตัว
อกั ษรขนึ ใชป้ ระมาณ 700ป ก่อนครสิ ตศ์ ักราช โดยชนเผ่าอนิ โด –

อารยัน
( Indo – Aryan ) ซึงตงั ถินฐานในบรเิ วณลุม่ แมน่ าํ คงคา สมัย

ประวัตศิ าสตรข์ องอนิ เดยี แบ่งเปน 3 ยคุ ดงั นี

(1) ประวตั ศิ าสตร์สมัยโบราณ เรมิ ตงั แต่การถือกาํ เนิดตวั อกั ษร
อนิ เดยี โบราณ ทเี รยี กว่า “บรามิ ลิป” ( Brahmi lipi ) เมอื ประมาณ
700 ปกอ่ นคริสตศ์ ักราช และสินสุดในราวคริสต์ศตวรรษที 6 ซึง
ตรงกบั สมยั ราชวงศ์คุปตะ ( Gupta ) เปนยคุ สมัยทศี าสนาพราหมณ์

ฮินดู และพระพุทธศาสนาไดถ้ อื กําเนดิ ขึนแลว้
(2) ประวตั ิศาสตร์สมัยกลาง เรมิ ตังแต่เมอื ราชวงศ์คุปะสินสุดลง
ประมาณครสิ ตศ์ ตวรรษที 6 จนถึงตน้ คริสตศ์ ตวรรษที 16 เมือ
กษัตริยม์ ุสลมิ สถาปนาราชวงศ์โมกุล ( Mughul ) และเขา้ ปกครอง

อินเดยี
(3) ประวตั ิศาสตรส์ มัยใหม่ เริมตงั แต่ต้นราชวงศ์โมกุล ในราว
ครสิ ต์ศตวรรษที 16 จนถึงการไดร้ บั เอกราชจากองั กฤษ ในป ค.ศ.

1947

โมแฮนโจ - ดาโร 3

แหล่งอารยธรรมสมยั ก่อน
ประวตั ิศาสตรอ์ ินเดยี

แหล่งอารยธรรมสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์อินเดีย
อย่บู รเวณลมุ่ แมน่ าํ สินธุในปากีสถาน และมกี าร

พบซากเมอื งโบราณ ได้แก่ โมแฮนโจ-ดาโร
และ ฮารัปปา

ฮารปั ปา

เน่ืองจากภมู ิประเทศของอนิ เดีย
มีลักษณะเป็นรปู สามเหลย่ี มขนาดใหญ
มเี ทือกเขาหมิ าลัยกนั้ อยูทางตอนเหนือ
มีเทือกเขาฮินดุกุชอทู างตะวันตกเฉียง

เหนือทางดา นตะวนั ตกตดิ กับทะเล
อาหรับสวนทางดา นตะวันอออกติดกบั
มหาสมทุ รอินเดียไปจนถึงอาวเบงกอล
ดังนัน้ ผูท ี่เดินทางโดยทางบกเขา มายงั

บริเวณนี้ในสมัยโบราณตองผา น
ชองเขา

เเททื ืออกกเเขขาาหหิ ิมมลลั ัยย ทเี่ รียกวา ชอ งเขาไคเบอรซ ่งึ เป็นหนทาง
เดียวทจี่ ะเขา สูอ ินเดียในสมยั โบราณ

เก่ยี วของกับประวตั ศิ าสตรอินเดียตลอด
มาเพราะเสนทางนี้เป็นทางผา นของกอง

ทัพของผรู ุกรานและพอ คา จากเอเชีย
กลาง อฟั กานิสถานเขา สูอินเดีย เพราะ

เดินทางทส่ี ะดวก

4

ศิลปะอินเดยี ล่มุ แมน่ าํ สนิ ธุ โมเฮนโจดาโร-ฮารปั ปา

ศลิ ปะในประเทศอินเดยี มมี าอยา งยาวนานมากกวา 4,500 ปี นับวาเป็น
ศลิ ปะท่ีมคี วามโดดเดน ไมแ พศ ลิ ปะใด ๆ ในโลกนี้ อกี ทงั้ ยังมีอิทธพิ ลมากมายใหก บั
ประเทศหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต การศกึ ษา
ศิลปะอนิ เดยี จึงเป็นรากฐานท่ีสําคญั ในการศกึ ษาศิลปะในภูมภิ าคนี้และประเทศไทย
สําหรบั ประเทศไทยรบั รับอิทธิพของศลิ ปะอินเดีย ทงั้ ใน สถาปัตยกรรม
ประติมากรรม รวมถงึ คติความเช่ือของการสรางงานศลิ ปะดว ย

ประเทศอนิ เดียเป็นดินแดนอารยธรรมแหง
หน่ึงของโลกทม่ี กี ารรับอารยธรรมจากภายนอกและเผย
แพรอารยธรรมไปสดู นิ แดนตา ง ๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงใน
เอเชยี ตะวนั ออกและเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต ประเทศ
อินเดียไดร บั อิทธพิ ลทางศิลปะจากตา งประเทศ 4 ครัง้
คอื ครงั้ ที่หน่ึง ประมาณ 2,000 ปีกอ นพุทธศักราช
อทิ ธพิ ลจากประเทศเมโสโปเตเมยี ไดแ พรเ ขามาในลุม
แมน ้ําสินธจุ นถงึ ประมาณ 1,000 ปีกอ นพทุ ธศกั ราช เม่อื
ชาวอารยันไดบ ุกรุกอนิ เดยี และทาํ ลายอารยธรรมดงั้ เดมิ
ครงั้ ท่สี อง ราวพุทธศตวรรษที่ 3 ไดรับอิทธิพลศลิ ปะจาก
อหิ รานและกรกี ครงั้ ทส่ี ามพุทธศตวรรษที่ 6 ไดร บั
อิทธิพลของกรีกและโรมนั เขามามบี ทบาทตอ ศิลป
อนิ เดยี และครงั้ ทสี่ พ่ี ุทธศตวรรษท่ี 16 กลมุ มสุ ลิมซ่ึง
นับถือศาสนาอสิ ลามไดรกุ รานอินเดียและพทุ ธศตวรรษท่ี
21 ราชวงศโมกุลเขา ครอบครองอินเดยี ศลิ ปะอินเดีย
ระยะตอมาก็ไดร บั อทิ ธพิ ลของอหิ รา น

5

ศิลปะสมัยก่อนอินเดยี

รากฐานศิลปะกอนอนิ เดยี คือวัฒนธรรมทีใ่ ชภาษาสันสกฤต มี
ศิลปะท่ีเมอื งหะรัปปา (Harappa) และโมเหนโช-ดาโร (Mohenjo-
daro) ทางแถบลมุ แมน ้ําสินธุ เม่อื 1,500 ปีกอนพุทธศักราช
อารยธรรมบนลุมแมน ้ําสนิ ธุ

แมวาอารยธรรมอนิ เดยี จะเจรญิ
รงุ เรอื งมาแลว แตค รัง้ โบราณ แตตราบ
จนปลายศตวรรษท่สี บิ แปดกย็ งั ไมมี
การรเิ รมิ่ ศึกษาและคนควา กนั อยาง
จรงิ จงั จนมาถึงในศตวรรษที่สบิ เกา
การคน ควาเกี่ยวกบั อารยธรรมของ
อนิ เดียโบราณ ก็ยงั คงเป็นไปทาง
วรรฑคดีและภาษาเป็นสว นใหญจาก
หลกั ฐานทมี่ ีอยจู นกระทงั่ ค.ศ. 1862
รฐั บาลอินเดียจงึ ไดเ รมิ่ ตงั้ สมาคมทาง
โบราณคดีข้ึน การคนพบโบราณวัตถทุ ่ี
สําคัญในอินเดียภายใตการนํ าของ
เซอร จอหน มารแ ชล (Sir John
Marshall) คอื การคน พบอารยธรรม
แถบลุมแมน้ําสินธุ (Indus
Civilization) ใกลก บั เมืองฮารปั ปา
(Harappa) แถบแควนปัญจาบ ใน
ค.ศ. 1912

6

ทัง้ เมอื งโมเฮ็นโจดาโร และฮารปั ปานี้มผี งั เมอื งอยางเดียวกนั จาก
การขุดคนพบซากเมอื งเกา พบวามบี านเลก็ และบา นใหญเ ป็นจํานวนมาก
มปี ระตู หน าตา ง พ้นื บอ ทอระบายน้ําและยังมีสถานทสี่ าธารณะ เชน ที่
อาบน้ําใหญ ซ่งึ มบี อ น้ําลอ มรอบดว ยหอ งอาบน้ําเล็ก ๆ และระเบยี ง มี
ถนนกวาง มีทางระบายน้ําอยางดี ซ่ึงแสดงใหเห็นวาผูส รางตองเป็นผู
ชาํ นาญการในการออกแบบกอ สรางดีมากดว ยส่งิ ที่นาท่งึ ในการขดุ พบครัง้
นี้ คือการขดุ พบตึกหลายชนั้ ทีเ่ มอื งโมเฮ็นโจดาโร สันนิษฐานวา เม่ือเมือง
ชนั้ หน่ึงถกู ทับถมข้นึ มาดว ยการพอกพูนของแผน ดนิ หรอื น้ําทวม กม็ ีการ
สรา งเมืองใหมล งบนทเ่ี กาตามแผนผงั เมอื งเกา การคนพบเมืองเกานี้
ทาํ ใหแลเหน็ ชีวิตความเป็นอยูและการทํามาหากนิ ของคนดว ย เม่อื พวก
อนิ โดอารยันเขามาหลงั สมัยโมเฮ็นโจดาโรแลว ก็พบวาพวกดราวเิ ดียน
เช่อื ภตู ผีปีศาจ และเทพท่สี ถิตตามตน ไม ลาํ ธาร ภเู ขา ซ่งึ มีโชคลาง
แอบแฝงอยูทวั่ ไป พวกดราวเิ ดยี นบชู างตู าง ๆ โดยเฉพาะงเู หา ดวยถอื
เป็นสญั ลักษณของพระศิวะ ซ่งึ เป็นเทพเจาแหง ความอดุ มสมบูรณ

7

เผา่ พันธุ์

ชนพืนเมือง ดราวิเดียน

ชนพนื เมอื ง ดราวเดยี น หรอทเี รยกวา่
ฑราวท มิลกั ขะ พวกเขามีลกั ษณะรูปร่าง

เล็ก ผวิ คลํา จมูกแบนกวา้ ง

ชาวอารยัน

เปนพวกทอี พยพเคลือนยา้ ยจากดนิ แดนเอเชียกลาง
ลงมายงั ตอนใต้กระจายไปตังถิน ฐานในพนื ทตี า่ งๆ
พวกดราวเดยี นให้ถอยร่นลงไปหรอจบั ตัวเปนทาส พวก
อารยนั มีรูปร่างสงู ใหญ่ผวิ ขาว จมกู โดง่ คล้ายกบั ชาว

อินเดียทีอยทู่ างตอนเหนืออารยนั

8

ความเชอื ระบบวรรณ

ในสงั คมชาวอนิ เดยี ทส่ี วนใหญน ับถอื ศาสนาฮินดหู รือศาสนา
พราหมณ ซ่งึ มคี วามเช่ือในเทพเจา ผเู ป็นใหญคือ "พระพรหม"
วา เป็นผสู รางโลก มนษุ ยเราเกิดจากการสรา งดวยอวัยวะตา งๆ

ของพระพรหม กอใหเกิดเร่ืองชนชนั้ วรรณะ 4 นี้ข้ึนมา

(สิง่ ท่ปี กปิด, รปู ลักษณภายนอก, สี, สผี วิ ) เป็นสง่ิ ที่
กําหนดไวในคัมภีรทางศาสนาฮนิ ดู ซ่งึ มีปรากฏครัง้
แรกในปรุ ุษสุกตะ ซ่ึงเป็นโศลกหน่ึงในคัมภีรฤคเวท
ยคุ หลัง วา วรรณะตางๆ นัน้ เกิดข้ึนจากอวัยวะสว น
ตา งๆ ของพระผเู ป็นตน กําเนิดของสรรพสง่ิ ในจักรวาล

ท่เี รยี กกันวา บุรุษ โดยพราหมณนัน้ เกิดจากปาก
กษตั รยิ เ กิดจากมือ แพศยเ กิดจากลําตวั และศทู รนัน้
เกดิ จากเทา การแบง กลมุ เหลานี้แสดงถงึ การแบงกลุม

ตามลกั ษณะหน าท่ีของคนในสงั คม

ตงั้ แตสมัยโบราณวรรณะที่สําคญั มี 4 วรรณะ ไดแก

1) วรรณะพราหมณ ไดแก นักบวช นักวิชาการ นักการเมือง
2) วรรณะกษตั รยิ  ไดแ ก นักรบ ขาราชการ
3) วรรณะแพศย ไดแก พอ คา นักธรุ กจิ
4) วรรณะศูทร ไดแก ผใู ชแรงงาน ชาวนา กรรมกร

9

การปกครองและกฎหมาย

บา้ นเมอื งในลุ่มแม่นําสินธุ มรี ่องรอยของการปกครองแบบรวม
อาํ นาจเข้าศูนยก์ ลาง ทังนเี หน็ ได้จากรูปแบบการสร้างเมอื

งอารัปปาและ เมืองเฮนโจ-ดาโร ทีมีการวางผงั เมืองในลกั ษณะ
เดียวกนั มกี ารตัดถนนเปนระเบยี การสร้างบา้ นใช้อฐิ ขนาด

เดียวกนั ตัวเมืองมกั อยู่ใกล้ปอม ซงึ ตอ้ งมีผนู้ ําทมี อี าํ นาจแบบรวม
ศูนย์ ผ้นู าํ มสี ถานภาพเปนทังกษตั รยแ์ ละเปนนักบวชมีทงั อาํ นาจ
ทางโลกและทางธรรมตอ่ มาเมือพวกอารยนั เขา้ มาปกครองดิน

แดนลมุ่ นาํ สนิ ธุแทนพวกดราวเดยี นจงึ ได้เปลียนแปลง การ
ปกครองเปนแบบ กระจายอํานาจโดยแต่ละเผ่ามีหวั หน้าทีเรยก

วา่ ราชา ปกครองกนั เอง

10

ความเจรญิ ของอารยธรรม
อินเดยี ล่มุ แมน่ าํ สนิ ธุ'

(ชวง 2,500 - 1500 ป กอนคริสตศักราช)

เปนเมอื งขนาดใหญ่ มีการวางผงั เมอื งทีดี

มีระบบชลประทานทดี ี
อารยธรรมคลา้ ยคลงึ กับเมโสโปเตเมีย

11

การดํารงชีวิตและการค้า

คนในดินแดนลมุ น้ําสนิ ธมุ กี ารทําอาชีพ
การเกษตรเป็นพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ และ
มีการทาํ การคา ภายในการเพิม่ ประชากร
ในแตล ะอาณาจักร ทําใหก ารคา ในเมอื ง
ตา งๆขยายตัวข้นึ ซ่ึงมสี นิ คาสําคัญ เชน

ดบี ุก ทองแดง หนิ มีคา ชนิดตางๆ
นอกจากนี้ยังมสี นิ คา อตุ สาหกรรม เชน
การทอผา ฝ าย ผาไหม เป็นสนิ คา ในการ
ขายในดนิ แดนตา งๆ อาทิ อาระเบยี เปอร

เชยี อียปิ ต เป็นตน

12

สมยั มุสลิมรกุ ราน

มุสลมิ ทีเ่ ขารกุ รานอินเดยี คือมสุ ลมิ เช้ือสาย
เติรกจากเอเชียกลาง เขาปกครองอินเดียภาค
เหนือ ตงั้ เมืองเดลี เป็นเมอื งหลวง เม่ือเขา มาปก
ครองมกี ารบีบบงั คับใหชาวอินเดียมานับถือศาสนา
อิสลาม ราษฎรท่ีไมน ับถอื ศาสนาอสิ ลามจะถูกเกบ็
ภาษี “จิซยา” ในอตั ราสูง หากหนั มานับถือจะได
รบั การยกเวน การกระทาํ ของเตริ ก สง ผลใหส งั คม
อินเดียเกดิ ความแตกแยกระหวา งพวกฮินดแู ละ

มสุ ลมิ จนถงึ ปัจจบุ นั

13

สมยั ชาวตะวนั ตกเขา้ มารกุ ราน

14

ตอนนัน้ เป็นผูผูกขาดการคา เครอื งเทศแตผูเดยี ว ฮอลแลนดก ส็ ัง่ เคร่ืองเทศจาก
ลสิ บอนไปขายยงั ยุโรปทําใหราคาเคร่อื งเทศสงู ข้ึนมากในยุโรป อนั เน่ืองจาก
ความตองการสงู และมกี ารคาเพ่ือเอากําไรหลงั จากนัน้ ฮอลแลนดเ ดนิ เรอื มายงั

เอเชยี และหาแหลงเคร่ืองเทศ ฮอลแลนดประสบผลสําเร็จเป็นอยา งมาก การประ
สบควาสําเร็จของฮอลแลนดท ําใหองั กฤษพยายามเขามามบี ทบาททางองั กฤษ
และไดร ับการสนับสนุนจากกษตั รยิ อังกฤษ องั กฤษขยายสถานีการคาขยาย
บทบาททางการทหารการเดนิ เรอื มากข้นึ และประสบความสําเร็จอยางมากจึง
พยายามกีดกันบทบาทของฮอลแลนดใหล ดลง

แตต ะวนั ตกออกจากการคา อนิ เดยี ความแตกตางทางศาสนาการปฏิวัติ
ระหวา งผปู กครองทเี่ ป็นมสลุ ิมกบั ประชากรสว นใหญ เศรษฐกิจของ

องั กฤษในอินเดียการผกู ขาดทางการคาของผูปกครองอนิ เดยี สมยั นัน้ และ
การเมอื งของอินเดยี สมัยราชวงศโมกลใุ นทสี่ ดุ อังกฤษก็ประสบผลสําเร็จ

ในการเขา ยดึ ครองอนิ เดยี ในสมยั ราชวงศโ มกลใุ นศตวรรษ ที่19จน
อินเดยี ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในท่สี ดุ

15

ระบบการปกครองอินเดยี
ทีรบั มาจากอังกฤษ

สมยั อาณานิคมอังกฤษ
ในปลายสมยั อาณาจักรโมกลุ กษตั ริยทรงใชจา ยฟมุ เฟือย
ตอ งเพ่ิมภาษแี ละเพมิ่ การเกณฑแรงงานทําใหป ระชาชน

อยรู อด นอกจากนี้ยงั กดข่ที ําลายลางศาสนาฮนิ ดูอยาง
รนุ แรงทาํ ใหเกดิ ความแตกแยกภายในชาติเป็นเหตุให
องั กฤษคอยๆเขา แทรกแซง และครอบครองอนิ เดียทลี ะ
น อยจนในทีส่ ดอุ ังกฤษลม ราชวงศโมกุลและครอบครอง
อนิ เดยี ในฐานะอาณานิคมอังกฤษและส่ิงทอ่ี ังกฤษวางไว

ใหกับอนิ เดีย คอื
- รากฐานการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภา

- การศาล การศึกษา
- ยกเลิกประเพณีบางอยา ง เชน พธิ สี ตี (การเผาตัวตาย

ของหญงิ หมา ยฮินดู

16

มหาตมะ คานธี

ยาวาหะราล เนหร์ ู

สมัยเอกราช
หลังสงครามโลกครงั้ ท่ี2 ขบวนการชาตนิยมาอินเดียนําโดย มหาตมะ คาน

ธี และ ยาวาหะราล เนหร ู เป็ นผูนําเรยี กรอ ง เอกราชมหาตมะคานธี ใช
หลกั อหิงสาและสตัยเคราะหในการ เรยี กรองเอกราชจนประสบความสาํ เร็จ

หลังจากไดรับเอกราช
อินเดียปกครองดว ยระบอบประชาธปิ ไตย แตป ีค.ศ.1947มีปัญหาความคดั
แยง ทางศาสนาอยา งรนุ แรงระหวางกลมุ คนนับถือศาสนาฮินดูกบั กลมุ คนท่ี

นับถอื ศาสนาอิสลามจนนมาสูการแยกประเทศของกลมุ ท่นี ับถอื ศาสนา
อิสลามโดยแยกออกมาเป็น ประเทศปากสี ถาน ตอมาปี ค.ศ. 1971 ปากสี
ถานตะวันออกไมพ อใจตอการถูกเอาเปรยี บจากปากสี ถานตะวันตก จนเกดิ

การแยกประเทศมาเป็นประเทศบังคลาเทศในปัจจบุ ัน

17

ผลกระทบจากการเรยี กรอ้ งเอกราชของอนิ เดียทีมตี ่อ
การเปลียนแปลงของโลก

การตอ สูโดยสนั ตวิ ิธีของมหาตมะ คานธี (สตั ยเคราะห)
เป็นแบบอยา งทีด่ ใี นการเรียกรอ งสทิ ธิและเสรีภาพ หรือการ
ตอสูทางการเมอื งในสงั คมประชาธิปไตย โดยหลีกเล่ยี งการ
นองเลือดหรอื จบั อาวุธข้ึนตอสู

เกดิ การแบง แยกประเทศปากีสถานออกจากอินเดยี ในปี
ค.ศ. 1948 มสี าหตกุ ิดจากความขัดแยงในการนับถือศาสนา
โดยปากีสถานเป็นประเทศของชาวมสุ ลิม แตผ คู นสว นใหญ

ในอนิ เดยี นับถอื ศาสนาฮนิ ดู

18

เส้ นเวลา

แสดงอารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์

แสดงลําดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อินเดียและโลก

19

บทสรปุ ของอารยธรรมอินเดยี
ล่มุ แมน่ าํ สนิ ธุ

ความคดิ จากอารยธรรมอนิ เดยี ไดแพรกระจายไดตาม
อาณาจกั รตา งๆ มากมาย โดยเฉพาะความคิดจากศาสนา
ฮนิ ดูไดแพรเขาสูอ าณาจกั รทางเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตจน
กอใหเกดิ วหิ ารเกี่ยวกบั ความเช่ือทางศาสนา กอ ใหเ กดิ
สถาปัตยกรรม จิตรกรรม และวรรณคดีทางศาสนามากมาย
ตอมาเม่อื พุทธศาสนาไดร ับการยอมรับมากข้ึนและไดแ พร
ขยายเขา มาสูท ัง้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต และเอเชียตะวนั
ออก โดยเฉพาะการแพรขยายไปตามเสนทางสายไหมจาก
อินเดียสจู ีนและเปอรเ ซยี แนวความคิดทางพทุ ธศาสนาก็

เขา มาเจริญแทนทก่ี ระแสความคิดเดิม


Click to View FlipBook Version