The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sudarut Homklin, 2019-05-24 04:42:25

คู่มือการใช้บริการรถบัสปรับอากาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรียบเรียงโดย


นางสาวชัญญนิษฐ์ นีสันเทียะ


นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ





































ฝ่ายพัฒนานิสิต


ส านักบริหารงานกิจการนิสิต


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สารบัญ


บทที่ 1 1

- ประวัติความเปนมา 1

- พันธกิจ 2
- แผนยุทธศาสตร 2

- ปญหา 4
- ขอบเขตภารกิจของงาน 4

- วัตถุประสงค 4
- ผลที่คาดวาจะไดรับ 4

- คําจํากัดความ (นิยามศัพท) 5
บทที่ 2 แนวทางการใหบริการ 6
บทที่ 3 ขั้นตอนการดําเนินงานในการขอใชบริการยานพาหนะ 7

Work Flow กระบวนการขอใชรถ
- สรุปผลขั้นตอน กระบวนการโดยใชเทคโนโลยีและนวัตกรรม 8

บทที่ 4 ขอปฏิบัติในการขอใชยานพาหนะ 9
บทที่ 5 แบบสรุปผลการประเมินความพึงพอใจการใหบริการรถบัสปรับอากาศของนิสิต 11

บรรณานุกรม 14
ภาคผนวก 15

ภาคผนวก ก ขั้นตอนการขอใชยานพาหนะกิจการนิสิต 16
ภาคผนวก ข ชองทางการติดตอขอใชรถบัสปรับอากาศ 27
ภาคผนวก ค เอกสารแนะนําการขอใชรถบัสปรับอากาศสําหรับนักกิจกรรม 32

สวนกลาง อบจ./สภา/ชมรม และสํานักงานหอพักนิสิตจุฬาฯ
ภาคผนวก ง สรุปขอมูลการใชรถบัสปรับอากาศ 4 คัน ประจําปตาง ๆ 47

ภาคผนวก จ สรุปคาน้ํามันเชื้อเพลิงรถบัสปรับอากาศ 4 คัน 78
ตั้งแตเดือนมกราคม 2561 – กุมภาพันธ 2562

ภาคผนวก ฉ แบบฟอรมการประเมินความพึงพอใจและใบคํารองทั่วไป 81
ในการใหบริการรถบัสปรับอากาศ

ภาคผนวก ช สรุปความถี่ของการใหบริการรถบัสปรับอากาศ 92
ตั้งแตเดือนมกราคม 2560 – กุมภาพันธ 2562
ภาคผนวก ซ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจในการใหบริการรถบัสปรับอากาศ 145

ตั้งแตเดือนเมษายน 2560 – กุมภาพันธ 2562
ภาคผนวก ฌ วิธีการคํานวณจุดคุมทุนในการจางเหมารถบัสและแบบฟอรม

รายงานสรุปการขอใชรถบัสประจําเดือน

บทที่ 1



ประวัติความเปนมา


สํานักบริหารกิจการนิสิต ตั้งอยูชั้นที่ 2 ของอาคารจุลจักรพงษ มีหนาที่รับผิดชอบดําเนินงานสงเสริม
และพัฒนานิสิต ใหมีความสมบูรณพรอมทั้งทางดานรางกาย สังคม อารมณและจิตใจ โดยทําหนาที่ประสาน

เชิงนโยบายกับคณะตางๆ ในการสนับสนุนงานกิจการนิสิต เพื่อชวยเหลือสรางความพรอมใหแกนิสิตใน
การศึกษาเลาเรียน โดยการจัดใหบริการสวัสดิการทุนการศึกษา บริการหอพัก บริการจัดหางาน และกิจกรรม
ของนิสิต

กิจกรรมนิสิตของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในปจจุบัน แบงไดเปน 2 ระดับใหญ ๆ คือ
(กอบแกว สิงหดี. 2533 : 2)
1. กิจกรรมระดับสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
2. กิจกรรมระดับคณะสโมสรนิสิต

กิจกรรมระดับสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนกิจกรรมของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

โดยภาพรวม สวนกิจกรรมระดับสโมสรนิสิตคณะนั้นเปนกิจกรรมของนิสิตคณะนั้น ๆ เทานั้น ซึ่งปจจุบัน
กิจกรรมสโมสรนิสิตระดับคณะ การบริหารกิจกรรมนิสิตทั้ง 2 ระดับนั้น จัดไดวาในสวนหนึ่งมีความเปนอิสระ
แยกจากกัน แตอีกสวนหนึ่งมีความเกี่ยวพันธกัน

เดิมนั้น หนวยยานพาหนะไดมีภารกิจเกี่ยวกับใหบริการยานพาหนะแกนิสิต บุคลากรของ
มหาวิทยาลัย ตอมาในป 2553 ไดรับนโยบายจากผูบริหารสมัยวาระรองอธิการบดี (รองศาสตราจารย ดร.ธนิต
ธงทอง) ดําริใหมีการจางเหมารถบัสปรับอากาศใหบริการแกนิสิตเพื่อทํากิจกรรมตาง ๆ ไดมีการคลองตัวมาก
ขึ้น โดยใหฝายพัฒนานิสิตรับชอบดูแลใหบริการรถบัสแกนิสิตทุกคณะและสถาบันดวยอีกทางหนึ่งแยกสวน

จากสํานักบริการระบบกายภาพ มีหนาที่รับชอบดูแลเรื่องยานพาหนะของมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดเขียนวิสัยทัศนและพันธกิจของมหาวิทยาลัยไว ดังนี้

(เอกสารแผนยุทธศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2562-2563 ฉบับเต็ม)

วิสัยทัศน : การขับเคลื่อนจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยใน 4 ปขางหนานี้ ไดกําหนด 4 ยุทธศาสตรหลักที่

กระชับชัดเจนเนนนําพาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไปสูการเปนมหาวิทยาลัยนวัตกรรมชั้นนําที่มุงสรางสรรค
ความและผลผลิตจากการศึกษาวิจัย ตลอดจนบัณฑิตที่เปนนวัตกรในทางที่จะปรับเปลี่ยนสังคมไทยใหสามารถ
สรางมูลคาและคุณคาจากทรัพยากรที่มีอยู เพื่อนําประเทศออกจากกับดักรายไดปานกลางและเปนกําลังหลัก
ในการรวมสรางสังคมที่มีกระจายโอกาสที่เทาเทียม เกื้อกูล และเคารพซึ่งกันและกัน พรอมทั้งมีความเชื่อมโยง

กับประชาคมโลก ในฐานะมหาวิทยาลัยระดับชาติที่กาวขามไปสูความเปนนานาชาติ อยางเต็มภาคภูมิ
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาวไดตองอาศัยการผนึกพลังและประสานปญญาทั้งในซีกขวาและซีกซาย
ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีอยูครบครัน กลาวคือ คณะและสถาบันทั้งในดานแพทยศาสตร วิศวกรรมศาสตร
สังคมศาสตร ศิลปศาสตร มนุษยศาสตร รวมถึงวิทยาศาสตรทั้งดานกายภาพและชีวภาพ นอกเหนือไปจาก

กิจกรรมที่เนนย้ําถึงการสรางความเปนเลิศทางวิชาการแลว เราจะสรางสัมพันธภาพและความผูกพันกับสังคม
ทั้งในระดับชุมชน และมหภาค เพื่อใหจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปนมหาวิทยาลัยที่เขาถึงได สามารถตอบสนอง
และรับผิดชอบตอสังคม ดวยการสรางบัณฑิตที่มีจิตสาธารณะ เปนพลเมืองที่รอบรูเรื่องบานเมือง ประกอบกับ

2


การสรางพื้นที่ทางสังคมผานกิจกรรมทั้งทางวิชาการ บริการสังคม และศิลปวัฒนธรรม ที่เปดให
สาธารณะไดประโยชนและสามารถเขามามีสวนรวมในกิจการภายในองคกรยึดมั่นในธรรมาภิบาลและสานตอ

สิ่งดีงามที่มีอยูใหสืบเนื่องตอไป พรอมกับปรับเปลี่ยนบางสวนที่จําเปน อันไดแก การสงเสริมศักยภาพใหแก
บุคลากร และการสรางสภาวะแวดลอมที่เอื้อตอการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เพื่อสรางวัฒนธรรมองคกรที่รองรับการ
เปนมหาวิทยาลัยนวัตกรรมชั้นนํา และการเปนมหาวิทยาลัยระดับนานาชาติไดอยางแทจริง โดยมีวิสัยทัศนดังนี้


“มหาวิทยาลัยแหงชาติในระดับโลกที่สรางสรรคองคความรูและนวัตกรรมเพื่อสรางเสริมสังคมไทยสู

การพัฒนาอยางยั่งยืน”

“ A world class national university that generates knowledge and innovation
necessary for the creative and sustainable transformation of Thai society.”




พันธกิจ

1. สรางบัณฑิตที่มีความสามารถดานวิชาการ มีทักษะทันสมัย มีจิตสาธารณะ และมีความเปนผูนํา
2. บุกเบิก บูรณาการองคความรู สรางสรรคนวัตกรรมดานการเรียนการสอนและวิจัย

3. สรางผลงานวิชาการและวิจัยในระดับนานาชาติ
4. นําความรูไปขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศและสังคมไทยอยางยั่งยืน


แผนยุทธศาสตร
การวางแผนยุทธศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2560 – 2563 เปนหัวใจหลักของการ
ยกระดับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยใหสามารถ บรรลุวิสัยทัศนได โดยมีองคประกอบสําคัญคือ 4 ยุทธศาสตร
หลักที่พรอมขับเคลื่อนไดจริง ดังนี้


ยุทธศาสตรที่ 1
สรางคน (Human Capital)

1.1 บัณฑิตจุฬาฯ ไดรับการพัฒนาศักยภาพ
1.2 บัณฑิตจุฬาฯ เปนพลเมืองที่มีคุณคาของสังคมไทยและสังคมโลก
1.3 ประชาคมจุฬาฯ เปนสังคมแหงการสรางสรรค (Creative & Able Community)

1.4 ประชาคมจุฬาฯ มีสุขภาวะพรอมทํางานอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

ยุทธศาสตรที่ 2

สรางสรรค องคความรูและนวัตกรรม (Know ledge & Innovation)

2.1 งานวิจัยและวิชาการที่ชี้นําและขับเคลื่อนการพัฒนาสังคมไทย
2.2 งานวิจัยและวิชาการที่ชี้นําและขับเคลื่อนการพัฒนาสังคมโลก
2.3 ระบบนิเวศนวัตกรรมที่รองรับการพัฒนาทางวิชาการและการพัฒนาประเทศ
2.4 การบริหารจัดการที่ปรับเปลี่ยนใหมีความโปรงใสคลองตัวมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

3




ยุทธศาสตรที่ 3

สรางเสริม สังคมไทย (Local Transformation)

3.1 มหาวิทยาลัยชั้นนําที่เชื่อมโยงกับสังคมไทย


ยุทธศาสตรที่ 4

กาวไกล ในสังคมโลก (Global Benchmarking)
4.1 เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ


4 ยุทธศาสตรที่กําหนดขึ้นนี้ เปนหัวใจหลักของการยกระดับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยใหสามารถบรรลุ
วิสัยทัศนไดนั้น มีการวางกลยุทธ 12 ประการ ดังนี้

1. เสริมเกราะและพัฒนาบัณฑิต ใหมีคุณสมบัติพรอมเปนพลเมืองที่มีคุณคา ของประเทศและโลก

2. ขยายโอกาสเขาถึงองคความรู ภูมิปญญาที่ทรงคุณคาออกสูประชาคมจุฬาฯ สาธารณะและ
ทั่วไปถึงผูดอยโอกาส
3. กระตุนการผลิตงานวิจัย(และงานวิชาการ-สิ่งสรางสรรค)ที่ตอบโจทยและสอดรับกับทิศทาง
ระดับโลก

4. ผลักดันคุณภาพการศึกษาใหเหนือระดับมาตรฐานไทย เทียบเทามาตรฐานโลก
5. ยกระดับการบริหารและพัฒนาคน ใหสามารถรวมนําการเปลี่ยนแปลงและขับเคลื่อนพันธกิจใน
ทุกมิติดวยหัวใจจุฬาฯ

6. เชื่อมตอองคความรูและเทคโนโลยีของจุฬาฯ ไปสูสาธารณะ พรอมนําไปใชงานจริง
7. ตอบสนองตอประเด็นปญหาสังคมอยางมีปญญาพรอมตอนรับทุกภาคสวนอยางทั่วถึง พรอม
เคียงคูสังคมไทย
8. สรางเพิ่มและเติมเต็มและความสัมพันธระหวางจุฬาฯ กับนิสิตเกาเพื่อสรางประโยชนรวมกัน
และแบงปนสาธารณะ

9. บมเพาะและผลักดันนวัตกรรม ที่ตอบโจทยความตองการจริงทั้งเชิงสังคมและเทคโนโลยีและนํา
สมัย
10. ประสานพลังกับหนวยงานหลักทั้งรัฐ-เอกชน เพื่อดึงโจทยหลักของประเทศมาขบคิดและเสนอ

ทางออกที่สรางสรรค
11. รักษาเสถียรภาพและวินัยของกระบวนภายใน พรอมทั้งยึดมั่นความโปรงใส ถูกตองมี
ประสิทธิภาพ และตรวจสอบได มีภูมิคุมกัน
12. ผดุงไวซึ่งความรมรื่นและบรรยากาศที่สงเสริมการเรียนรูเพื่อความผาสุกในการใชชีวิตใน

มหาวิทยาลัย

4




ปญหา

1. นิสิตไมทราบขั้นตอนในการขอใชรถ ทําใหนิสิตติดตอผิดหนวยงาน และไมรูเวลาที่ควรยื่นเรื่อง
สงผลใหเกิดความลาชาในการจองรถ

2. เกิดปญหาการดําเนินการจัดซื้อจัดจางไมเปนไปตามพ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุ
ภาครัฐ พ.ศ. 2560 เนื่องจากชวงเวลากระชับ ไมสามารถดําเนินการจางเหมาบริการจาก

บุคคลภายนอกได
3. เกิดปญหาการดําเนินงานหรือกิจกรรมของนิสิต ในสวนของงบประมาณการจาย

4. เกิดผลกระทบในการดําเนินงานจัดกิจกรรม ดวยระยะเวลาในการรับบริการรถบัสปรับอากาศของ

มหาวิทยาลัยไมชัดเจน
5. เกิดความขัดแยงในการประสานงานการใหบริการรถบัสปรับอากาศของมหาวิทยาลัย

6. กระทบตอชวงเวลาการเรียนของนิสิตในการประสานงานกับเจาหนาที่

ทั้งนี้ไดขอมูลจากการปญหาที่มาจากการสัมภาษณนิสิตที่ทํางานพิเศษคุณธนัฐพงศ ชื่นสุวรรณ
ความจําเปนในการแกปญหาขางตน ผูจัดทําจึงรวบรวมขอมูลเพื่อเปนประโยชนตอผูรับบริการใหดียิ่งขึ้น


ขอบเขตภารกิจงาน

1. เนนเฉพาะภารกิจงานกิจกรรมของนิสิตเทานั้น
2. พรอมสามารถดูสถานะรถวาง และสามารถดาวนโหลดแบบฟอรมตาง ๆ และเพิ่มชองทางการ
ติดตอผานระบบคิวอารโคดผานชองเว็บไซดหนาเว็บไซตสํานักบริหารกิจการนิสิต


วัตถุประสงค

1. เพื่อประหยัดเวลาในการมาพบเจาหนาที่เปนจํานวนหลายครั้ง

2. เพื่อใหนิสิตไดรับความสะดวกในการใชบริการการจองรถ
3. เพื่อลดปญหาการปฏิบัติงานซ้ําซอนของเจาหนาที่


ผลที่คาดวาจะไดรับ

1. นิสิตประหยัดเวลาในการมาพบเจาหนาที่เปนจํานวนหลายครั้ง
2. นิสิตติดตอกับเจาหนาที่ไดงายขึ้น

3. นิสิตไดรับความสะดวกในการใชบริการการจองรถ
4. ไมมีปญหาการลบชื่อของผูที่จองรถกอนหนาตัวเอง แลวเปลี่ยนเปนชื่อตัวเอง
5. ลดปญหาความขัดแยงในการใหบริการการจองรถบัสปรับอากาศของมหาวิทยาลัย
6. ลดปญหาการปฏิบัติงานซ้ําซอนของเจาหนาที่และผูใชบริการ

7. ผูใชบริการเกิดความประทับใจในการใชบริการ
8. การลงสมุดจองรถ มีนิสิตบางคนที่ลบชื่อของผูที่จองรถกอนหนาตัวเอง แลวเปลี่ยนเปนชื่อตัวเอง
9. นิสิตตองเสียเวลาโดยเปลาในการมาตรวจสอบสถานะรถในกรณีที่รถไมวาง

10.เวลาการทํางานของนิสิตกับเจาหนาที่ไมตรงกัน อยางเชน กรณีนิสิตเขามาติดตอเจาหนาที่ใน

ชวงเวลา

5




คําจํากัดความ (นิยามศัพท)

การใหบริการ คือ การใหความชวยเหลือ หรือการดําเนินการเพื่อประโยชนของผูอื่นการบริการที่ดี ผูรับบริการ

ก็จะไดรับความประทับใจ และชื่นชมองคกร

รถบัสปรับอากาศ คือ รถโดยสารที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศจํานวน 45 ที่นั่ง และ 35 ที่นั่ง ที่บริการงาน
กิจกรรมนิสิตจุฬาฯ


กิจกรรมนิสิต คือ กิจกรรมที่อยูภายใตการบริหารงานของสํานักบริหารกิจการนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ซึ่งจัดกิจกรรมตางๆของนิสิตในมหาวิทยาลัย และดูแลสงเสริมใหการจัดกิจกรรมของ สโมสรนิสิตดําเนินการได

ตามวัตถุประสงคที่วางไวซึ่งการจัดกิจกรรมของนิสิตในมหาวิทยาลัยนั้นไดแบงออกเปน 2 ระดับคือ


1. กิจกรรมนิสิตระดับมหาวิทยาลัย
2. กิจกรรมนิสิตระดับคณะ

บทที่ 2


ทฤษฎี หลักการ แนวคิดการใหบริการรถบัสปรับอากาศสําหรับกิจกรรมนิสิต


1. การบริการ หมายถึง กิจกรรม กระบวนการหรือการดําเนินการใด ๆ ที่บุคคลหนึ่งหรือหนวยงาน

หนึ่ง ไดอํานวยความสะดวก ชวยเหลือ หรือตอบสนองความตองการ หรือความจําเปนใหกับบุคคลอื่น โดยมี
วัตถุประสงคใหไดรับความพึงพอใจ (รวีวรรณ โปรยรุงโรจน (2551: 3)
2. การใหบริการ ถือเปนพฤติกรรม กิจกรรมหรือการกระทําที่บุคคลหนึ่งไดทําใหหรือไดสงมอบใหอีก

บุคคลหนึ่ง โดยมีเปาหมาย และตั้งใจที่จะมอบบริการนั้น ๆ ไดเขาใจถึงความตองการของผูมารับบริการเปน
อยางดี ซึ่งในการใหบริการอาจมีหรือไมมีสิ่งของที่มีตัวตนก็ได

3. การบริการที่ดี ผูรับบริการจะตองไดรับความสะดวก รวดเร็ว ขั้นตอนไมยุงยากมาก ใชระยะเวลาใน
การรอรับบริการนอย สถานที่ขอใชบริการมีความสะดวก สบาย มีการสื่อสารที่ดี เขาใจงาย นาเชื่อถือในตัวผู

ใหบริการ ชื่อเสียงหนวยงานที่ใหบริการ ความพรอมการใหบริการ สรางความประทับใจแกผูบริการ
4. ชวงเวลา หรือโอกาสของการมาใชบริการมีความสําคัญไมนอย จะประทับใจเมื่อมาสัมผัสในการ

บริการที่ไดรับ
5. การบริการเปนการเรียกรองขอรับบริการเพื่อความพึงพอใจของตน หรือใหบุคคลไดรับประโยชน
ทางใดทางหนึ่ง ใหคนเกี่ยวของไดรับความชวยเหลือ รวมทั้งอํานวยความสะดวก การตอบสนองความตองการ

ของผูใชบริการ (สมิต สัชฌุกร, 2546 : 13-14)
6. การบริการ เปนความพยายามที่จะใหผูใชบริการหรือลูกคาไดเสนอแนะการปรับปรุงในการ

ใหบริการ เปนความพรอมของผูใหบริการที่จะรับฟงการตําหนิของผูใหบริการ

โดยสรุปการบริการ หมายถึง การปฏิบัติรับใชใหความสะดวกตางๆ แกผูรับบริการ เพื่อใหบุคคลไดรับ
ประโยชนทางใดทางหนึ่ง ใหไดรับความชวยเหลือ ใหไดรับความสะดวก สามารถตอบสนอง ความตองการของ

ผูใชบริการ เปนความพยายามที่จะใหผูใชบริการเสนอแนะการปรับปรุงการใหบริการ รับฟง ขอคิดเห็นของ
ผูใชบริการ ตลอดจนการใหการศึกษาอบรมแกผูใชบริการอยางเหมาะสม

บทที่ 3


ขั้นตอนการดําเนินงานในการขอใชบริการยานพาหนะ
ขั้นตอนการขอใชรถกิจกรรมนิสิต (เฉพาะจัดรถเพื่อกิจกรรมนิสิตเทานั้น)


ผูเกี่ยวของ วิธีการ หมายเหตุ
ผูขอใชรถ ผูปฏิบัติงานที่
โทรสอบถามคิวรถ เมื่อมีคิววาง ใหสงแบบขอใชรถ พรอมแนบ สํานักงานบริหาร

โครงการที่ไดรับอนุมัติ สงมายัง สนง.บริหารกิจการนิสิต กอนลวงหนา กิจการนิสิตคือ

เดินทาง ภายในกรุงเทพฯ อยางนอย 7 วันตางจังหวัดอยางนอย15 คุณชัญญนิษฐ

วัน หากไมสงเอกสารมาตาม นีสันเทียะ โทร
87052 ตอ302
Fax. 87053
0 2218 7052 ตอ
302
เจาหนาที่สายงาน
คุณชัญญนิษฐ ยานยนตคือคุณ
เสนอเรื่องตามลําดับขั้นตอนเพื่อขออนุมัติกรณีเดินทางใน เจตนา หนูสนั่น

กรุงเทพฯ ผูอนุมัติคือ ผอ.สํานักฯ กรณีเดินทางไปตางจังหวัด โทร. 83686


ผูอนุมัติคือ รองอธิการบดี ผศ. ดร.ชัยพร ภูประเสริฐ




ผูมีอํานาจ ไม่อนุมัติ
อนุมัติ ส่งเรื่องกลับ



สงแบบขอใชรถที่ไดรับอนุมัติไปยังกลุมภารกิจยานพาหนะ
เพื่อปลอยรถตามวันเวลาที่ขอไว


ผูขอใชรถ พนักงานขับรถ

- เดินทางตามกําหนด
- ชําระคาใชจาย

- ประเมินผลการใชรถ



คาน้ํามันรถและคาทางดวนจะตองจายตามจํานวนที่ใชจริง โดยกอนออกเดินทาง รถจะมีน้ํามันเต็มถัง
**ดังนั้นกอนกลับเขาจุฬาฯ ใหเติมน้ํามันเต็มถังดังเดิม

หมายเหตุ คาใชจายตาง ๆ ไดแก
คาใชจายสําหรับพนักงานขับรถ กรณีนอกเหนือเวลาราชการ และกรณีเดินทางไปตางจังหวัด
กรณีเดินทางในกรุงเทพ นอกเวลาราชการ
กรณีวันราชการ : ใหจายในอัตราชั่วโมงละ 70 บาท ทั้งนี้จายไดไมเกิน 4 ชั่วโมง เปนเงิน 280 บาท
กรณีวันหยุดราชการ : ใหจายในอัตราชั่วโมงละ 80 บาท ทั้งนี้จายไดไมเกิน 7 ชั่วโมง เปนเงิน 560 บาท
กรณีเดินทางไปตางจังหวัด
กรณีคางคืน : วันละ 1,700 บาท โดยนับจํานวน 24 ชั่วโมงถือเปน 1 คืน
กรณีไมคางคืน : วันละ 600 บาท โดยนับจํานวน 6 ชั่วโมงขึ้นไป และกรณีที่ระยะทางเกิน 400 กม. จะตองมีพนักงานขับรถ
2 คน/คัน

8


สรุปผลขั้นตอน กระบวนการ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม

วิธีการขอใชบริการ
ลําดับ ประเด็นที่ ประเด็นปญหา ยานพาหนะแบบเดิม วิธีการขอใชบริการยานพาหนะ ผลและประโยชนที่ไดรับจากการ
ที่ ปรับปรุง แบบใหม ปรับปรุง

การสอบถาม นิสิตตองเสียเวลาโดยเปลาในการมาตรวจสอบสถานะรถใน นิสิตจะตองสอบถามสถานะรถ สามารถตรวจสอบสถานะรถวางที่ทาง - ชวยใหนิสิตไมตองเสียเวลาในการติดตอ
1 ขอมูลสถานะ กรณีที่รถไมวาง วางที่สํานักบริหารกิจการนิสิต หนาเว็บไซตสํานัก เจาหนาที่ในการตรวจสอบสถานะของรถ
ของรถ อาคารจุลจักรพงษ ชั้น 2 ใหบริหารกิจการนิสิต
- เวลาการทํางานของนิสิตกับเจาหนาที่ไมตรงกัน อยางเชน ผูขอใชบริการจะตองติดตอขอ เพิ่มชองทางการติดตอทางกลุมไลน - ผูใชบริการไดรับความสะดวกในการ
กรณีนิสิตเขามาติดตอเจาหนาที่ในชวงเวลาพักเที่ยง ใชบริการรถที่สํานักบริหาร ระหวางเจาหนาผูใหบริการจองรถและ ติดตอกับเจาหนาที่มากขึ้น
- เจาหนาที่แตละคณะสงแบบฟอรมการขอใชรถผานทาง กิจการนิสิต อาคารจุลจักรพงษ เจาหนาที่แตละคณะ - เกิดความเขาใจตรงกันระหวาง
ชองทางการ ระบบ Less Paper ทําใหเกิดการตรวจสอบเอกสารและ ชั้น 2 ผูใชบริการและผูรับบริการ
2
ติดตอ การตอบกลับที่ซ้ําซอน เชน สงทางเอกสารและสงระบบฯ - ลดปญหาการทํางานที่ซ้ําซอน เชน สง
- ขาดการสื่อสารวาการขอใชรถในสวนงานของสํานักบริหาร ทางเอกสารและสงในระบบ Less Paper
กิจการนิสิตจัดขึ้นเพื่อกิจกรรมของงนิสิตเทานั้น จึงมีการสง
แบบฟอรมขอใชรถ แลวทําใหเรื่องถูกสงกลับ
การลงสมุดจองรถ มีนิสิตบางคนที่ลบชื่อของผูที่จองรถกอน ขอรับแบบฟอรมการขอใชรถที่ สามารถดาวนโหลดแบบฟอรมการขอใช - นิสิตไดรับความสะดวกในการกรอก
หนาตัวเอง แลวเปลี่ยนเปนชื่อตัวเอง สํานักบริหารกิจการนิสิต รถที่หนาเว็บไซตสํานักบริหารกิจการนิสิต แบบฟอรม
3 แบบฟอรม
อาคารจุลจักรพงษ ชั้น 2 - ไมมีปญหาการลบชื่อของผูที่จองรถกอน
หนาตัวเอง แลวเปลี่ยนเปนชื่อตัวเอง
นิสิตไมทราบขั้นตอนในการขอใชรถ ทําใหนิสิตติดตอผิด นิสิตตองมาสอบถาม มีการแสดงลําดับขั้นตอนขอใชรถที่ - ระยะเวลาที่นิสิตใชในการติดตอขอจอง
หนวยงาน และไมรูเวลาที่ควรยื่นเรื่อง สงผลใหเกิดความ รายละเอียดกับทางเจาหนาที่ผู 1. หนาเว็บไซตสํานักบริหารกิจการนิสิต รถสั้นลง
ขอมูลขั้นตอน ลาชาในการจองรถ ใหบริการโดยตรง 2.กลุมไลนระหวางเจาหนาผูใหบริการจอง - นิสิตไมเสียเวลาในการติดตอกับ
4
ในการจองรถ รถและเจาหนาที่แตละคณะ เจาหนาที่หลายที่
3. แผนประชาสัมพันธที่มีคิวอารโคด
เชื่อมตอรายละเอียดการจองรถ

ทั้งนี้ จะเห็นวารูปแบบการขอใชบริการยานพาหนะแบบเดิมนั้น ผูขอใชบริการจะตองมีการติดตอเจาหนาที่และตรวจสอบสถานะรถ การขอแบบฟอรมการจองรถ โดยตองมาติดตอขอรับบริการดวยตนเอง

ที่สํานักบริหารกิจการนิสิต ซึ่งระบบการขอใชบริการยานพาหนะแบบเดิมกอใหเกิดปญหามากมาย จึงเปนที่มาของการใหบริการรูปแบบใหม ที่นําเทคโนโลยีและนวัตกรรมเขามาชวยในการปรับปรุงและแกไขปญหา
รูปแบบการขอใชรถแบบเดิมดังรายละเอียดที่ไดกลาวไปแลวขางตน ใหสะดวก มีประสิทธิภาพและสรางความพึงพอใจแกผูใชบริการ พรอมทั้งลดปญหาตาง ๆ ไดมากขึ้น

8


สรุปผลขั้นตอน กระบวนการ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม

วิธีการขอใชบริการ
ลําดับ ประเด็นที่ ประเด็นปญหา ยานพาหนะแบบเดิม วิธีการขอใชบริการยานพาหนะ ผลและประโยชนที่ไดรับจากการ
ที่ ปรับปรุง แบบใหม ปรับปรุง

การสอบถาม นิสิตตองเสียเวลาโดยเปลาในการมาตรวจสอบสถานะรถใน นิสิตจะตองสอบถามสถานะรถ สามารถตรวจสอบสถานะรถวางที่ทาง - ชวยใหนิสิตไมตองเสียเวลาในการติดตอ
1 ขอมูลสถานะ กรณีที่รถไมวาง วางที่สํานักบริหารกิจการนิสิต หนาเว็บไซตสํานัก เจาหนาที่ในการตรวจสอบสถานะของรถ
ของรถ อาคารจุลจักรพงษ ชั้น 2 ใหบริหารกิจการนิสิต
- เวลาการทํางานของนิสิตกับเจาหนาที่ไมตรงกัน อยางเชน ผูขอใชบริการจะตองติดตอขอ เพิ่มชองทางการติดตอทางกลุมไลน - ผูใชบริการไดรับความสะดวกในการ
กรณีนิสิตเขามาติดตอเจาหนาที่ในชวงเวลาพักเที่ยง ใชบริการรถที่สํานักบริหาร ระหวางเจาหนาผูใหบริการจองรถและ ติดตอกับเจาหนาที่มากขึ้น
- เจาหนาที่แตละคณะสงแบบฟอรมการขอใชรถผานทาง กิจการนิสิต อาคารจุลจักรพงษ เจาหนาที่แตละคณะ - เกิดความเขาใจตรงกันระหวาง
ชองทางการ ระบบ Less Paper ทําใหเกิดการตรวจสอบเอกสารและ ชั้น 2 ผูใชบริการและผูรับบริการ
2
ติดตอ การตอบกลับที่ซ้ําซอน เชน สงทางเอกสารและสงระบบฯ - ลดปญหาการทํางานที่ซ้ําซอน เชน สง
- ขาดการสื่อสารวาการขอใชรถในสวนงานของสํานักบริหาร ทางเอกสารและสงในระบบ Less Paper
กิจการนิสิตจัดขึ้นเพื่อกิจกรรมของงนิสิตเทานั้น จึงมีการสง
แบบฟอรมขอใชรถ แลวทําใหเรื่องถูกสงกลับ
การลงสมุดจองรถ มีนิสิตบางคนที่ลบชื่อของผูที่จองรถกอน ขอรับแบบฟอรมการขอใชรถที่ สามารถดาวนโหลดแบบฟอรมการขอใช - นิสิตไดรับความสะดวกในการกรอก
หนาตัวเอง แลวเปลี่ยนเปนชื่อตัวเอง สํานักบริหารกิจการนิสิต รถที่หนาเว็บไซตสํานักบริหารกิจการนิสิต แบบฟอรม
3 แบบฟอรม
อาคารจุลจักรพงษ ชั้น 2 - ไมมีปญหาการลบชื่อของผูที่จองรถกอน
หนาตัวเอง แลวเปลี่ยนเปนชื่อตัวเอง
นิสิตไมทราบขั้นตอนในการขอใชรถ ทําใหนิสิตติดตอผิด นิสิตตองมาสอบถาม มีการแสดงลําดับขั้นตอนขอใชรถที่ - ระยะเวลาที่นิสิตใชในการติดตอขอจอง
หนวยงาน และไมรูเวลาที่ควรยื่นเรื่อง สงผลใหเกิดความ รายละเอียดกับทางเจาหนาที่ผู 1. หนาเว็บไซตสํานักบริหารกิจการนิสิต รถสั้นลง
ขอมูลขั้นตอน ลาชาในการจองรถ ใหบริการโดยตรง 2.กลุมไลนระหวางเจาหนาผูใหบริการจอง - นิสิตไมเสียเวลาในการติดตอกับ
4
ในการจองรถ รถและเจาหนาที่แตละคณะ เจาหนาที่หลายที่
3. แผนประชาสัมพันธที่มีคิวอารโคด
เชื่อมตอรายละเอียดการจองรถ

ทั้งนี้ จะเห็นวารูปแบบการขอใชบริการยานพาหนะแบบเดิมนั้น ผูขอใชบริการจะตองมีการติดตอเจาหนาที่และตรวจสอบสถานะรถ การขอแบบฟอรมการจองรถ โดยตองมาติดตอขอรับบริการดวยตนเอง

ที่สํานักบริหารกิจการนิสิต ซึ่งระบบการขอใชบริการยานพาหนะแบบเดิมกอใหเกิดปญหามากมาย จึงเปนที่มาของการใหบริการรูปแบบใหม ที่นําเทคโนโลยีและนวัตกรรมเขามาชวยในการปรับปรุงและแกไขปญหา
รูปแบบการขอใชรถแบบเดิมดังรายละเอียดที่ไดกลาวไปแลวขางตน ใหสะดวก มีประสิทธิภาพและสรางความพึงพอใจแกผูใชบริการ พรอมทั้งลดปญหาตาง ๆ ไดมากขึ้น

บทที่ 4



ขอปฏิบัติในการขอใชรถเพื่อจัดกิจกรรมนิสิต


1. เอกสารประกอบการขอใชรถ

1.1 แบบฟอรมการขอใชรถซึ่งกรอกขอความถูกตอง ครบถวน

1.2 สําเนาโครงการที่ไดรับการอนุมัติ
1.3 แผนที่การเดินทาง

1.4 ยื่นแบบฟอรมการใชรถพรอมแบบสําเนาโครงการที่ไดรับการอนุมัติ
1.5 ตองขอใชรถในนามหนวยงาน
1.6 จองลวงหนาไมเกิน 30 วัน

1.7 ใชในกิจกรรมของนิสิตเทานั้น
1.8 ตองแจงลวงหนากรณีเดินทางตางจังหวัด ไมนอยกวา 15 วัน และในกรุงเทพฯ ไมนอยกวา 7 วัน

1.9 กรณียกเลิกการใชรถใหแจงลวงหนา กรณีไปตางจังหวัดแจงลวงหนาไมนอยกวา 5 วัน กรณีใน
กรุงเทพฯ แจงลวงหนาไมนอยกวา 3 วัน ถาไมแจงยกเลิกตามกําหนดผูขอใชรถตองรับผิดชอบคาเบี้ย
เลี้ยงพนักงานขับรถและคาน้ํามันเชื้อเพลิง

1.10 การแจงยกเลิกตองสงเปนเอกสารตามแบบฟอรมการยกเลิกการใชรถเทานั้น
1.11 การจองลวงหนาไมรับจองทางโทรศัพท ผูขอใชรถตองขึ้นไปจองรถดวยตนเองเทานั้น

1.12 หากเปนการเดินทางที่ตองขับรถติดตอไดไมเกิน 4 ชั่วโมง และตองหยุดพักไมนอยกวาครึ่งชั่วโมง
โดยจะตองมีพนักงานขับรถไว 2 คน เปนคนขับสํารอง

1.13 กรณีวิ่งรถในยามวิกาล จะตองไปถึงจุดหมายปลายทางกอนเวลา 24.00 น.


ขั้นตอนการจองรถ

1. ยื่นแบบฟอรมที่สํานักบริหารงานกิจการนิสิต อาคารจุลจักรพงษ ชั้น 2
2. กรอกแบบฟอรมการขอใชยานพาหนะสําหรับกิจกรรมนิสิตจุฬาฯ ใหเรียบรอยพรอมลายเซ็นตามเอกสารใน

ขอ 1
3. สงแบบฟอรมการขอใชรถมาที่สํานักบริหารกิจการนิสิต หรือยานพาหนะ


กิจกรรมตางจังหวัด กิจกรรมกรุงเทพฯ กรณียกเลิกรถ
ตางจังหวัด กรุงเทพฯ

สงลวงหนา 15 วัน สงลวงหนา 7 วัน แจงลวงหนาไมนอยกวา 5 วัน แจงลวงหนาไมนอยกวา 3 วัน

4. ติดตอสอบถามการอนุมัติใชรถไดที่ คุณชัญญนิษฐ นีสันเทียะ 02 218 7052 ตอ 302

10

5. ผูขอใชรถจะตองประสานนัดหมายกับพนักงานขับรถโดยตรง ขอหมายเลขโทรศัพทไดที่

5.1 รถบัส 33-6017 คุณสมบูรณ แซเฮง หมายเลขโทรศัพท 08 7114 5078, 08 8809 7154
5.2 รถบัส 33-6018 คุณทองพูล ผองแผว หมายเลขโทรศัพท 09 0831 5627

5.3 รถบัส 33-6016 คุณมนูญ อะโน หมายเลขโทรศัพท 06 4513 8129, 08 8809 7138
5.4 รถบัส 33-6162 คุณพงษศักดิ์ ศรีสุภา หมายเลขโทรศัพท 08 0192 5631

6. เจาหนาที่ผูประสานงานที่สํานักบริหารกิจการนิสิต หมายเลข 02 218 7052 ตอ 304

บทที่ 5



ความพึงพอใจในการใหบริการ



ความสําคัญของการบริการ

การบริการนับวามีความสําคัญยิ่งในการดําเนินงานดานตาง ๆ ซึ่งการใหบริการนั้นอาจมองได เปน 2 ดาน
1. การใหบริการที่ดี จะทําใหความรูสึกนึกคิดของผูใชบริการ เปนไปในลักษณะทางบวก ชื่นชอบพอใจ

ประทับใจ ชื่นชมในตัวผูใหบริการ นิยมชมชอบในบริการ ชื่นชอบหนวยงานที่ใหบริการ มีความยินดีและ
ระลึกถึงที่จะมาใชบริการอยูเสมอ (สมิต สัชฌุกร, 2546: 14-15)
2. การใหบริการที่ไมดี จะเปนไปในลักษณะที่ผูใชบริการเกิดความรูสึก ความคิดเห็น ทัศนคติในการใช

บริการไปในทางลบ เกิดความไมพึงพอใจ และไมชื่นชอบในการใหบริการนั้น ๆ มีความรังเกียจในตัวผู
บริการ เสื่อมศรัทธาในหนวยงานที่ไปใชบริการ ผิดหวัง เบื่อหนาย ไมตองการ หรือยินดีที่จะกลับมาใช

บริการอีก มีความรูสึกที่ไมดีเปนเวลานาน จะกลาวถึงหนวยงานที่ใหบริการไปในทางที่ไมดีหรือไม
เหมาะสม (สมิต สัชฌุกร, 2546:15)


ลักษณะทั่วไปในการใหบริการ

การใหบริการเปนการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมของตัวบุคคล ซึ่งจะตองมีความรับผิดชอบรวมกันของทุกคนโดย

มอบหมายและแบงหนาที่กันในแตละดาน อาจแบงลักษณะของการใหบริการ ดังนี้
1. การใหบริการเปนพฤติกรรมที่แสดงตอบุคคลอื่น จะสามารถสังเกตเห็นไดจากการกระทํา เชน ลักษณะ

ทางสีหนา แววตา กิริยาทาทาง คําพูดน้ําเสียง เปนตน
2. การใหบริการนั้นเปนการกระทําที่แสดงใหเห็นถึงความรูสึกนึกคิดในจิตใจ ขึ้นอยูกับสิ่งที่ไดแสดงออกไป
เชน อารมณ ความรูสึกนึกคิด ความเชื่อ ความปรารถนา ความตองการ คานิยม หากเปนทางบวกก็จะ

สงผลทําใหเกิดการบริการที่ดี เปนตน
3. สิ่งที่ไดกระทําจะเกี่ยวของกับประโยชนของผูรับบริการไมวาจะเปนการใหบริการสนับสนุนการปฏิบัติงาน

ในสํานักงาน หรือการใหการตอนรับผูที่มาติดตอประสานงานในหนวยงาน ตองใหความชวยเหลือ ทักทาย
ใหคําแนะนําปรึกษาที่ถูกตอง เหมาะสม ตอบขอซักถามดวยความจริงใจ มีอัธยาศัยที่ดี

ประเภทการใหบริการ

การใหบริการนั้นอาจแบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก
1. การใหบริการโดยตรง ถือไดวาเปนการใหความชวยเหลือ อันเปนประโยชนแกผูมารับบริการอยางซึ่ง
หนา เชน การจัดของให หีบหอสิ่งของให เปนตน

2. การใหบริการโดยทางออม อาจไมใหมีการสัมผัสกับผูรับบริการโดยตรง ผูรับบริการอาจไมเคยพบเห็นผู
ใหบริการมากอน เชน การออกแบบตกแตงหองที่เนนดานความสวยงาม ประโยชนใชสอยของหอง การ
ใหบริการสารสนเทศ เปนตน (สมิต สัชฌุกร, 2546 :19)

12


การใหบริการเชิงคุณภาพเพื่อความพึงพอใจของผูรับบริการ


ลักษณะการใหบริการที่มีคุณภาพและเปนไปอยางเหมาะสม ไดแก
1. สอดคลองและสามารถตอบสนองความตองการของผูมารับบริการ ผูรับบริการเกิดความพึงพอใจ มีการ

ปฏิบัติโดยถูกตองเหมาะสม ครบถวน ไมเกิดขอบกพรองผิดพลาด ใหบริการที่เหมาะสมกับสถานการณ สะดวก
รวดเร็ว ตรงตอเวลานัดหมาย ไมกอใหเกิดความเสียหายแกผูใชบริการและบุคคลอื่น ๆ ไมกระทบตอสภาพสังคมและ

สิ่งแวดลอม

2. เปนการกระทําดวยความเต็มใจ ดวยความรวดเร็ว คํานึงถึงความถูกตองในการตอบสนองความตองการ
ดวยความเปนธรรม ใหความเสมอภาค และกอใหเกิดความชื่นชมยินดีแกผูมาใชบริการ(สมิต สัชฌุกร, 2546:173-

176)

3. การมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม จิตใจรักงานการใหบริการ มีการประสานงานที่ดีระหวางผูใหบริการดวยกัน
การมีความรูความสามารถในงานที่ใหบริการ มีวาทศิลปพูดจา มีมนุษยสัมพันธ มีความยุติธรรมในการใหบริการ

ลําดับความสําคัญกอนหลัง มีการบริหารจักการของหนวยที่ใหบริการอยางเหมาะสม มีขั้นตอนการใหบริการชัดเจน
การใหบริการตามขอตกลงหรือที่สัญญาไว ไมปฏิเสธความรับผิดชอบในความบกพรองของการใหบริการ ใหความ

ชวยเหลือเมื่อประสบปญหา ความสะดวกดานกายภาพสภาพแวดลอมตาง ๆ


มาตรฐานของผูใหบริการ

คุณสมบัติของผูทําหนาที่ในการใหบริการ

1. คุณลักษณะที่เปนตัวบงบอกที่ปรากฏใหเห็นภายนอกและสิ่งที่อยูภายใน อาทิ รางกาย รูปราง อารมณ

จิตใจ ความรูสึกนึกคิด

2. พฤติกรรม เปนการแสดงออกหรือการกระทําของตัวบุคคล พฤติกรรมที่ดียอมนํามาซึ่งผลดี
2.1 การที่บุคคลมีจิตใจรักงานใหบริการ การมีความรูในงานที่จะใหบริการ

2.2 สามารถใหคําแนะนําชวยเหลือแกผูรับบริการได
2.3 มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติตน จะตองระมัดระวังทั้งกายและวาจา

2.4 มีความรับผิดชอบตองานในหนาที่ ความรับผิดชอบตอผูใชบริการ ในทางธุรกิจถือวา
ลูกคาหรือผูใชบริการคือพระราชา หรือลูกคาคือพระเจา การยึดมั่นในพันธกิจที่ดีตอ

ลูกคายอมทําใหการใหบริการมีคุณภาพ
2.5 มีทัศนคติที่ดีตองานใหบริการ จะเกิดการปฏิบัติงานอยางเต็มที่ มุงสูความเปนเลิศ
2.6 การมีจิตใจที่มั่นคง ตองปฏิบัติตามนโยบายอยางเครงครัด แมนโยบายจะมีการ

เปลี่ยนแปลงไป ตองมีการปรับตัวและวิธีการ
2.7 การมีความคิดริเริ่มสรางสรรค เปลี่ยนแปลงสิ่งใหมๆ ใหดีกวาเดิม ดัดแปลงการใหบริการที่ดี

กวาเดิม แปลกใหม การเปนผูชางสังเกต สรางสรรคในการใหบริการที่ดี ใชวิจารญาณไตรตรอง
อยางรอบคอบ แกไขปญหาที่เกิดขึ้นอยางรอบคอบ รัดกุม แยกแยะปญหาในการหาทางเลือก

ตาง ๆ แกไขปญหา จะทําใหการใหบริการมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น (สมิต สัชฌุกร, 2546:22-27)

13


พฤติกรรมของผูใหบริการ


การเปนผูใหบริการที่ดีนั้น จะตองมีคุณสมบัติตาง ๆ ที่สําคัญ ไดแก

1. การมีอัธยาศัยที่ดี มีมิตรไมตรี เอาใจใสในการตั้งใจทํางาน แตงกายที่สะอาดเรียบรอย
2. มีกิริยาที่สุภาพ มารยาทที่งดงาม วาจาที่สุภาพ น้ําเสียงไพเราะ ควบคุมอารมณไดดี อดทนอดกลั้น รับฟง

และเต็มใจในการแกไขปญหา กระตือรือรน มีวินัย ทํางานเปนระบบ มีความซื่อสัตย (สมิต สัชฌุกร, 2546:27-32)



การปลูกฝงจิตสํานึกในการใหบริการ

การปลูกฝงจิตสํานึก มีความสําคัญอยางยิ่ง ตองคํานึงถึงผูรับบริการเปนหลักสําคัญ ไดแก

1. จะตองเกิดความสํานึกวา การบริการเปนงานสวนหนึ่งที่ทุกคนในกิจการตองมีความรับผิดชอบรวมกันที่
เกี่ยวเนื่องกับผูรับบริการตลอดเวลา (สมิต สัชฌุกร, 2546:33-35) ปฏิบัติจนใหเกิดความเคยชิน ยินดีที่จะใหความ

ชวยเหลือผูอื่น
2. ฝกฝนความเอื้อเฟอเผื่อแผใหเกิดกับผูใหบริการอยูเสมอ เพื่อสรางความประทับใจใหแกผูรับบริการ



การสรางนักบริหารมืออาชีพและใหบริการที่เปนเลิศ

1. ผูใหบริการตองมีคุณสมบัติที่สําคัญคือรักในงานใหบริการ มีทัศนคติที่ดีตองาน มีความตั้งใจ

2. บุคลิกภาพที่ดี เชน ยิ้ม หัวเราะ แสดงทาทางประกอบการพูด เปนไปโดยธรรมชาติ การแตงกายสะอาด
ถูกกาลเทศะ มีคุณธรรม จริยธรรม มนุษยสัมพันธที่ดี เต็มใจใหบริการ เปนตน
3. การสนทนาที่สรางความประทับใจ เชน เปนกันเอง เปนมิตร น้ําเสียงสุภาพ เขาใจงาย ชัดเจน ตั้งใจรับฟง

ดวยความอดทน การตอนรับที่อบอุนทําใหผูรับบริการรูสึกดีตอองคกรดวย เปนตน
4. การมีอัธยาศัยไมตรี ยิ้ม ทักทาย จะทําใหผูรับบริการรูสึกอบอุน ผูกมิตร มีคําพูดวิเศษ เชน ขอบคุณครับ

ขอโทษครับ ใหความชวยเหลือแมวาจะชวยไดเพียงเล็กนอย แนะนําตามความเหมาะสม
5. การมีอัธยาศัยไมตรีที่ดีกับเพื่อนรวมงานที่ผูรับบริการสามารถเห็นและสัมผัสไดถึงบรรยากาศที่ดี

6. ผูใหบริการตองมีความรูในงานที่ใหบริการ ตอบขอซักถามไดอยางถูกตอง ศึกษาหาความรูจากเทคโนโลยี

ใหมๆอยูเสมอ มีความคิดใหมๆ เพื่อปฏิรูปงานบริการใหดียิ่งขึ้น
7. ผูใหบริการตองเปนคนชางสังเกต นําสิ่งที่พบมาพัฒนาสรางสรรคใหเกิดการบริการที่ดีมากขึ้น
8. เปนผูที่มีความกระตือรือรน แสดงความหวงใย ชวยเหลือผูรับบริการ
9. สามารถควบคุมอารมณไดเปนอยางดี ซึ่งตองใหบริการผูรับบริการที่มีหลากหลายแตกตางกัน และมีสติใน

การคิดแกไขปญหา เสนอทางเลือกที่ดีที่สุด
การใหบริการมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองศึกษาความพึงพอใจของการใหบริการรถปรับอากาศวาผูรับบริการ

มีความพึงพอใจในการบริการของพนักงานขับรถอยูในระดับใด เพราะเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาการบริการที่ดีที่สุด
สําหรับผูรับบริการ ดังเอกสารสรุปที่แนบมาในเอกสารภาคผนวก

บรรณานุกรม


กอบแกว สิงหดี. (2533). แนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมนิสิตของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
อัดสําเนา

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. แผนกลยุทธในการพัฒนามหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: ฉบับเต็ม
สมิต สัชฌุกร. (2546). การตอนรับและบริการที่เปนเลิศ. กรุงเทพฯ: พิมพที่สํานักพิมพ สายธาร
เครือบริษัทสํานักพิมพวิญูชน จํากัด และบริษัทโรงพิมพเดือนตุลา จํากัด.

รวีวรรณ โปรยรุงโรจน. (2551). จิตวิทยาการบริการ. กรุงเทพฯ: พิมพทีสํานักพิมพ โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮาส.
www.chula.ac.th

www.sa..chula.ac.th/หนาแรก


































































Click to View FlipBook Version