ค่มู ือการทาหวั สงิ โตจ๋วิ เพ่อื สรา้ งอาชพี
ตำนำนสิงโตฝง่ั ธนบรุ ี
ชาวจีนที่อพยพเข้ามาในย่านฝั่งธนบุรี มีถึง 5 กลุ่มด้วยกัน ได้แก่ จีน
แต้จ๋ิว (潮州) เป็นกลุ่มชาวจีนท่ีมาจากมณฑลฝูเจี้ยน (福建省) และ
มณฑลกวางตุ้ง (廣東省) มักจะประกอบอาชีพการค้า และรับราชการ
จีนแคะ (客家) เป็นกลุ่มชาวจีนที่มาจากมณฑลกวางตุ้ง ( 廣東省)
ประกอบอาชีพเกี่ยวกับหนังสัตว์ ทาเหมือง และเกษตรกรรม จีนไหหลำ (海
南) เป็นกลุ่มชาวจีนท่ีมาจากเกาะไหหลา ประกอบอาชีพร้านอาหาร และ
อตุ สาหกรรม จีนฮกเก้ียน (福建) เป็นกลมุ่ ชาวจีนที่มาจากมณฑลฝูเจยี้ น (福
建省) ประกอบอาชพี เก่ียวกับการคา้ ขายทางเรือ และชอบการรับราชการ และ
จีนกวำงตุ้ง (廣東) เป็นกลุ่มชาวจีนท่ีอพยพมาจากมณฑลกวางสี ประกอบ
อาชีพเกษตรกรทาสวนยาง
พ้ืนที่บริบทฝ่ังธนบุรีมีประวัติศาสตร์คว ามเป็นมายาวนา น
และเกี่ยวพันกับชุมชนชาวจีนในพื้นท่ี อย่างต่อเน่ือง เช่ือมต่อภาพความคิดของ
ผู้คนในแต่ละยุคด้วยเส้นแบ่งเวลา (Timeline) ท่ีเราสามารถสืบค้นและนับเป็น
ช่วงอายุได้ แต่เรื่องเล่าท่ีมาจากเค้าโครงจริงเป็นตานานเล่าขานมาจนถึงปัจจุบัน
ยังคงอยู่หรือสลายหายไปตามกาลเวลา ความงดงามในวิถีชีวิตริมน้าและการ
ถา่ ยทอดแบบมุขปาฐะในท้องถนิ่ การเล่าแบบปากต่อปากของผู้เฒ่าผูแ้ ก่ในชุมชน
สืบทอดมาสู่กิจกรรมวัฒนธรรมประเพณีทย่ี ึดโยงกับชุมชน ปรากฏในรูปแบบงาน
ศลิ ปะหัตถศิลป์ ศิลปะการแสดงและการละเล่นต่าง ๆ ล้วนแต่นับเป็นมรดกอันล้า
ค่ายงิ่ ทห่ี าฟงั ไม่ไดจ้ ากในหนังสือและตารา
แต่เดิมชาวจีนฝ่ังธนบุรีเข้ามาพานักตั้งถ่นิ ฐานแต่คร้งั ปลายสมัยอยุธยา
จวบจนถึงสมัยธนบุรี มีความเช่ือความศรัทธาสัมพันธ์กับธรรมชาติและ
ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ มีความเช่ือว่า เทพเจ้าส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ท่ีประจาอยู่ใน
ธรรมชาติรอบล้อมเรามาต้ังแต่เกิดจนตาย ความเชื่อนี้ ถ่ายทอดสู่กิจกรรม
วัฒนธรรมประเพณีต่าง ๆ แสดงการนับถือบูชาเทพเจ้า ได้แก่ พระอาทิตย์
พระจนั ทร์ สายนา้ พื้นดิน และแผ่นฟ้า
สงิ โตเปน็ ศลิ ปะการละเลน่ ท่ีอยู่คูก่ ับชุมชนฝั่งธนบุรีมายาวนานนับต้งั แตส่ มัย
ปลายกรุงศรีอยุธยาเรื่อยมา ปัจจุบันการเชิดสิงโตขยายวงกว้างเป็นอาชีพคนเล่นสิงโต
ปรากฏมคี ณะสงิ โตรบั งานการแสดงมากมายหลายคณะ เป็นท่ียอมรบั ในฝีมือลลี าการเชิด
สิงโตทโ่ี ดดเดน่ และยงั เปน็ ท่ีนยิ มเล่นกันอยา่ งแพร่หลายในย่านเศรษฐกิจดังทั้งฝงั่ พระนคร
และฝง่ั ธนบุรี
ศิลปะการเล่นสงิ โตเป็นการแสดงถวายตอ่ สง่ิ ศักด์สิ ทิ ธิ์ให้เกดิ มงคลนาโชคลาภ
มาให้ และชว่ ยปกป้องปัดเป่าภัยต่าง ๆ ไมใ่ ห้มาเบียดเบียน ผู้คนจงึ นยิ มจดั ให้มีการแสดง
เชดิ สิงโตขน้ึ ในงานมงคลตา่ ง ๆ ของชาวไทยเชื้อสายจนี ไม่ว่าจะเปน็ งานขึ้นบ้านใหม่ เปิด
โรงงานกจิ การ แล้วใหม้ ีขบวนแห่สงิ โตและการเชิดสิงโต มาอวยพรใหเ้ ราเฮงๆ รวยๆ โชค
ดีตลอดปี สิงโตจึงถือวา่ มีบทบาทต่อวิถีชีวิตของชุมชนไทย-จีนฝ่ังธนบุรีในอดีตถึงปัจจุบัน
ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีชาวจีน ย้ายถิ่นฐานเข้ามาทาการค้าขายใน
แผ่นดินสยาม ได้นาเอาการเล่นสิงโตติดตัวมาด้วย ปรากฏมีการแสดงหน้าพระที่น่ังให้
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทอดพระเนตร เชื่อวา่ ผู้ใดไดช้ มการเลน่ สิงโตจะมโี ชคลาภ
เจริญรุง่ เรอื งเป็นสิรมิ งคล นับแตน่ น้ั สงิ โตจงึ ไดส้ บื ทอดอยู่ในชุมชนเกอื บทกุ ชุมชนฝง่ั ธนบรุ ี
มจี านวนคณะสงิ โตประจาศาลเจ้า และชุมชน มากกวา่ 19 คณะ
การเล่นสิงโต เป็นศิลปะแขนงหน่ึงที่แฝงความแข็งแรงผสมความอ่อนพลิ้ว
และความยืดหยุ่นของร่างกาย ด้วยลีลาการเชิดสิงโตพื้นเน้นความแข็งแรงขาและหัวเข่า
การกา้ ว-เดิน การย่อ-ยดื การว่งิ และหยดุ กะทนั หัน ช่วงแขนและขอ้ มอื ต้องใชก้ าลังอย่าง
มากในการเชิดหัวโตให้เคลื่อนไหวไปตามทิศทางที่กาหนด และรับน้าหนักหัวโต
โดยประมาณ 7-8 กโิ ลกรัม การเชิดเป็นการเลียนแบบอากัปกิริยาของสิงโตท่ีชอบซุกซน
ผสมผสานกบั การเล่นกายกรรมจีน การเชิดสิงโตแบ่งออกเป็น 3 ลกั ษณะ
1.1) การเชิดสิงโตพ้ืน เป็นการเชิดสิงโตในรูปแบบที่มีเรื่องราวและเป็น
การอวยพรที่เรียกว่า “ไฉ่ชิง” เป็นท่ีนิยมในการจัดแสดง โดยผู้แสดงจะเชิดสิงโตกินผัก
ผลไม้ และคายออกมาเรียงเปน็ คาอวยพร อักษรมงคล การเล่นไฉ่ชิงเช่ือว่าเปน็ สญั ลักษณ์
แห่งการเปล่ียนแปลง จากร้ายเป็นดี และเปล่ียนจากสิ่งที่ดีให้ดีย่ิงข้ึน ซ่ึงผู้เชิดจะต้องมี
ทกั ษะในการทาทา่ ทางต่างๆ เชน่ ทา่ ก้มมอง รีรอเดินวนรอบ ท่าดุดัน ท่างอตัว คกุ เข่า ท่า
นอน ท่ากระโดด และการทรงตวั บนวัตถุ
1.2) การเชิดสิงโตต่อตัว เป็นการแสดงกายกรรมมีวิธีแสดงแบบโบราณท่ี
เรียกว่า “ซ่ิงจือไชชิง” กล่าวคือ เมื่อทาการแสดงเชิดสิงโตแล้วผู้จ้างนาเอาซองรางวัลไป
แขวนไว้บนยอดไม้สูง ผู้แสดงก็จะต้องต่อตัวกันข้ึนไปเพอ่ื เอาซองรางวัลนั้น ต่อมาการต่อ
ตัวถกู ปรบั ใช้เปน็ รูปแบบการแสดงท่ีผสมผสานเข้ากบั การเล่นกายกรรม โดยมีจุดม่งุ หมาย
เพ่อื แสดงความสามารถในการทรงตัวและความแขง็ แรงของผู้แสดง โดยอาศยั ความสงู เปน็
ข้อบ่งชี้ความสามารถของคณะแสดง ซ่ึงจะเล่นแข่งกันแต่ละคณะมีช่ือเรียกการเล่น
ลกั ษณะน้วี ่า “ดมั มี่”
1.3) การเชิดสิงโตบนเสาต่างระดับ หรือที่เรียกว่า “เสาดอกเหมย” ซึ่งเป็น
รูปแบบการเชิดที่มมี าในระยะหลังและเป็นท่ีนิยมมากในปัจจุบัน ผู้แสดงต้องมีกาลังขาท่ี
แข็งแรงและมีสมาธิแม่นยาในการทรงตัว มีการใช้เทคนิคพิเศษในการเชิดที่อาศัยความ
ชานาญในการฝกึ ซ้อมอย่างหนักการเชิดสิงโตบนเสาต่างระดับน้ีได้รับการพัฒนารูปแบบ
การแสดงมาจากประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ได้แก่ สงิ คโปร์ มาเลเซีย ถกู บรรจุ
เปน็ กฬี าประเภทหนง่ึ ในการแขง่ ขันกีฬาเอเชียนอินดอรเ์ กมส์ ครงั้ ที่ 2 ณ เมืองมาเกา๊ ใน
ประเทศไทยมีสมาคมวูซูแหง่ ประเทศไทยเป็นสมาพันธ์ผดู้ ูแลกีฬาการแข่งขันประเภทการ
เชิดสงิ โตและจัดส่งเข้าแข่งขัน
สาหรับองค์ความรู้การทาหัวสิงโตยังปรากฏอยู่ในชุมชนมีปราชญ์ท้องถ่ิน
อาวุโสเป็นผู้สืบทอดศิลปะการทาหัวสิงโตโบราณท่ีมีชื่อเสียงและเป็นยอมรับในแวดวง
สงิ โตฝง่ั ธนบรุ ีมีชายาวา่ อาจารยโ์ จตลาดพลู (อาจารย์วชิ ัย รอดเกิด) อายุ 78 ปี สิงโตตาม
ความเชือ่ ชาวจีนถือเป็นสตั ว์วเิ ศษในจินตนาการมีตน้ กาเนิดมาจากสัตว์ 3 ประเภท ได้แก่
แรด เพราะมีนอท่ีหน้าผากตรงตามนิทานพ้นื บ้านของจีน มำ้ เพราะมีลาตวั เป็นมา้ ท่มี เี ขา
เดียวอยู่บนหวั ถือวา่ เป็นสัตวม์ งคล ซึง่ จะปรากฏตวั เม่อื มซี ินแสเกดิ หรอื มีนักปราชญ์ผู้ทรง
ธรรมขึ้นครองบัลลังก์ สุนัข จะเห็นว่าท่าทางการเต้นของสิงโตนั้นเลียนแบบมาจาก
ท่าทางสุนัขล่าเน้ือ และสุนัขพันธ์ปักก่ิงและสุนัขพันธ์จู โดยสิงโตท่ีเล่นกันในทุกวันนี้ มี
รากฐานจากชาวจีนโพน้ ทะเลที่อพยพออกมาจากประเทศจนี และยังคงรักษาวฒั นธรรม
ด้ังเดิมของตนเองไว้ รูปแบบและท่าทางของการเล่นสิงโตมีเคล็ดลับมาจากวิชา
มวยจีนแฝงอยูด่ ว้ ย คนสมัยก่อนจะใช้การเชดิ สิงโตเปน็ อบุ ายในการสอนและถา่ ยทอดวิชา
โดยเฉพาะวิชามวยเท้า คณะสิงโตฝั่งธนบุรี มีมากมายหลายคณะ เช่น คณะหลวงพ่อวัด
โบสถ์บน คณะศิษย์เทวธรรม คณะศิษย์หลวงพ่อฑูรย์ คณะศิษย์ลูกชัยมงคล คณะหลง
เฉยี นไทยแลนด์ คณะลกู ธนบุรี คณะลกู พอ่ พลายบางทรงฤทธ์ิ คณะลูกพ่อโอภาสี คณะลูก
สวนย่สี ิบ คณะศษิ ยห์ ลวงพอ่ มเหศวร คณะศษิ ยห์ ลวงพอ่ วิเชียรมุนี คณะศษิ ยห์ ลวงพอ่ แกว้
คณะศษิ ยเ์ จ้าพอ่ เจยี วต๋ีเอยี๊ ะ คณะศษิ ย์ลกู เจ้าฟา้ จฑุ ามณี คณะกงั ปักไทยแลนด์ คณะศิษย์
จักรพรรดิดา คณะลูกเจ้าพ่อเขาตก คณะศิษย์เอกท้าวมหาพรหม คณะลูกพระนเรศวร
คณะศษิ ยห์ ลวงพอ่ น้อย เป็นตน้
อปุ กรณ์ทำหัวสิงโตจ๋วิ ภำพประกอบ
รำยกำร
1. บลอ็ กปนู
2. กระดาษหนงั สือ
3. กระดาษหอ่ ของ
4. กาวลาเท็ก
รำยกำร ภำพประกอบ
5. ถว้ ยสาหรับแช่กระดาษ
6. พู่กันทากาว
7. สีโปสเตอร์
8. จานสี
รำยกำร ภำพประกอบ
9. แกว้ สาหรับลา้ งพู่กัน
10. ผา้ ซับพกู่ ัน
11. ปอมปอม
12. ตะปแู ป็ก
รำยกำร ภำพประกอบ
13. ลวดสาหรับดามขอบ
14. คีมตัดลวด
15. ลกู ตาตุก๊ ตา
16.ขนเทยี ม 25 mm.
รำยกำร ภำพประกอบ
17. กระดาษปะเก็น
18.สเปรยแ์ ลก็ เกอร์
19. ยูรเิ ทน
20. แก้วใสย่ ูรเิ ทน
รำยกำร ภำพประกอบ
21. เชือกผูกปาก
22. คทั เตอร์
23. กรรไกร
24. สอี ะคริลกิ สาหรบั ทารองพ้ืน
(สีขาว) 25.
26. วาสลนี
ขัน้ ตอนกำรทำหัวสงิ โตจ๋ิว
1. เตรยี มบล็อกปนู ใหพ้ รอ้ มสาหรบั การพอกหนุ่ โดย นากระดาษหนังสือพมิ พ์
ที่เตรียมไว้ ฉีกให้เป็นชิ้นเล็กๆ จากน้ันนาไปแช่น้าในถ้วยเพื่อให้กระดาษเปื่อย พร้อม
สาหรับนามาพอกบล็อกปูนต้นแบบหัวสิงโต นาวาสลีน( Vaseline) ทาบริเวณบล็อกปูน
พาสเตอร์ต้นแบบหัวสิงโตใหท้ ั่ว เพ่อื สะดวกตอ่ การถอดบล็อกแมพ่ ิมพ์
2. นากาวลาเท็กผสมน้าเพ่ือให้กาวมีความเหลวเหมาะแก่การติดกระดาษ
และนากระดาษที่แช่น้าเตรียมไว้มาแปะรอบหัวสิงโตให้ท่ัว โดยใช้พู่กันจุ่มกาวผสมน้า
คอยทาลงบนกระดาษท่ีปะลงบนบล็อกปูนใหท้ ัว่ ซึ่งจะต้องทาไปทลี ะชน้ั เสรจ็ 1 ชัน้ รอจน
กระดาษแห้งปฏิบัตซิ า้ จนครบ 10 ชัน้ และนาไปตากแดดเพื่อไล่ความช้ืน หรือเพ่ือความ
สะดวกสามารถใชไ้ ดร์เปา่ ผมช่วยเป่าให้แห้งไวมากย่ิงข้นึ
3. หลักจากที่ชนิ้ งานแห้งสนทิ แลว้ จึงจะตอ้ งแปะชัน้ สดุ ทา้ ยดว้ ยกระดาษห่อ
ของ เพ่อื ให้พ้ืนผวิ เปน็ สเี ดยี วกนั ทง้ั หมด และยงั ช่วยใหช้ ิ้นงานมีความแขง็ แรง หลกั จาก
แปะกระดาษขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยเสรจ็ เปน็ ท่เี รยี บรอ้ ยแลว้ ให้นาชน้ิ งานไปตากแดดให้แห้งเพือ่
ป้องกนั การเกดิ เชอื้ รา
5 หลงั จากชนิ้ งานแห้งสนทิ ใหใ้ ช้มดี คัดเตอรผ์ า่ บรเิ วณก่งึ กลางของหวั สงิ โต
เพ่อื แกะตวั ชิน้ งานออกจากต้นแบบ ใช้กระดาษปะตดิ เพ่อื ประสานชน้ิ งานบริเวณรอยผา่
ให้เป็นชน้ิ เดียวกนั
6. จากนัน้ นาลวดดดั ใหไ้ ด้ตามรปู ซงึ่ จาตอ้ งวดั ตามขนาดของขอบชน้ิ งานใหพ้ อดี และ
นามาดามบริเวณขอบของชนิ้ งานหวั สงิ โตใหเ้ กิดมความแขง็ แรง และเชอ่ื มรอยต่อระหวา่ ง
ลวดด้วยกาว และใชก้ ระดาษตดิ ทบั เพอื่ ปิดรอยประสานให้เรยี บรอ้ ย รอจนกว่าชนิ้ งาน
แห้งสนิท
7. ทาสีขาวอคลิลิครองพื้นให้ทั่วช้ินงาน เพื่อปกปิดร่องรอยและปรับสีของ
ชน้ิ งานให้เสมอกัน หลังจากนน้ั วาดลวดลายตาใความต้องการโดยร่างด้วยดนิ สอ และแบ่ง
สดั ส่วนใหเ้ ท่ากัน นาสโี ปสเตอรว์ าดลวดลายตามชน้ิ งานใหเ้ กิดความสวยงาม
8. เมอ่ื วาดเสร็จแลว้ เคลอื บโดยใช้สเปรยเ์ คลียร์ พ่นเพอ่ื เคลอื บเงาในชน้ั แรกเพอื่ ลอ็ คสใี ห้
คงทน ขนั้ ตอนตอ่ มานาชนิ้ งานเคลือบเงาดว้ ยการทายรู เิ ทนเพอ่ื ให้ชิ้นงานมคี วามเงางาม
และคงทน หลงั จากลงยนู เิ ทนจนทว่ั ชน้ิ งานแลว้ ให้นาไปตากแดดให้แห้งสนิท
9.ขน้ั ตอนการสรา้ งหสู งิ โดและปากสิงโต โดยจะนากระดาษปะเก็นตัดเปน็ รูป
ปากของสิงโต และหูของสิงโต จานวน 2 ข้าง จากน้ันวาดลวดลายและลงสีให้สวยงาม
และนาไปเคลือบเชน่ เดยี วกับหวั สงิ โต จากนน้ั นาไปติดลงบนหัวสิงโต ให้เรยี บร้อย
10. ข้ันตอนการตกแต่งดว้ ยขนและอุปกรณ์ตกแตง่ โดยนาลูกปอมๆ ลกู ตา
พาสตกิ ขนเทยี ม หมุดตดิ หน้าผาก ที่เตรียมไวส้ าหรบั ตดิ ที่ตามตาแหน่งส่วนตา่ งๆของหัว
สงิ โตบริเวณเช่น บริเวณปาก ตา หู จมูก แก้ม หน้าผาก เขานาปากมาผูกเข้ากับหัวสิงโต
เปน็ อันเสร็จสิ้นข้นั ตอนการทาหวั สงิ โตจว๋ิ
ขอขอบคุณ
กองทนุ เพ่อื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา
โรงเรียนวดั เศวตรฉตั ร กรงุ เทพฯ
สนบั สนุนทุนโดย
กองทุนเพ่ือควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ
จัดทำโดย
คณะผู้วิจัย มหำวิทยำลยั รำชภัฏบ้ำนสมเด็จเจำ้ พระยำ