The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานส่งเสริมการอ่านไตรมาส 3-4 ปี 66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานส่งเสริมการอ่านไตรมาส 3-4 ปี 66

รายงานส่งเสริมการอ่านไตรมาส 3-4 ปี 66

คำนำ การดำเนินโครงการส่งเสริมการอ่าน โดยห้องสมุดประชาชนอำเภอเจาะไอร้อง จัดขึ้น เพื่อส่งเสริม กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจด้านการอ่านปลูกฝั่งนิสัยรักการอ่าน รักการค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและ เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ให้แก่นักเรียนประชาชนทั่วไปเพื่อให้เพิ่มสมาชิกในห้องสมุดมากขึ้น ประเมินและแก้ไข ปรับปรุงสามารถเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ เมื่อดำเนินการเสร็จสิ้น แล้วจึงมีการสรุปผลการดำเนินงานเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานในครั้งต่อไป การดำเนินงาน และการจัดทำเอกสารฉบับนี้ สำเร็จและเป็นรูปเล่มได้ด้วยความร่วมมือจากบุคลากร สกร.อำเภอเจาะไอร้อง ขอขอบคุณบุคลากร ทุกท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้อำนวยการ สกร.อำเภอเจาะไอร้อง ที่ได้ให้ คำแนะนำ ในการจัดกิจกรรมดังกล่าวสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะทำให้ทราบการ บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานในปีงบประมาณต่อไป เพื่อใช้ในการ บริหารงานและการทำงานที่ตรงกับความต้องการของสถานศึกษาต่อไป จัดทำโดย ห้องสมุดประชาชนอำเภอเจาะไอร้อง ก ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


สารบัญ คำนำ สารบัญ สรุปผลการดำเนินงานโครงการ โครงการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ หน้า ๑ สยามบรมราชกุมารี: 2 เมษายน วันรักการอ่าน โครงการส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือชุมชน หน้า ๔ โครงการเทิดพระเกียรติครบรอบ 100 ปี วันประสูติ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ หน้า ๗ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ “แก้วกัลยาในดวงใจ” โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด หน้า ๑๐ โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนสู่สถาบันการศึกษาปอเนาะ หน้า ๑๓ โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “นั่งที่ไหน อ่านที่นั่น” หน้า ๑๗ โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กศน.ตำบล หน้า ๒๐ ข ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


แบบรายงานผลการดำเนินงานรายโครงการ ๑.ชื่อโครงการ : โครงการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี: 2 เมษายน วันรักการอ่าน ๒.ความสอดคล้องกับนโยบาย นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕6๖ ๓.๑ ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ ๒) ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ๓.๒ ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละช่วงวัย และการ จัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ ๓.๓ ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ ๓) ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ฉบับที่ลงวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๐ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๑.๑ ผู้รับบริการมีความรู้หรือทักษะหรือประสบการณ์สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการหรือกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๒.๒ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ๓.๘ การส่งเสริมสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓.หลักการและเหตุผล วันที่ ๒ เมษายนของทุกปี นับเป็นวันที่สำคัญที่กระทรวงศึกษาธิการ กำหนดให้ ปี ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑ เป็น ทศวรรษแห่งการอ่านของประเทศและให้การส่งเสริมการอ่านเป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิต โดยกำหนดให้วันที่ ๒ เมษายนของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” และ เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๘ รัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ ๒ เมษายน ของทุกปี อันเป็นวันคล้ายวันพระ ราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “ วันอนุรักษ์มรดกไทย ” ด้วยตระหนักในพระ ปรีชาสามารถในด้านศิลปวัฒนธรรม และพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงอนุเคราะห์สนับสนุนกิจกรรมอันเนื่องด้วยงาน วัฒนธรรมของชาติเสมอมา โดยเฉพาะทรงเป็นแบบอย่างในการบำเพ็ญพระราชกรณียกิจ และพระราชจริยาวัตรใน ด้านการอนุรักษ์มรดกของชาติในสาขาต่าง ๆ เช่น วรรณศิลป์ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภาษาไทย สถาปัตยกรรม ดนตรีไทยและพุทธศาสนา รวมทั้งได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการสร้างสรรค์และธำรงรักษามรดกของชาติ ให้ยั่งยืนตกทอดต่อไปถึงลูกหลาน ๑ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๔.วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อต้องการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีนิสัย รักการอ่าน 2. เพื่อต้องการให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้จากการอ่านและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ ชีวิตของตนเองได้ 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้จากการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๕.ผลการดำเนินงาน ๕.๑ เชิงประมาณ ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร เป้าหมาย (คน/แห่ง) ผลการดำเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ชาย หญิง รวม รับจัดสรร เบิกจ่าย ร้อยละ ๑ โครงการเทิดพระเกียรติสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรม ราชกุมารี : 2 เมษายน วันรักการอ่าน ๓๐๐ ๑๒๓ ๑๗๗ ๓๐๐ - - - รวมทั้งสิ้น ๓๐๐ ๑๒๓ ๑๗๗ ๓๐๐ ๕.๒ เชิงคุณภาพ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน มีนิสัยรักการอ่าน และผู้นำชุมชน อาสาสมัครรักการอ่านคนในชุมชนมี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพิ่มขึ้น ๖.ผลลัพธ์ที่ได้รับ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลาย และผู้นำชุมชน อาสาสมัครรักการอ่านคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพิ่มขึ้น ๗.ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน ไม่มีเวลาในการอ่านหนังสือ ๘.แนวทางในการดำเนินงานต่อไป เพิ่มบ้านหนังสือชุมชนทุกหมู่บ้านเพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้และจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย ให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆอย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ ๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัตนาวาตี ซายอ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ๒ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสำเร็จของโครงการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี: 2 เมษายน วันรักการอ่าน ๓ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑.ชื่อโครงการ : โครงการส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือชุมชน ๒.ความสอดคล้องกับนโยบาย นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕6๖ ๓.๑ ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ ๒) ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ๓.๒ ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ ๓.๓ ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ ๓) ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตรา การอ่านและการรู้หนังสือของประชาชน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ฉบับที่ลงวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๐ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๑.๑ ผู้รับบริการมีความรู้หรือทักษะหรือประสบการณ์สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการหรือกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๒.๒ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ๓.๘ การส่งเสริมสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓.หลักการและเหตุผล บ้านหนังสือชุมชน เป็นแหล่งการอ่าน การจัดกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น ในชุมชน เป็นสถานที่พบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สามารถเข้าใช้บริการได้สะดวก มีความเหมาะสมกับ บริบทของพื้นที่และชุมชน โดยมีเจ้าของบ้าน หรืออาสาสมัคร ท าหน้าที่ดูแล ให้บริการ และจัดกิจกรรมสร้างเสริม การอ่านและการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ๔.วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อเป็นแหล่งการอ่ารที่ใกล้ตัวชุมชน ๔.๒ เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักอ่าน ป้องกัน และเกิดการเรียนรู้ สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากการอ่านไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ๔.๓ เพื่อเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุนชนแบบมีส่วนร่วม ๔ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๕.ผลการดำเนินงาน ๕.๑ เชิงประมาณ ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร เป้าหมาย (คน/แห่ง) ผลการดำเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ชาย หญิง รวม รับจัดสรร เบิกจ่าย ร้อยละ ๑ โครงการส่งเสริมการอ่านบ้าน หนังสือชุมชน ๓๐๐ ๑๒๓ ๑๗๗ ๓๐๐ - - - รวมทั้งสิ้น ๓๐๐ ๑๒๓ ๑๗๗ ๓๐๐ ๕.๒ เชิงคุณภาพ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน มีนิสัยรักการอ่าน และผู้นำชุมชน อาสาสมัครรักการอ่านคนในชุมชนมี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพิ่มขึ้น ๖.ผลลัพธ์ที่ได้รับ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลาย และผู้นำชุมชน อาสาสมัครรักการอ่านคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพิ่มขึ้น ๗.ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน ไม่มีเวลาในการอ่านหนังสือ ๘.แนวทางในการดำเนินงานต่อไป เพิ่มบ้านหนังสือชุมชนทุกหมู่บ้านเพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้และจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย ให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆอย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ ๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัตนาวาตี ซายอ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ๕ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสำเร็จของโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือชุมชน ๖ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑.ชื่อโครงการ : โครงการเทิดพระเกียรติครบรอบ 100 ปี วันประสูติ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ “แก้วกัลยาในดวงใจ” ๒.ความสอดคล้องกับนโยบาย นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕6๖ ๓.๑ ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ ๒) ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ๓.๒ ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละช่วงวัย และการ จัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ ๓.๓ ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ ๓) ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ฉบับที่ลงวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๐ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๑.๑ ผู้รับบริการมีความรู้หรือทักษะหรือประสบการณ์สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการหรือกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๒.๒ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ๓.๘ การส่งเสริมสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓.หลักการและเหตุผล การอ่าน เป็นวัฒนธรรมในการแสวงหาความรู้ของประชากรทุกคน ปัจจุบันสังคมโลกเป็นสังคมแห่ง การเรียนรู้และการแข่งขัน การอ่านจึงเป็นวิธีการที่จะช่วยให้ประชากรได้รับความรู้ข้อมูลข่าวสาร และแนวคิดใหม่ๆ อันจะเป็นการพัฒนาตนเองและรู้จักปรับตัวให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประเทศไทยตระหนักถึงความสำคัญ ดังกล่าวและให้การส่งเสริมสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังมีหน่วยงานทุกภาคส่วนร่วมกันจัดกิจกรรมและรณรงค์ ส่งเสริมการอ่าน กอปรกับรัฐบาลได้กำหนดนโยบายปฏิรูปการศึกษาทั้งในด้านคุณภาพประสิทธิภาพ มาตรฐานและ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา โดยมุ่งแก้ปัญหาเรื่องคุณภาพ โอกาส และประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาเพื่อ ตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ โดยให้มีความเชื่อมโยงและส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ อย่าง ต่อเนื่อง (ที่มา: นโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรีพลเอกประยุทธ์จันทร์โอชา : ๒๕๕๙) และยุทธศาสตร์๒๐ ปีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ แผนการศึกษาชาติพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ แผนแม่บทส่งเสริม วัฒนธรรมการอ่านสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ของไทยพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบาย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๗ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๔.วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อต้องการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีนิสัย รักการอ่าน 2. เพื่อต้องการให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้จากการอ่านและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ ชีวิตของตนเองได้ 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้จากการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๕.ผลการดำเนินงาน ๕.๑ เชิงประมาณ ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร เป้าหมาย (คน/แห่ง) ผลการดำเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ชาย หญิง รวม รับจัดสรร เบิกจ่าย ร้อยละ ๑ โครงการเทิดพระเกียรติครบรอบ 100 ปี วันประสูติ สมเด็จพระเจ้า พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ “แก้วกัลยาในดวงใจ” ๓๐๐ ๑๒๓ ๑๗๗ ๓๐๐ - - - รวมทั้งสิ้น ๓๐๐ ๑๒๓ ๑๗๗ ๓๐๐ ๕.๒ เชิงคุณภาพ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน มีนิสัยรักการอ่าน และผู้นำชุมชน อาสาสมัครรักการอ่านคนในชุมชนมี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพิ่มขึ้น ๖.ผลลัพธ์ที่ได้รับ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลาย และผู้นำชุมชน อาสาสมัครรักการอ่านคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพิ่มขึ้น ๗.ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน ไม่มีเวลาในการอ่านหนังสือ ๘.แนวทางในการดำเนินงานต่อไป เพิ่มบ้านหนังสือชุมชนทุกหมู่บ้านเพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้และจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย ให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆอย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ ๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัตนาวาตี ซายอ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ๘ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสำเร็จของโครงการเทิดพระเกียรติครบรอบ 100 ปี วันประสูติ สมเด็จพระเจ้าพี่ นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ “แก้วกัลยาในดวงใจ” ๙ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑.ชื่อโครงการ : โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด ๒. สอดคล้องกับนโยบายต่าง ๆของรัฐบาล ๒.๑ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่๓ การพัฒนาศักยภาพของคนทุกช่วงวัย การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ - ร้อยละการอ่านของคนไทย(อายุตั้งแต่ ๖ ปีขึ้นไป) เพิ่มขึ้น ๒.๒ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์การขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต - ให้ผู้เรียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภทการศึกษา สามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบท ได้รับการ ยกระดับคุณภาพในการให้บริการ เด็กพิการและด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบและ นอกระบบ ๒.๓ สอดคล้องกับ(ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. งบประมาณ ๒๕๖๖ - จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนา ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน ๒.๓ แนวทางขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน.WOW ของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ดร. กนกวรรณวิลาวัลย์) ด้านที่ ๒ การพัฒนาหน่วยงาน/สถานศึกษา ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านที่ ๓ การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ด้านที่ ๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ๓. หลักการและเหตุผล การอ่านหนังสือเป็นการพัฒนาตนเองและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นมากในการพัฒนาคน และพัฒนาสังคม การอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลายแม้ในหมู่ผู้รู้หนังสือแล้วโดยเฉพาะการอ่าน หนังสือที่ดีและมีสาระยิ่งมีน้อยขึ้นไปอีก สาเหตุมีอยู่หลายประการ นับตั้งแต่การขาดแคลนหนังสือที่ดีและตรงกับ ความต้องการของผู้อ่าน การขาดแคลนแหล่งหนังสือที่จะยืมอ่านได้ ไปจนถึงการดึงความสนใจและการแย่งเวลาของ สื่ออื่นๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง ต่าง ฯลฯ รวมทั้งขาดการชักจูง การกระตุ้น และนิสัยรักการอ่านทั้งในและ นอกโรงเรียน เมื่อเทียบกับความเพลิดเพลินและการได้ฟังได้รู้เห็นเรื่องต่างๆจากโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียงสื่อโช เซียลมีเดียแล้ว การอ่านหนังสือเพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าวต้องใช้ความพยายามมากกว่า และต้องมีทักษะในการอ่าน ถ้าจะให้การอ่านหนังเกิดเป็นนิสัยจำเป็นต้องมีการปลูกฝังและชักชวนให้เกิด ความสนใจการอ่านอย่างต่อเนื่องและ สม่ำเสมอ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงห่วงใยเรื่องการอ่านของประชาชนเป็นอย่างมาก รับสั่งเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ได้พบแม่ค้าในตลาดสนใจการอ่านหนังสือจึงอยากให้ กศน. ได้ช่วยสนับสนุนการอ่านหนังสือของกลุ่มแม่ค้าพ่อค้าในตลาดต่างๆ เพื่อสร้างโอกาสให้กลุ่มคนเหล่านี้เข้าถึงการ อ่านหนังสือได้มากขึ้นด้วย ดังนั้น กศน. จึงสนองพระราชดำริด้วยการจัดตู้หนังสือ เคลื่อนที่สำหรับชาวตลาดใน โครงการพระราชดำริสมเด็จรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยกศน.จะเคลื่อนตู้หนังสือไว้ในตลาดต่างๆ เพื่อ ๑๐ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


ให้บริการหนังสือหลากหลายรูปแบบ เช่น หนังสือพิมพ์ หรือนิตยสารกับพ่อค้าแม่ค้า ไปจนถึงประชาชนที่มาซื้อสินค้า ภายในตลาด ห้องสมุดประชาชนอำเภอเจาะไอร้อง ร่วมกับ สกร.อำเภอเจาะไอร้อง ได้สนองพระราชดำริโดยการจัดทำ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาดสร้างนิสัยรักการอ่านที่เกิดขึ้นในชุมชนชาวตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการ เข้าถึงการอ่านในแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัวสนับสนุน ส่งเสริมการอ่านที่เกิดขึ้นในชุมชน โดยมีห้องสมุดประชาชนฯ เป็นกลไก ในการขับเคลื่อนการเสริมสร้างการรักการอ่าน ตลอดจนเสริมสร้างภาคีเครือข่ายให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของชุมชนได้อย่างยั่งยืน ๔. วัตถุประสงค์ 4.๑ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด ตามพระราชดำริสมเด็จ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 4.๒ เพื่อประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุดฯ 4.3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้พ่อค้าแม่ค้าและประชาชนในตลาด มีนิสัยรักการอ่าน ๕.ผลการดำเนินงาน ๕.๑ เชิงประมาณ ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร เป้าหมาย (คน/แห่ง) ผลการดำเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ชาย หญิง รวม รับจัดสรร เบิกจ่าย ร้อยละ ๑ โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาว ตลาด ๑5๐ ๖๘ ๘๒ ๑5๐ - - - รวมทั้งสิ้น ๑5๐ ๖๘ ๘๒ ๑5๐ ๕.๒ เชิงคุณภาพ ประชาชน ชุมชน ชาวตลาด ได้รับบริการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้น สามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ๖.ผลลัพธ์ที่ได้รับ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด”ตามพระราชดำริสมเด็จรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สามารถให้บริการความรู้ ความบันเทิง เป็นการส่งเสริมการอ่าน การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ตลอดจนเกิดการ เปลี่ยนเรียนรู้ให้กับประชาชน ชุมชน ชาวตลาด อย่างสร้างสวรรค์ ๗.ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน ไม่มีเวลาในการอ่านหนังสือ ๘. แนวทางในการดำเนินงานต่อไป เพิ่มสื่อที่หลากหลายและจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆอย่าง ทั่วถึง สม่ำเสมอ ๙.ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัตนาวาตี ซายอ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ๑๑ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสำเร็จของโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด ๑๒ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑.ชื่อโครงการ : โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนสู่สถาบันการศึกษาปอเนาะ ๒. สอดคล้องกับนโยบายต่าง ๆของรัฐบาล ๒.๑ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่๓ การพัฒนาศักยภาพของคนทุกช่วงวัย การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ - ร้อยละการอ่านของคนไทย(อายุตั้งแต่ ๖ ปีขึ้นไป) เพิ่มขึ้น ๒.๒ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์การขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต - ให้ผู้เรียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภทการศึกษา สามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบท ได้รับการ ยกระดับคุณภาพในการให้บริการ เด็กพิการและด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบและ นอกระบบ ๒.๓ สอดคล้องกับ(ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. งบประมาณ ๒๕๖๖ - จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนา ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน ๒.๓ แนวทางขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน.WOW ของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ดร. กนกวรรณวิลาวัลย์) ด้านที่ ๒ การพัฒนาหน่วยงาน/สถานศึกษา ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านที่ ๓ การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ด้านที่ ๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย 3. หลักการและเหตุผล ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความมั่นคง ข้อ 9)การป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่ สงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ มุ่งจัดการกับเงื่อนไขปัญหาที่มีอยู่เดิมทั้งปวงให้หมดสิ้นไป และเฝ้าระวังมิให้เกิด เงื่อนไขใหม่ขึ้น โดย น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์พระราชา มาเป็นกรอบแนวทางใน การดำเนินงานแก้ไขและ ป้องกันปัญหา ตลอดไปจนถึงการผลักดันยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาที่สาเหตุอย่าง แท้จริง พร้อมนำความสงบสันติสุขอย่าง ยั่งยืนกลับคืนสู่ประชาชนในจังหวัดชายแดนใต้ รวมทั้งสร้างความ เชื่อมั่นให้กับประชาชนทั้งประเทศและนานาชาติ ต่อไป โดยมีแนวคิดในการดำเนินการที่สำคัญ ประกอบด้วย (1) การมุ่งดำเนินการต่อจุดศูนย์ดุลหลักของปัญหาและแนวทางการปฏิบัติของขบวนการในพื้นที่ ด้วยการลด ขีดความสามารถของขบวนการและแนวร่วมในทุกระดับ (2) ดำเนินการป้องกันเหตุรุนแรงที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ และกับประชาชนกลุ่มเสี่ยง (3) ระงับยับยั้งการบ่มเพาะเยาวชนเพื่อจัดตั้งมวลชนสนับสนุนในอนาคต (4) ยุติการขยายแนวคิดที่ถูกบิดเบือนจากหลักศาสนาที่ถูกต้องและ (5) ให้ความสำคัญกับการขยายความร่วมมือกับ องค์กรต่างประเทศ นานาชาติและภาคประชาชน ในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วยจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล และ 4 อำเภอของ จังหวัดสงขลา ๑๓ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


มีสถานศึกษา กศน.อำเภอจำนวน 44 แห่ง มีสถาบันศึกษาปอเนาะที่ร่วมจัดการศึกษากับ กศน. จำนวน 387 แห่ง มีผู้เรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะซึ่งล้วนเป็นเยาวชนที่มาจากครอบครัวฐานะปานกลางถึง ยากจน เป็นกลุ่ม เสี่ยงและมีความเปราะบางต่อการชักชวนไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น การเสพยาเสพติด ความ หลงผิดกับขบวนการก่อ ความไม่สงบในพื้นที่ บางส่วนอาจอยู่ในกลุ่มเห็นต่างที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของ รัฐ สำนักงาน กศน.จึงมอบ ภารกิจให้สถานศึกษา กศน.ทุกอำเภอในจังหวัดชายแดนภาคใต้ขับเคลื่อนภารกิจ การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตของผู้เรียนควบคู่กับการเรียนศาสนา โดยมีครูอาสาสมัคร การศึกษานอกโรงเรียนประจำสถาบันศึกษา ปอเนาะเป็นกลไกสำคัญต่อการยกระดับคุณภาพ นอกเหนือจาก การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับผู้เรียนในสถาบัน ศึกษาปอเนาะแล้ว ยังส่งเสริมศักยภาพอื่น ๆ ประกอบด้วย กิจกรรมส่งเสริมการรู้ทักษะภาษาไทย กิจกรรมฝึกทักษะ อาชีพ กิจกรรรมน้อมนำศาสตร์พระราชา เป็นแนว ทางการพัฒนาสถาบันศึกษาปอเนาะ กิจกรรมขับเคลื่อนชมรม อาสาพัฒนาปอเนาะ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาในพื้นที่พิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ตามนโยบายของรัฐบาล ที่เล็งเห็นว่าการจัดการศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะเป็นส่วนหนึ่งในการ พัฒนาประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กลุ่มสำนักงาน กศน.จังหวัดชายแดนใต้มีความมุ่งหวังที่จะขับเคลื่อนการ จัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เกิดรูปธรรมตามนโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน.รวม ถึงนโยบายการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของรัฐบาล จึงขับเคลื่อนโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ในสถาบันศึกษา ปอเนาะ ที่มุ่งจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนนำความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีพ เช่น กิจกรรมฝึกทักษะ อาชีพเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาชีพ กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร กิจกรรมส่งเสริม สถาบันศึกษาปอเนาะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่นำแนวคิดศาสตร์พระราชาในการ ขับเคลื่อนกิจกรรม กิจกรรมน้อมนำพระ บรมราโชบายด้านการศึกษาด้วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชา ติไทย ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและบุญคุณของ พระมหากษัตริย์ไทย รวมถึงการส่งเสริมให้สถาบันศึกษาปอเนาะ ขับเคลื่อนกิจกรรมจิตอาสา ซึ่งทุกกิจกรรมมี ความสำคัญและจำเป็นต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้เรียนใน สถาบันศึกษาปอเนาะ 4. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนให้สถาบัน ศึกษาปอเนาะมีสื่อส่งเสริม ทักษะและอ่านออก เขียนได้และอื่นที่เหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะเพิ่มขึ้น ๕.ผลการดำเนินงาน 1. ผู้เรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในและนอกระบบการศึกษา 2. การจัดการศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะได้อย่างมีประสิทธิภาพตามแนวนโยบายที่รัฐกำหนด โดยเฉพาะ การยกระดับคุณภาพการศึกษา 3. ประชาชนในพื้นที่ จชต.ทุกเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม สามารถดำเนินชีวิตร่วมกันบนความ หลากหลาย เป็นสังคมพหุวัฒนธรรม ๑๔ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๕.๑ เชิงประมาณ ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร เป้าหมาย (คน/แห่ง) ผลการดำเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ชาย หญิง รวม รับจัดสรร เบิกจ่าย ร้อยละ ๑ โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เคลื่อนสู่สถาบันการศึกษาปอเนาะ 1๐๐ 26 74 1๐๐ - - - รวมทั้งสิ้น 1๐๐ 26 74 1๐๐ ๕.๒ เชิงคุณภาพ เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป มีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการส่งเสริมการอ่านและมาใช้ บริการห้องสมุดเพิ่มมากขึ้น ๖. ผลลัพธ์ที่ได้รับ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้รับความรู้ที่ทันสมัย ตรงกับความต้องการ ๗.ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน ไม่มีเวลาในการอ่านหนังสือ ๘.แนวทางในการดำเนินงานต่อไป กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริหารสำนักงาน กศน.จังหวัด ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถาบันศึกษา ปอเนาะ ครู อาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียนประจำสถาบันศึกษาปอเนาะ และผู้รับผิดชอบงานการจัด การศึกษาในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ขั้นตอนการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.จังหวัดประสานหน่วยงานภาคีเครือข่ายเพื่อร่วมบูรณาการการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตใน สถาบันศึกษาปอเนาะ อาทิศูนย์ประสานงานและบริหารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้(ศปบ.จชต.) อาชีวศึกษา จังหวัด (อศจ.) สำนักงานส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัด (สช.จังหวัด) สมาคม ผู้บริหารสถาบันศึกษาปอเนาะจังหวัด ศึกษาธิการจังหวัด หน่วยเฉพาะกิจสันติสุขจังหวัดชา ยแดนภา คใต้มหาวิทยาลัย เป็นต้น สำนักงาน กศน.จังหวัดจัดประชุมชี้แจงโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษา ปอเนาะ กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถาบันศึกษาปอเนาะ ครูอาสาสมัคร การศึกษานอก โรงเรียนประจำสถาบันศึกษาปอเนาะ และผู้แทนภาคีเครือข่าย ตามข้อ เพื่อกำหนด แนวทางการการดำเนินโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ โดยมีกรอบการ ประชุมชี้แจง ดังนี้ 1) นำเสนอผลการดำเนินงานการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะใน ปีงบประมาณที่ผ่านมา 2) ชี้แจงแนวทางการจัดกิจกรรมโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ - กิจกรรมส่งเสริม ทักษะอาชีพในสถาบันศึกษาปอเนาะเพื่อการสร้างอาชีพที่ยั่งยืน - กิจกรรมส่งเสริมทักษะภาษาไทยในมุมเรียนรู้ตาม อัธยาศัยในสถาบันศึกษาปอเนาะ - กิจกรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา - กิจกรรมสนับสนุนชมรมจิตอาสาพัฒนา ปอเนาะ 3) จัดเวทีเสวนาการบูรณาการการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะร่วมกับ หน่วยงานภาคี เครือข่ายตามข้อ 1.2.1 ๑๕ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๙.ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัตนาวาตี ซายอ ตำแหน่งบรรณารักษ์ ๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสำเร็จของโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนสู่สถาบันการศึกษาปอเนาะ ๑๖ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑.ชื่อโครงการ : โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “นั่งที่ไหน อ่านที่นั่น” ๒. สอดคล้องกับนโยบายต่าง ๆของรัฐบาล ๒.๑ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่๓ การพัฒนาศักยภาพของคนทุกช่วงวัย การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ - ร้อยละการอ่านของคนไทย (อายุตั้งแต่ ๖ ปีขึ้นไป) เพิ่มขึ้น ๒.๒ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์การขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต - ให้ผู้เรียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภทการศึกษา สามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบท ได้รับการ ยกระดับคุณภาพในการให้บริการ เด็กพิการและด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบและ นอกระบบ ๒.๓ สอดคล้องกับ(ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. งบประมาณ ๒๕๖๖ - จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนา ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน ๒.๓ แนวทางขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน.WOW ของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ดร. กนกวรรณวิลาวัลย์) ด้านที่ ๒ การพัฒนาหน่วยงาน/สถานศึกษา ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านที่ ๓ การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ด้านที่ ๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ๓. หลักการและเหตุผล การอ่าน เป็นวัฒนธรรมในการแสวงหาความรู้ของประชากรทุกคน ปัจจุบันสังคมโลกเป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้และการแข่งขัน การอ่านจึงเป็นวิธีการที่จะช่วยให้ประชากรได้รับความรู้ข้อมูลข่าวสาร และแนวคิดใหม่ๆ อัน จะเป็นการพัฒนาตนเองและรู้จักปรับตัวให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประเทศไทยตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว และให้การส่งเสริมสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังมีหน่วยงานทุกภาคส่วนร่วมกันจัดกิจกรรมและรณรงค์ส่งเสริม การอ่าน กอปรกับรัฐบาลได้กำหนดนโยบายปฏิรูปการศึกษาทั้งในด้านคุณภาพประสิทธิภาพ มาตรฐานและความ เหลื่อมล้ำทางการศึกษา โดยมุ่งแก้ปัญหาเรื่องคุณภาพ โอกาส และประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองต่อ ความต้องการของประเทศ โดยให้มีความเชื่อมโยงและส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง (ที่มา: นโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรีพลเอกประยุทธ์จันทร์โอชา : ๒๕๕๙) และยุทธศาสตร์๒๐ ปีแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ แผนการศึกษาชาติพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ แผนแม่บทส่งเสริมวัฒนธรรมการ อ่านสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ของไทยพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน - จากการดำเนินกิจกรรมโครงการส่งเสริมการอ่าน “นั่งที่ไหน อ่านที่นั่น” จากปีที่ผ่านมา พบว่า เครือข่าย หน่วยงานราชการบางแห่งที่ดำเนินการจัดมุมการอ่านให้ความสนใจ ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีจึงอยาก ให้มีการหมุนเวียนหนังสือ วารสาร และสื่ออื่นๆที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง ๑๗ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


ห้องสมุดประชาชนอำเภอเจาะไอร้อง ร่วมกับ สกร.อำเภอเจาะไอร้อง ได้จัดทำโครงการส่งเสริมการอ่าน “นั่ง ที่ไหน อ่านที่นั่น” เพื่อส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของการอ่าน และการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อส่งเสริมให้เกิดชุมชนรักการอ่าน และการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เพื่อส่งเสริมพัฒนาแหล่งการเรียนรู้เพื่อนำไปสู่การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิต เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างห้องสมุดฯกับภาคีเครือข่ายและชุมชน ๔. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของการอ่าน และการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2 เพื่อส่งเสริมให้เกิดชุมชนรักการอ่าน และการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๓ เพื่อส่งเสริมพัฒนาแหล่งการเรียนรู้เพื่อนำไปสู่การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๔ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างห้องสมุดฯกับภาคีเครือข่ายและชุมชน ๕.ผลการดำเนินงาน (ระบุผลสำเร็จของการดำเนินงานในภาพรวมของทั้งโครงการในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ๕.๑ เชิงประมาณ ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร เป้าหมาย (คน/แห่ง) ผลการดำเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ชาย หญิง รวม รับจัดสรร เบิกจ่าย ร้อยละ ๑ โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “นั่งที่ไหน อ่านที่นั่น” ๑50 ๕๖ ๙๔ ๑50 - - - รวมทั้งสิ้น ๑50 ๕๖ ๙๔ ๑50 ๕.๒ เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการอ่าน และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมให้เกิดชุมชนรักการอ่าน และ การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ส่งเสริมพัฒนาแหล่งการเรียนรู้เพื่อนำไปสู่การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างห้องสมุดฯกับภาคีเครือข่ายและชุมชน ๖.ผลลัพธ์ที่ได้รับ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลาย เสริมสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างห้องสมุดฯกับภาคีเครือข่ายและชุมชน ๗.ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน ไม่มีเวลาในการอ่านหนังสือ ๘.แนวทางในการดำเนินงานต่อไป หมุนเวียนหนังสืออย่างต่อเนื่อง เป็นสื่อที่ทันสมัย ตรงกับความต้องการ ๙.ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัตนาวาตี ซายอ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ๑๘ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสำเร็จของโครงการกิจกรรส่งเสริมการอ่าน นั่งที่ไหน อ่านที่นั้น ๑๙ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑.ชื่อโครงการ : โครงการกิจการส่งเสริมการอ่าน กศน.ตำบล ๒. สอดคล้องกับนโยบายต่าง ๆของรัฐบาล ๒.๑ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่๓ การพัฒนาศักยภาพของคนทุกช่วงวัย การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ - ร้อยละการอ่านของคนไทย(อายุตั้งแต่ ๖ ปีขึ้นไป) เพิ่มขึ้น ๒.๒ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์การขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต - ให้ผู้เรียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภทการศึกษา สามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบท ได้รับการ ยกระดับคุณภาพในการให้บริการ เด็กพิการและด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบและ นอกระบบ ๒.๓ สอดคล้องกับ(ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. งบประมาณ ๒๕๖5 - จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนา ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน ๒.๔ แนวทางขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน.WOW ของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ดร. กนกวรรณวิลาวัลย์) ด้านที่ ๒ การพัฒนาหน่วยงาน/สถานศึกษา ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านที่ ๓ การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ด้านที่ ๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ๓. หลักการและเหตุผล การอ่านจัดเป็นพื้นฐานที่สำคัญของการเรียนรู้และการพัฒนาสติปัญญาของคนในสังคมไทยการ อ่านทำให้ เกิดการพัฒนาด้านสติปัญญา ความรู้ความสามารถ พฤติกรรมและค่านิยมต่างๆ รวมทั้งช่วยในการเปลี่ยนแปลงการ ดำเนินชีวิต โดยพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีที่สุดของชีวิต การอ่านจึงมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์อย่างยิ่ง ๒ ประการ คือ ประการแรกสำคัญต่อชีวิตประจำวันกล่าวคือการอ่านเป็นการแสวงหาความรู้เพื่อนำมาใช้ในการ ดำรงชีวิตประจำวัน ประการที่สองมีความสำคัญต่อการเรียนเพราะการอ่านเป็นหัวใจของการจัดกิจกรรมทั้งหลายใน การเรียนการสอนและมีความสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จอันส่งผลต่อการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ การสร้างนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็กและเยาวชนเป็นเรื่องสำคัญเพราะการอ่านเป็นทักษะที่จำเป็นสำหรับการศึกษาหา ความรู้ควบคู่กับทักษะอื่น การอ่านเป็นพื้นฐานที่สำคัญของการเรียนรู้และการพัฒนาสติปัญญาของคนในสังคม การ อ่านทำให้เกิดการพัฒนาด้านสติปัญญา ความรู้ ความสามารถพฤติกรรมและค่านิยมต่างๆ รวมทั้งช่วยในการ เปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีที่สุดของชีวิต การอ่านจึงมีความสำคัญต่อเด็กและเยาวชนเป็นอย่าง ยิ่ง ปัจจุบันการอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลายการอ่านหนังสือที่ดีและมีสาระยิ่งน้อยลง ไป สาเหตุมีอยู่หลายประการนับตั้งแต่การขาดแคลนหนังสือที่ดีและตรงกับความสนใจ การขาดแคลนแรงจูงใจและ แรงกระตุ้นให้เห็นความสำคัญของการอ่านตลอดจนนิสัยรักการอ่านทั้งในและนอกสถานที่ ดังนั้นการอ่านหนังสือจน เกิดเป็นนิสัยจำเป็นต้องมีการปลูกฝังและชักชวนให้เกิดสนใจ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒๐ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


อำเภอเจาะไอร้อง ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญ ในการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ จึงได้จัดโครงการ ส่งเสริมการอ่านและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ๔.วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีนิสัยรักการอ่านและการค้นคว้าเกิดการใฝ่รู้และนำไปสู่การ ปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๕.ผลการดำเนินงาน นักศึกษา กศน.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ๓๐๐ คน ๕.๑ เชิงประมาณ ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร เป้าหมาย (คน/แห่ง) ผลการดำเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ชาย หญิง รวม รับจัดสรร เบิกจ่าย ร้อยละ ๑ โครงการกิจการส่งเสริมการอ่าน กศน.ตำบล ๓๐๐ ๑๓๖ ๑๖๔ ๓๐๐ - - - รวมทั้งสิ้น ๓๐๐ ๑๓๖ ๑๖๔ ๓๐๐ ๕.๒ เชิงคุณภาพ นักศึกษา กศน. มีนิสัยรักการอ่านและการค้นคว้า เกิดการใฝ่รู้และนำไปสู่การปฏิบัติใน ชีวิตประจำวันเกิดทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง รู้จักใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์ ๖.ผลลัพธ์ที่ได้รับ ๑.เด็กและเยาวชนกล้าคิด กล้าแสดงออกในทางสร้างสรรค์ ๒.ประชาชนในชุมชนใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๓.เด็กและเยาวชนนำความรู้ไปใช้ในการเรียนและการใช้ในชีวิตประจำวัน ๗.ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ - ๘.แนวทางในการดำเนินงานต่อไป เพิ่มสื่อที่หลากหลายจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลายให้กับเด็กๆ ๙.ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัตนาวาตี ซายอ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ๒๑ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


๑๐. ภาพประกอบที่แสดงถึงความสำเร็จของโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กศน.ตำบล ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไตรมาส ๓ – ๔ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ๒๒


Click to View FlipBook Version