The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติศาสตร์โรคระบาด จากโลกสู่สังคมไทย - Google เอกสาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Panupong Chaikong, 2021-04-26 00:55:04

ประวัติศาสตร์โรคระบาด จากโลกสู่สังคมไทย - Google เอกสาร

ประวัติศาสตร์โรคระบาด จากโลกสู่สังคมไทย - Google เอกสาร

ประวตั ิศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสังคมไทย หนา 1

ประวัติศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสงั คมไทย 

โดย นายภาณุพงษ ไชยคง 

 

1. กาฬโรค : ความตายสีดำทีพ่ ลกิ โฉมประวัติศาสตรโ ลกและดินแดนไทย 

● กาฬโรคแหงจสั ติเนยี น (Plague of Justinian) จดุ เปลย่ี นของจกั รวรรดไิ บแซนไทน     
    กาฬโรค (Plague) เปนโรคระบาดที่เกิดการติดเช้อื แบคทีเรีย “เยอรซิเนีย เปสตสิ ” (Yersinia 
pestis)  โดยมีหมัดหนูเปน พาหะนำโรค  ท่ีแพรเ ชอ้ื ผา นในอากาศ การสมั ผัส และ ปนเปอ นในอาหาร 
ซ่งึ พบการระบาดครัง้ ใหญค รงั้ แรก  ในมณฑลอยี ปิ ตของจักรวรรดโิ รมันตะวนั ออกหรือจักรวรรดไิ บแซน
ไทน  กอ นท่จี ะแพรเ ขาสูก รุงคอนสแตนติโนเปล   และท่ัวทะเลเมดิเตอรเ รเนียน  โดยมหี นูทีม่ ากบั เรอื ท่ี
ขนสงธญั ญาหารจากอียปิ ตเ ปน พาหะ ในชวงระหวาง ค.ศ. 541-542 

วงจรการระบาดของกาฬโรค 

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสังคมไทย หนา 2

  
ภาพซา ย : เชือ้ แบคทีเรีย “เยอรซ ิเนีย เปสตสิ ” (Yersinia pestis) และ ภาพขวา : หมัดหน ู

การระบาดของกาฬโรคครัง้ นถี้ อื เปนภยั รายแรงทส่ี ุดในรัชสมยั ของจักรพรรดิจัสติเนียน 
(Justinian  I)  แหง จักรวรรดิไบแซนไทน  ทำใหมีผเู สยี ชวี ติ ราว 25-50 ลา นคน นบั เปน รอยละ 25% 
ของประชากรโลกในยคุ น้ัน  ทำใหม ีการเรียกการระบาดในครงั้ นนั้ วา  “กาฬโรคแหงจัสติเนียน” 
(Plague of Justinian) 

 
ภาพซา ย : แผนที่เสน ทางระบาดของกาฬโรคในจกั รวรรดิไบแซนไทน และ ภาพขวา : จกั รพรรดจิ ัสติเนยี น  

  โดยการระบาดของกาฬโรคไดม ีการระบาดเประลอกๆจนหมดไป  ในศตวรรษท ่ี 8  สง ผลให
จกั รวรรดิไบแซนไทนทกี่ ำลังรงุ เรอ่ื งในเวลานั้นเร่มิ ออ นแอลงและเสียพ้ืนที่ในยโุ รปเปนลำดับนับจากนนั้  

 
 

 

ประวัตศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสูส ังคมไทย หนา 3

● มฤตยดู ำ (Black Death) ภัยรายแหง โลกสมัยกลาง 

  การระบาดของกาฬโรคคร้ังใหญแ บบเดียวกบั สมัยจสั ตเิ นียน  ไดกลับมาอีกครั้งในป  ค.ศ.1347 
เม่ือ เรอื จากคาบสมุทรไครเมียไดพาผปู วยดวยเชอื้ กาฬโรค พรอ มกับหนจู ำนวนมากเขาสูเ มืองทาหลาย
แหง ในยุโรป  และขยายไปยังพ้ืนท่ตี า งๆท่ัวโลกผานเสน ทางการคา ทง้ั เสน ทางสายไหมและเสนทางเดนิ
เรอื ทางทะเล 

  โดยกาฬโรคไดร ะบาดอยางหนัก  ในชวง  ค.ศ.  1347-1351  โดยผูตดิ เชอ้ื จะมีอาการเปนแผล
พพุ องและตามมาดวยเน้อื ตายที่เปลย่ี นเปน สดี ำทะมึนเหมือนโรคระบาดในครง้ั สมยั จสั ตเิ นยี น ดว ยเหตุ
นใ้ี นสมยั กลางไดเรียกโรคน้ีวา Black Death หรอื มรณะดำ 

 

ภาพแผนที่พ้นื ทีแ่ ละชว งเวลาในการระบาดของกาฬโรคในสมยั กลางของยุโรป 

 

ประวัติศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสงั คมไทย หนา 4

 

ภาพซา ย : สภาพของมอื ผูป วยกาฬโรคทเี่ ปล่ยี นเปน สีดำจากอาการเนอื้ ตาย 

ภาพขวา : ภาพวาดอาการปว ยดว ยตมุ หนองของผูเปนกาฬโรค 
สำหรบั การรกั ษาโรคในสมัยน้ันยงั ขาดแคลนหมอทจี่ ะดแู ลผูปวยเปนอยางมาก  การรกั ษาสวน
ใหญจ ะอาศยั  หมอกาฬโรค หรอื  หมอกาดำ (Plague Doctor) ซึ่งพอมีความรทู างแพทยอ ยบู างเปน ผู
รกั ษา  โดยสวมชดุ ปอ งกนั ตนเองอยา งมดิ ชดิ เพือ่ ปองกนั การติดโรค  แตก็ยงั มีผูเ สียชวี ติ ราว  100-200 
ลานคนในยุโรปและเอเชีย คิดเปนประชากรโลกราว 30-60 % 

 

ภาพซา ย : ชุดปองกนั ในการรกั ษาโรคของ หมอกาฬโรค (Plague Doctor) ในชว งการระบาดของกาฬโรคในยโุ รป 
ภาพขวา : ภาพวาดการฝงศพผเู สียชีวิตจากกาฬโรคในสมัยกลาง 

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู งั คมไทย หนา 5

 

ภาพหลมุ ศพแบบรวมของผูท่เี สียชวี ติ จากกาฬโรคในชว ง ค.ศ.1347-1451 ซึง่ ขุดพบในรัสเซีย 

  กาฬโรคสง ผลใหย ุคกลางของยุโรปทีก่ ำลังเฟอ งฟกู ลบั ตองชะงักงันลง  โดยเฉพาะระบบ
แมนเนอรที่เปนเศรษฐกจิ แบบพึ่งพาตนเองในภาคการเกษตร  ของสงั คมฟว ดัล  ทเี่ ร่ิมซบเซาลงตงั้ แต
ปลายครสิ ตศตวรรษท ี่ 13  เมอ่ื สงครามครเู สด  ไดยตุ ลิ ง  และเม่อื เกดิ การระบาดของกาฬโรคทำให
จำนวนทาสตดิ ท่ดี นิ สวนใหญลมตายและลดจำนวนลงอยา งมาก  และไดสงผลใหการผลติ ในแปลงทดี่ นิ
ของแตล ะแมนเนอร ตองลมสลายลงไปดวย 

 
ภาพซาย : การจัดการที่ดนิ ในระบบแมเนอรของยุโรปสมัยกลาง และ ภาพขวา : การทำงานของทาสติดที่ดิน 

 

ประวตั ิศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู งั คมไทย หนา 6

● “โรคหา ” - กาฬโรคและการกำเนิดกรุงศรีอยุธยา 
  ขณะท่ีในชวง  ค.ศ.1347  -  1351  ไดเ กดิ การระบาดของกาฬโรคในยโุ รป  และ  แพรกระจาย
ออกไปยงั ดินแดนตางๆทัว่ โลก  โดยมหี มัดท่ตี ิดมากับหนซู งึ่ อยตู ามเรอื สินคา ตา งๆ  ทีเ่ ดนิ ทางนำเชอ้ื
กาฬโรคไปแพรต ามเมอื งทาตางๆ  ซ่ึงหนึง่ ในนั้นก็คือดินแดนไทยทเี่ ปนจดุ รอยตอ ทีส่ ำคญั บนเสน
ทางการคา ของโลกตะวันออกและตะวันตก 

โดยหากเทียบศกั ราชแลว จะพบวา   การระบาดของกาฬโรค  ในยโุ รปจะใกลเคียงกบั ชว งเวลา 
ชวงของการสถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยาเปนราชธาน ี ซ่ึงปรากฎเรือ่ งราวในตำนานและพงศาวดารวา ไดเ กิด 
“โรคหา”ขึ้นและเปน สาเหตทุ ท่ี ำใหพระเจา อูทองตอ งมกี ารอพยพหนโี รคระบาดน ี้ แลว สถาปนากรุง
ศรอี ยุธยาข้ึน ใน พ.ศ.1893 

 

ภาพ : แผนท่ีการระบาดของกาฬโรคทัว่ โลก เหน็ ไดวาชวง ค.ศ.1350 -1351 เปนรอยการระบาดเขา สดู ินแดนไทย 

 

ประวตั ิศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 7

    โดยในความจรงิ แลว “โรคหา ” กค็ อื  “กาฬโรค” ท่ีมาจากหนูที่ตดิ มาใตท อ งสำเภามาท่มี า
คาขายกบั อยธุ ยาผา นเสน ทางแมน ้ำเจาพระยา  โดยพบวา ศนู ยก ลางของการระบาดของกาฬโรคอยู
บรเิ วณวัดพนัญเชิง และวดั ใหญช ัยมงคล ในเขตเมอื งอโยธยาศรีรามเทพนคร ซึ่งเปนชุมชนดงั เดิม ทีอ่ ยู
ทางตะวนั ออกของเกาะเมอื งอยธุ ยา  ใกลกบั เสนทางคมนามทางแมนำ้ เจาพระยา  ทีม่ ชี มุ ชนการคา ต้งั
อยูในบรเิ วณเวลานั้น 

 

ภาพซา ย : อนุสาวรียพระเจาอูทองท่ีวัดพุทไธศวรรยใ นปจจบุ นั และ ภาพขวา : ท่ีตั้งเมอื งอโยธยาศรรี ามเทพ 

  ความรา ยแรงของกาฬโรคในครัง้ นนั้ ไดครา ชวี ติ ทงั้ คนช้นั สงู   เจานาย  ขนุ นาง  ขาราชการ  และ
ไพรฟ า ประชาราษฎรไปเปน จำนวนมาก  ทำใหจำเปน ตอ งมีการอพยพเพ่ือหนีการระบาดของกาฬโรค
เพอื่ สรา งบา นแปลงเมืองขึ้นใหม  ซึง่ ปรากฏในพระราชพงศาวดารวา   สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที  ่ี 1  หรือ 
พระเจา อูท อง ไดทรงยา ยตำหนักจากทเ่ี ดมิ มาประทบั ช่วั คราว ท ่ี “เวยี งเล็ก” หรือ “เวยี งเหลก็ ” ซ่ึงอยู
บริเวณวัดพุทไธสวรรค  ถงึ   3  ป  กอนการสถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยา  ขึ้นท่ีตำบลหนองโสน  หรอื   บงึ
พระราม ใน พ.ศ.1893 

 
 
 

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสูส งั คมไทย หนา 8

● การกลบั มาของกาฬโรค และตน กำเนิดดา นตรวจโรคระบาดในสมยั รชั กาลท่ี 5 
    ค.ศ.1855  ไปจนถึงชว งตนศตวรรษท ่ี 20 กาฬโรคไดกลับมาแพรร ะบาดอีกคร้งั  ซึ่งถือ
เปนการระบาดใหญครง้ั ท ่ี 3 นับจากการระบาดในชวง ค.ศ.541 -542 สมยั จักรพรรดิจสั ติเนยี น และ 
ในชวง ค.ศ.1347 -1351 ในสมัยกลาง 

โดยการระบาดในครงั้ น ้ี มีตนกำเนิดจากแควน ยนู นานในจีน  ซ่งึ ตรงกบั รัชสมยั ของจกั รพรรดิ
เสยี นเฟง   แหงราชวงศชิง  จากนั้นเริ่มแพรกระจายไปยงั พื้นทใี่ กลเ คยี งและขา มไปถงึ ฮองกง ค.ศ.1894 
(พ.ศ.2437) และแพรก ระจายไปยงั อินเดียและประเทศใกลเคยี งจนผูเสียชีวติ หลายหมื่นคน 

  
ภาพซา ย : ผปู วยกาฬโรคในโรงพยาบาลทีฮ่ องกง และ ภาพขวา : เจา หนาทอี่ าณานคิ มขนศพผูเสยี ชีวิตจากกาฬโรค 
  ซ่ึงสาเหตุสำคัญท่ีทำใหมีการระบาดของโรคอยางรวดเร็วในอดตี น้ัน  สว นหนงึ่ มาจากกฎเกณฑ
การสัญจรขา มประเทศในขณะนน้ั   ที่ยังหละหลวม  ท่ีผูคนสามารถผา นเขา ออกไดอยางงา ยดาย  ซงึ่
ทำใหม ีชาวตางประเทศพาโรคติดตอ เขามาโดยไมร ูตวั   ดว ยเหตุนี้เมอื่ เกิดกาฬโรคระบาดขนึ้ อีกคร้ัง 
พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจา อยหู ัว  จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ  ใหต ราพระราชบัญญัติ
จัดการปอ งกนั กาฬโรค ขึ้นเปน ครงั้ แรกเมื่อ พ.ศ. 2441 

โดยกำหนดใหเ รือทกุ ลำทม่ี าจากเขตทมี่ กี ารระบาดของโรคจอดที่ดา นปองกันโรค  เกาะไผ  ซ่งึ
ตงั้ อยกู ลางทะเล  ทนี่ อกชายฝง เมืองพัทยาราว 9 กโิ ลเมตร เปนสถานทต่ี รวจหาผปู ว ยและกกั ตวั ผูเ ดนิ
ทางจากจนี และฮองกง  ไวเปนเวลา  9  วัน  เพ่อื รอดอู าการของโรค  กอ นจะอนุญาตใหเดินเขา สู
กรงุ เทพมหานคร 

 

ประวตั ิศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสังคมไทย หนา 9

 
ภาพแผนท่ตี ้ังของเกาะไผ และ ภาพถา ยทางดาวเทยี มของเกาะไผ   
โดยดานตรวจโรคที่เกาะไผน  ้ี ม ี พระบำบัดสรรพโรค  (Hans  Adamsen)  ลกู คร่งึ เดนมารค-
มอญ  ซ่ึงจบการศึกษาดา นการแพทยม าจาก  มหาวทิ ยาลัยเจฟเฟอรสัน  ท่ปี ระเทศสหรฐั อเมริกา  มา
เปน นายแพทยป ระจำดา นเปนคนแรก โดยไดร บั พระราชทานเงินเดอื น 1,800 บาท ซ่งึ นับเปนครง้ั แรก
ทไ่ี ทยเริม่ ใชการควบคุมโรคระบาดอยางเปน ระบบ  

 

ภาพซา ย : ภาพการคดั กรอกเพือ่ ตรวจหาโรคระบาด (สันนฐิ านวาถายในอาณานิคมฮองกงขององั กฤษ)  
ภาพขวา : พระบำบดั สรรพโรค (Hans Adamsen) แพทยประจำดา นตรวจโรคคนแรกของไทย 

 

ประวัติศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 10

2. ฝดาษ หรือ ไขท รพษิ โรครา ยท่ีครา ชีวิตของคนทุกชน้ั  

    ฝดาษ  (Smallpox)  หรอื   ไขท รพิษ  นบั เปนโรคระบาดท่ีเกิดขึน้ มานานกวา   10,000  ปก อน
ครสิ ตกาล โดยมหี ลกั ฐานตรวจพบ มมั มีข่ องฟาโรหรามเสส ท ี่ 5 แหงอยี ปิ ตโบราณ ซงึ่ สวรรคตดวยโรค
ฝด าษ เมอ่ื 1,145 ป กอนครสิ ตกาล 

 
ภาพมมั ม่ขี องฟาโรหรามเสส ที่ 5 แหงอียิปต ทพี่ บรอยอาการของโรคฝด าษบนพระศพอยา งชัดเจน 

  อาการของผปู วยโรคน ี้ มักมีอาการไข  ปวดตามกลามเน้อื แขนขา  อาเจียน  ชัก  หมดสต ิ และ
อาจมผี ่นื แดงเกิดข้ึนบรเิ วณแขนหรอื ขา  กอนท่จี ะเสยี ชีวิตอยางรวดเร็ว  ซงึ่ ไดระบาดทำใหม ีผเู สยี ชีวติ
ในพน้ื ทีต่ างๆทว่ั โลกเปน จำนวนมากในแตล ะป  เชน ในจีน ในชว งศตวรรษท ่ี 1 และแพรตอ ไปยงั  ญีป่ นุ
ในศตวรรษที่ 6 และในยุโรป ตัง้ แตศตวรรษท่ี 2 จนถึงการระบาดครง้ั ใหญทวั่ โลก ใน ศตวรรษท่ี 16 

 

ภาพวาดอาการของโรคไขท รพิษ หรอื ฝดาษ ที่ปรากฎทางผิวหนงั   

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสงั คมไทย หนา 11

  โดยการแพรของโรคฝด าษในประวัติศาสตรไทยไดป รากฎหลักฐานในพระราชพงศาวดารสมยั
กรุงศรอี ยุธยาวา   มีพระมหากษตั ริยท รงสวรรคตดวยฝด าษ  คอื   สมเดจ็ พระบรมราชาท ี่ 4  หนอพทุ ธา
งกูร  พระมหากษัตรยิ   ลำดับท ี่ 11 ของกรุงศรอี ยธุ ยา ซง่ึ ทรงพระประชวรดว ยโรคไขท รพิษ และเสด็จ
สวรรคตในป  พ.ศ. 2076 และยงั พบวา  ใน พ.ศ. 2292 ซ่ึงตรงกบั สมยั สมเด็จพระเจาอยูห ัวบรมโกศ ได
มีการระบาดของโรคฝดาษขึ้นทำใหม ีคนตายจำนวนมาก 

จนกระทง่ั ในป ค.ศ. 1796 ( พ.ศ. 2339) เอด็ วารด เจนเนอร (Edward Jenner) แพทยชาว
อังกฤษไดค ดิ คน วัคซนี ปองกันโรคฝด าษขึ้นและทำการทดลองใชเ พื่อปองกนั การติดเชอ้ื โรคฝดาษ จน
ไดรับรองจากรฐั สภาอังกฤษ ใน พ.ศ. 2343 จนนำไปสูก ารผลติ วัคซนี ออกรักษาผูปว ยในยุโรปและ
อเมรกิ า จนทำใหจำนวนผูเสยี ชวี ิตดว ยโรคนี้ลดลง 

 

ภาพซา ย : เอ็ดวารด เจนเนอร กำลงั ใชว ิธีการปลูกฝเพอื่ ปองกันโรคฝดาษ หรือ ไขท รพิษ 
ภาพขวา : แดเนียล บชี แบรดลยี  หรือ หมอบรดั เลย 

  โดยวัคซีนปองกันโรคฝดาษน ี้ ไดถ ูกนำมาใชในประเทศไทยเปน ครั้งแรก ในวนั ท ่ี 2 ธันวาคม พ.
ศ. 2379 โดย หมอบรัดเลย  (Dan Beach Bradley) ทใี่ ชก ารปลกู ฝบำบดั โรคฝด าษ และไดเ ขียนตำรา
ชือ่  “ตำราปลกู ฝใ หกนั โรคธระพิศมไมใ หข นึ้ ได” เพ่ือปองกันและเผยแพรความรูในการหยุดการระบาด
ของโรคฝดาษที่กำลังระบาดอยางหนกั ในสมยั รัชกาลท่ี 3  

 

ประวัตศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 12

ตอ มาในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยูหวั   ทรงมีพระราชดาํ รวิ า   สยาม
สมควรทีจ่ ะทําวัคซนี ปลกู ฝข ึ้นใชเอง  จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ  ใหส ง  พระบำบดั สรรพโรค  (นาย
แพทยแ ฮนซ  อดมั สนั ) และ พนั ตรีหลวงวฆิ เนศรป ระสิทธวิ์ ทิ ย  (นายแพทยอ ทั ย  หะสิตะเวช) เดนิ ทาง
ไปศกึ ษาวิชาการปลกู ฝทป่ี ระเทศฟลิปปนส  โดยไดกลับมาจดั ตั้งคลินกิ ปลกู ฝข ้ึนท่ถี นนส่กี ๊ักพระยาศร ี
เปนครัง้ แรกใน  พ.ศ.  2446 กอ นท่จี ะยา ยไปทต่ี าํ บลหว ยจระเข  จงั หวัดนครปฐม และในป  พ.ศ.2456 
ไดรวมเขากับปาสตุรสภา(Pasteur Institute) ซงึ่ ไดเปลย่ี นช่อื เปน สภากาชาดไทย ใน พ.ศ.2460  

 

ภาพนายแพทยฮันส อดัมสนั และนายแพทยอัทย หะริตะเวช ศึกษาวธิ ฉี ีดวคั ซนี ปอ งกันโรคระบาดทฟ่ี ลิปปนส   
(สวมหมวกสอี อน 2 ทา นดานซายของภาพ) (ภาพจาก หอจดหมายเหตแุ ละพพิ ิธภณั ฑส ุขภาพไทย) 

แมจ ะมีการปลกู ฝแลวแตไขทรพิษยังไมห มดไปจากประเทศไทย  ทัง้ น้ีเพราะการปลกู ฝย ังไมทวั่
ถงึ   และการตดิ โรคตามชายแดนระหวางประเทศมีอยูเสมอ  จึงระบาดมาประเทศไทย  กบั ผใู หญไมใคร
นิยมการปลกู ฝ  แตกไ็ มใครร ุนแรง  จนกระทัง้ ในในป  พ.ศ.  2488  –  2489  ซงึ่ เปนชว งการเกิด
สงครามโลกครงั้ ท ่ี 2  ไดมกี ารระบาดของฝด าษคร้ังใหญสุดเริ่มตนจากเชลยพมาที่ทหารญ่ีปุน จับมาส
รา งทางรถไฟสายมรณะขามแมนํา้ แควปวยเปนไขทรพิษและแพรไปยงั กลมุ กรรมกรไทยจากภาคตา งๆ
ท่ีมารบั จา งทํางานในแถบนัน้   เมอ่ื แยกยายกันกลับบาน  ไดน ําโรคกลบั ไปแพรร ะบาดใหญทั่วประเทศ 
ทำใหมผี ูปวยมากถึง 62,837 คน และเสยี ชีวติ 15,621 คน 

 

ประวัติศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสงั คมไทย หนา 13

  การระบาดเกิดขึน้ อีกครง้ั ในป  พ.ศ.  2502  ทำใหม ผี ปู ว ย  1,548  คน  ตาย  272 คน และการ
ระบาดครง้ั สุดทา ยมกี ารบนั ทึกไวว าเกดิ ขนึ้ ในป  พ.ศ. 2504 ท่ีอาํ เภอแมสาย จงั หวัดเชยี งราย มีผูปวย 
34  ราย  ตาย  5  ราย  โดยรับเชือ้ มาจากรัฐเชยี งตุงของพมา  ทำใหก ระทรวงสาธารณสุขเริม่ โครงการ
กวาดลางไขท รพษิ หรือฝดาษในประเทศไทย  รณรงคปลูกฝปอ งกันโรค  จนปพ.ศ.  2523  องคก าร
อนามัยโลกไดประกาศวาฝดาษไดถ กู กวาดลางแลวจงึ หยุดการปลูกฝปอ งกันโรค  และนับแตน ั้นมาไม
เคยปรากฏวามีฝด าษเกดิ ขน้ึ ในประเทศไทย 

 

 

ภาพเจาหนาที่สาธารณสุข แพทย และพยาบาล ออกไปฉดี วคั ซีนปอ งกันไขทรพิษในพน้ื ที่ตา งๆ 
ในชว งตน พ.ศ.2504 ทำใหจำนวนผูปว ยลดลงอยางรวดเรว็ หลงั จากน้ัน 

 

ประวตั ิศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 14

3. อหิวาตกโรค : โรคระบาดใหญใ นกรุงรตั นโกสินทร 

  อหวิ าตกโรค (cholera) เปน โรคทเี่ กิดจากเช้อื แบคทีเรียวบิ รโิ อ คอเลร ี (Vibrio cholerae) :
ซ่งึ พบในอาหารและแหลงน้ำทป่ี น เปอ นในสิ่งปฏกิ ูล โดยมีแมลงวันเปนพาหะนำโรค ถอื เปนโรคระบาด
ประจำถ่นิ ของประเทศในทวปี เอเชีย  ซึ่งพบการระบาดใหญค รัง้ แรกของโลก  จากในบริเวณ  แควน
เบงกอล ของอินเดีย และแพรเขา สู จีน และแถบทะเลแคสเปยน ในชวง พ.ศ. 2359-2369  

 
ภาพวงจรการแพรเ ชื้อแบคทเี รียวบิ ริโอ คอเลรี (Vibrio cholerae) ทำใหเกดิ อหิวาตกโรค 
● “แรง วดั สระเกศ เปรตวัดสทุ ัศน” ตำนานสยองอหวิ าตกโรคตนกรงุ รตั นโกสนิ ทร 
โดยในชว งกรงุ รัตนโกสนิ ทรตอนตน ไดเ กดิ การระบาดของอหวิ าตกโรค  ขนึ้ ใน  พ.ศ.2363  ซง่ึ
ตรงกับรชั สมยั ของ  พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลัย  ผทู ี่ปวยดว ยโรคน้ีจะตดิ เช้ือแบคทีเรยี จน
ทำใหม ีอาการทองรว งอยางรนุ แรง จนรางกายออ นเพลียจนเกิดการช็อกและเสียชวี ติ ตามมาซงึ่ ผคู นมัก
เรยี กโรคนว้ี า “โรคหา” “โรคปวง” หรอื “โรคลงราก” 
  ระบาดของอหิวาตกโรคใน ครง้ั นัน้ นับวา มคี วามรนุ แรงและลุกลามจนคราชวี ติ ผูคนอยา งไมเคย
เกิดขนึ้ มากอ น เหตกุ ารณค รงั้ นนั้ มีผเู สยี ชวี ิตทั้งในกรุงเทพฯ และหัวเมอื งใกลเ คยี งมากถึงราวสามหม่ืน
คน  ทำใหเ กดิ ปญหาในการเผาศพผูเสียชีวติ ท่ีมีจำนวนมาก  ดว ยเหตนุ ้ีจึงมกี ารลำเลียงศพมาพกั ทีว่ ดั

 

ประวัติศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสงั คมไทย หนา 15

สุทศั น  เพอ่ื รอทจ่ี ะนำออกไปนำไปเผาที่วัดสระเกศ  ซงึ่ ตั้งอยูนอกเขตกำแพงพระนคร  ทางประตู
พระนครทางทศิ ตะวนั ออก  ท่เี รียกวา   “ประตูผ”ี   สภาพดังกลาวสรา งความสยอดสยองใหผูคนที่
พบเห็น จนเกิดความกลวั และเลา ล้ือเปนตำนาน “แรง วัดสระเกศ เปรตวดั สทุ ศั น” ทม่ี าถึงปจจุบัน 

 

ภาพการเฉือนศพเพ่อื ใหแรง กินภายในลานวัดสระเกศ ถา ยเมอ่ื ป พ.ศ. 2440  
(จากหนงั สือ "เปดกรุภาพเกา" ของ เอนก นาวกิ มลู ) 

 

ภาพจิตกรรมพระสงฆพจิ ารณาสังขารผเี ปรต(ศพ) ภายในพระอโุ บสถ วดั สุทศั นเทพวราราม 
ซึางวาดขึน้ ในสมัยรชั กาลที่ 3 เปน รอ ยรอยหน่ึงของตำนานเรือ่ งเปรตวดั สทุ ศั น 

ดว ยเหตุน ี้ ภายหลงั ทโี่ รคระบาดคอยลดความรุนแรงลง  พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา
นภาลัย  ทรงโปรดใหจ ดั พระราชพิธอี าพาธพินาศ  ขนึ้ เพอ่ื เปนการบำรงุ ขวัญของราษฎรโดยการ

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู งั คมไทย หนา 16

อัญเชิญพระแกวมรกต  ออกมาใหราษฎรสักการะ  และมีการยิง่ ปนใหญรอบพระนคร  โดยเชอ่ื วา
เปน การขับไลความชั่วรายออกไป 

 

ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอโุ บสถ วดั ราชประดษิ ฐสถิตมหาสีมาราม เลา ถงึ การกระทำพระราชพธิ ี
อาพาธพนิ าศ ในเดือน 4 (ราวเดือนมีนาคม) โดยจะเห็นพระสงฆก ำลงั ข้นึ พระทนี่ งั่ ดุสติ มหาปราสาท (ดานซา ยมอื ) 
เตรียมขนึ้ สวดอาฏานาฏิยปริตรและนางในทำบญุ ตกั บาตรพระสงฆ ภายในกำแพงพระบรมมหาราชวังฝา ยใน 

  อยางไรก็ตามภายหลงั จากนน้ั   เมอ่ื ถึง  อหวิ าตกโรคไดกลบั มาระบาดในกรุงเทพฯอกี   ชว งใน 
พ.ศ.2392  ซ่งึ ตรงกบั สมยั ปลายรัชกาลท ่ี 3  โดยหนงั สอื พมิ พข า วภาษาองั กฤษไดรายงานวา ในครั้งนัน้  
มีการนำศพผูเสียชวี ติ ไปทีว่ ัดสระเกศ 2,765 ศพ วดั ตนี เลน (วดั บพิตรพิมขุ ในปจ จบุ นั ) 1,481 ศพ และ
วดั บางลำพู (วดั สังเวช) 1,213 ศพ รวมแลว มผี เู สยี ชีวิตกวาหา พันคน 

 
ภาพโรงทมึ และเมรุปนู วัดดสระเกศในสมยั ร.5 ซงึ่ โรงทมึ น้ีถูกสรางขนึ้ ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีเมรุปนู สำหรบั เผาศพอยู

กลาง บนหลังตาจะมแี รงเกาะอยูจำนวนมาก ทมี่ า : “วัดสระเกศฯ 438,” ภ.002.2/4, จดหมายเหตุแหง ชาต ิ

 

ประวัตศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสังคมไทย หนา 17

● ความพยายามยบั ยง้ั การระบาดของอหวิ าตกโรคสูการพัฒนาประเทศใหท ันสมัย 
ภายหลังการระบาดของอหวิ าตกโรคในสมยั รชั กาลท ี่ 2  -3  ซ่ึงพบวา สาเหตสุ ำคญั ทที่ ำใหเ กิด

การระบาดของอหิวาตกโรคกค็ ือการบรโิ ภคนำ้ ทไ่ี มส ะอาด ตลอดจนพฤตกิ รรมการขับถา ยของเสยี ท่ไี ม
ถูกสขุ ลกั ษณะ ทำใหเม่อื เขาสูสมยั รชั กาลท ี่ 4 ทรงมปี ระกาศพระบรมราโชวาทไมใ หทง้ิ  สัตวตายลงใน
แมนำ้   เร่อื งทอดเตาเพลิง  เรื่องทำลิม่ ประต ู หนา ตาง”  ใน  พ.ศ.  2399  ซึง่ เปนประกาศของรฐั ฉบับ
แรกๆ วาดวยการปอ งกันไมใ หทำสงิ่ แวดลอ มใหสกปรก  

 

ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ชาวบานกำลงั ขบั ถายลงแมน ำ้ ภายใน พระอุโบสถวดั สุทศั นฯ 

ตอ มาในชวงตน สมัยรชั กาลท ี่ 5  ไดม ีการออกกฎหมายตางๆ ท่เี ก่ยี วกับการรักษาความสะอาด
ของแหลงน้ำตางๆ  ตามมา  เชน  พระราชบัญญัตธิ รรมเนียมคลอง  พ.ศ.  2413  กฎหมายโปลศิ   พ.ศ. 
2418  ทเ่ี นน เร่อื ง  การดแู ลรกั ษาลำน้ำใหส ะอาด  เปนตน  ซ่ึงมขี อ หา มในการขับถา ยของเสยี และทง้ิ สิ่ง
ปฏิกูลตางๆ  ลงในแหลง นำ้  ทำใหเร่มิ ใช  “สวม” ในการขับถายที่ถูกสุขลักษณะมากขน้ึ  แมจ ะไมท่ัวถงึ
แตก ถ็ อื เปร จดุ เร่ิมตน ที่มีการปองกนั การเกิดพาหะในการะบาดของอหวิ าตโรคในระยะแรก 

อยางไรกต็ ามชว งตนสมัยรัชกาลท ่ี 5 ในป  พ.ศ.2424 อหิวาตกโรคไดกลบั มาระบาดอีกครงั้  ซึ่ง
เปน ชวงเวลาเดยี วกับการระบาดทเ่ี กดิ ข้ึนทั่วโลก  และมีความรุนแรงมากในแถบเอเชียตะวันออกเฉยี ง
ใต โดยไดแ พรก ระจายผานมาทางคาบสมุทรมลายูเขาสบู ริเวณพนื้ ทีต่ า งๆทางภาคใตข องไทย  

โดยการดำเนินการในระยะแรกเพื่อยบั ยั้งการแพรร ะบาดของอหิวาตกโรคในครัง้ นนั้   สมเด็จ
พระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ  ซ่งึ ดำรงตำแหนง เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยในขณะ

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู งั คมไทย หนา 18

นั้น  ไดท รงดำรใิ หตั้งสถานกกั โรคขึน้ ตามเมืองทาในปก ษใ ต  โดยออกพระราชบัญญัติระงับโรคระบาด 
บงั คับใหทกุ หวั เมอื งตองตั้งดานตรวจโรค  โดยหากเมืองใดเกดิ โรคอหวิ าตกโรคใหชกั ธงเหลอื งข้ึนท่ีปาก
อา วหรือบนเสน ทางเดินทางเขา ออกเมอื งเพ่อื ใหร าษฎรไดท ราบและหลีกเลยี่ งการเขา ไปในเขตเมืองนนั้  

 

ภาพ สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาดำรงราชานภุ าพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย 

อยางไรก็ตามการแพรกระจายของโรคก็ไดรุกรามเขาสกู รงุ เทพมหานครและพนื้ ทต่ี า งๆอยา ง
รวดเรว็   ทำใหพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั   ทรงโปรดใหม กี ารจัดการและปองกัน
อหวิ าตกโรคตามหลักวชิ าการขึ้นเปนครัง้ แรก  ดวยการจัดตั้งโรงรกั ษาคนเจ็บอหวิ าตกโรคข้ึนเปน การ
ชั่วคราวในกรุงเทพฯ และดำรใิ หเรงจัดใหมกี ารสขุ าภบิ าลและการประปาขน้ึ   

จากการเกดิ โรคระบดบอ ยคร้งั ตง้ั แตช วงตน กรงุ รตั นโกสนิ ทรเรือ่ ยมา  ทำใหพระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู ัว  ทรงเห็นวาปจ จยั สำคญั ท่ีทำใหม ผี ูเสียชวี ิตจากโรคระบาดจำนวนมากนั้น
เปนเพราะขณะนั้นในพระราชอาณาจกั รวชิ าการแพทยสมัยใหมย ังไมไดล งหลักปก ฐานอยางมน่ั คง 
ทำใหความรูว าดวยสขุ อนามยั ของราษฎรยังไมแ พรห ลาย  ดว ยเหตุนจ้ี งี มีพระราชดำรจิ ะกอตง้ั โรง
พยาบาลแบบตะวนั ตกขน้ึ เพอ่ื บรรเทาความทกุ ขข องราษฎรท่ีลม ตายจากโรคระบาดอยอู ยา งตอเนอ่ื ง 

แตใ นระหวางดำเนินการจะจดั ต้ังโรงพยาบาลน้ัน  ใน  พ.ศ.  2430  สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ 
เจาฟาศริ ิราชกกธุ ภัณฑ  พระราชโอรสของพระองคส้ินพระชนมล งดวยโรคบดิ   ซง่ึ ไดสรา งความโทมนัส

 

ประวตั ิศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสูส ังคมไทย หนา 19

เปน อยางมาก  และเมื่องานการพระเมรมุ าศเสรจ็ ส้ินลงใน พ.ศ.2531 พระองคจ งึ ไดอุทิศอาคารทีส่ ราง
ในการพระเมรุท้งั หมดใหก ับโรงพยาบาลทสี่ รา งขึ้นใหม  โดยพระราชทานนามเปนพระอนสุ รณถ งึ พระ
ราชโอรสวา “โรงพยาบาลศิริราช” 

 

ภาพซา ย : สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอ เจา ฟา ศริ ิราชกกธุ ภัณฑ   

ภาพขวา : เรือนคนไขเ มื่อแรกต้งั โรงพยาบาลศิรริ าช 
นอกจากนี้ในการปอ งกันเหตุของการเกดิ โรคอหวิ าตกโรค  ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา
เจา อยหู ัว  ทรงเล็งเห็นวา สาเหตสุ ำคัญทีท่ ำใหอหวิ าตกโรคระบาดอยางตอ เนอื่ งนั้น  มาจากการขาดสขุ
อนามยั ของราษฎรทต่ี ดิ โรคระบาดจากการดมื่ นำ้ ที่ไมส ะอาดมีการเจื้อปนของเช้อื แบตทเี รยี ตางๆเขา ไป 
จนทำใหราษฎรเจ็บปวยลม ตายมาโดยตลอด  พระองคจ ึงมพี ระราชดำรจิ ัดตงั้ กรมสขุ าภบิ าล  ขึ้นในป 
พ.ศ.  2448  เพือ่ ดำเนนิ การผลิตน้ำทผ่ี า นกระบวนการกรองจนสะอาด  พรอ มพระราชทานชือ่ เรยี กวา 
“ประปา” มาจากคำสนั สกฤต แปลวา “ท่ีเก็บน้ำ” 
ตอมาเมื่อเขา สูสมัยรชั กาลท ่ี 6  พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยูหัวไดท รงเสดจ็ เปด
กจิ การประปาขน้ึ อยางเปน ทางการในพระนคร  เมอื่ วนั ท ี่ 14  พฤศจิกายน  พ.ศ.  2457  ซึ่งมีช่อื เรยี ก
ครัง้ น้นั วา   “การประปากรงุ เทพฯ”  ซ่ึงต้งั อยทู ี่สี่แยกแมนศร ี ถ.บำรงุ เมอื ง  สงั กดั อยูในกรมชาง
สขุ าภบิ าล  กระทรวงนครบาล  โดยทรงมพี ระราชดำรสั ถงึ ความสำคัญของนำ้ ทีส่ ะอาดของกิจการ
ประปาตอนหนง่ึ วา  

 

ประวัตศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 20

“...ทา นท้ังหลายที่ไดชวยเราทำการอันนีใ้ หส ำเรจ็ ไปได  ควรรสู ึกปลื้มใจวา  ไดท ำการอนั เปน
ประโยชนและ  กุศลอยา งยิ่ง  เพราะน้ำซึ่งใสสะอาดบริสทุ ธ์ใิ ครๆยอ มรอู ยูแลวทง้ั ในโบราณและบดั น้วี า 
เปนของจำเปนเพ่อื ประโยชนและเพือ่ ความสุขสำหรับปองกันโรคอันตรายของมนุษย  นำ้ ใสสะอาดยอ ม
เปน เครื่องบำบัดโรคไดดีกวาโอสถหรือเภสัชท้ังหลาย…” 

ดวยเหตนุ เ้ี ม่ือกิจการประปาไดถอื กำเนิดข้นึ และขยายไปยงั ภมู ิภาคตางๆ  ทำใหมีการผลติ น้ำ
ประปาท่สี ะอาดและถูกสขุ ลักษณะแจกจายใหร าษฎรไดใชใ นการอุปโภคและบรโิ ภค  ทำใหการระบาด
ของอหิวาตกโรคจึงบรรเทาเบาบางลงมากนับจากน้ัน 

 

ภาพซาย : ทท่ี ำการของการประปากรุงเทพฯ ภาพขวา : ขาราชการของการประปากรุงเทพ ในระยะแรกเริม่  

 

ภาพซาย : วิศวกรตา งประเทศของกรมชางสุขาภบิ าลขณะวางทอ สง น้ำประปาในกรุงเทพฯ 
ภาพขวา : ราษฏรนำพาชนะมารับน้ำประปาตามจดุ ตา งๆในกรงุ เทพฯ 

 

ประวตั ิศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู งั คมไทย หนา 21

4. ไขห วดั ใหญส เปน : โรคระบาดจากสงครามโลกครงั้ ที่ 1 กับดินแดนไทย 

  ไขห วัดใหญสเปน (Spanish Flu) เช้อื ไวรัสไขหวัดใหญสายพันธ ุ H1N1  ท่กี ลายพนั ธใุ น หมู
ปศสุ ตั วใ นยุโรปและแพรม าติดยังมนษุ ย  ซ่งึ พบการระบาดในชว งเดือนมกราคม ของป  พ.ศ.2461 (ค.ศ
.1918)  ขณะทส่ี งครามโลกครง้ั ท ่ี 1 ยงั ดำเนินอย ู ทำใหม คี วามพยายามปกปด ขา วการระบาดของโรค
นี้เพ่ือไมใ หข วัญกำลงั ใจของทหารและพลเรอื นตกตำ่ ลง 

 

ภาพทหารสหรฐั จาก Fort Riley, Kansas ปว ยดวยไขห วดั ใหญส เปน เมอื่ ป ค.ศ.1918 (พ.ศ. 2461) ท่หี อผปู ว ยท ่ี
Camp Funston (ภาพจาก Otis Historical Archives Nat'l Museum of Health & Medicine)  

การปกปดขา วนเ้ี องสงผลใหไ วรสั ไขหวัดสายพันธใุ หมน แ้ี พรกระจายอยา งรวดเรว็ โดยผตู ดิ เช้อื
สวนใหญกลมุ แรกๆ คือทหารทรี่ วมรบในยุโรป ชว งปลายสงครามโลกครง้ั ท่ี 1 ซึง่ อาการของผูปวย จะ
มไี ขส ูงและติดเช้อื ในระบบทางเดินหายใจ คลายกบั โรคปอด โดยผเู สียชีวติ มกั เปนกลมุ คนวยั หนมุ สาวที่
เกดิ ปฏกิ ริ ิยาไซโทไคนสตอรม ซงึ่ เปน การสนองกลับของภมู ิคุมกันท่ีรุนแรงทำใหอาการของโรคน้ยี ่งิ
รุนแรงขึน้   
  โดยในชวงเวลาน้ันไทยไดสง ทหารอาสา  จำนวน  1,254  นาย  เขารวมรบในทวีปยุโรป รวมกบั
พนั ธมิตรอยา ง  องั กฤษ  และ  ฝรัง่ เศส ซง่ึ ทหารไทยทส่ี งไปทำหนาที่เปนกองทหารขนสง ท่ีทำหนาทข่ี น
สง ทหารเขา สสู มรภมู ิในประเทศเยอรมัน ซ่งึ ในคร้ังน้ันมที หารไทยทเ่ี สียชวี ติ ทง้ั สนิ้  19 นาย โดย ม ี 10 
นายท่เี สยี ชีวิตดวยอาการของโรคปอดท่ีเรียกวา โรคอนวิ มูเนยี หรือ นวิ มอเนีย 

 

ประวตั ิศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 22

 

ภาพทหารไทยขณะขึน้ รถไฟลำเลี่ยงกำลังพลในสมรภูมิสงครามโลกครั้งที่ 1 

โดยมีหลักฐานปรากฏในหนงั สือ  "แหลเทศนประวตั ิกองทหารบกรถยนตร  ซงึ่ ไปในงานพระ
ราชสงคราม ทวปี ยโุ รป" แตงโดย สิบเอก เคลอื บ เกษร ทหารไทยท่ไี ปรบในฝรัง่ เศสและเยอรมนเี ลาถงึ
การเสยี ชวี ิตของทหารไยหลายคนดวยอาการที่เรียกวา  "โรคอนิวมเู นีย" โดยบอกวาเปน เพราะอากาศที่
หนาวจดั จน "บางคนทนหนาวจนปอดตวั เสยี " โดยผูปว ยมอี าการเปนไขหวัด หมดสต ิ หนาวสั่นจนขยับ
ตวั ไมไ ด กอ นจะเสียชีวติ ลง  

 
หนังสืออนุสรณใ นงานณาปนกจิ ศพและรปู ของสิบเอกเคลือบ เกษร  

ทีเ่ สียชีวิตในป พ.ศ.2501 ขณะอายไุ ด 76 ป 

 

ประวัตศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสังคมไทย หนา 23

จากอาการท ี่ สิบเอกเคลอื บ เรียกวา "นวิ มอเนยี " กลา วมานัน้ แทจริงแลว ก็คอื ไขห วัดใหญสเปน
ทรี่ ะบาดไปทวั่ สมรภมู ิของสงครามโลกครัง้ ท ี่ 1  ทำใหท หารทรี่ วมรบทงั้ ฝายไตรภาค ี และฝา ย
มหาอำนาจกลางติดเช้ือกันมาก  ซ่งึ บ่นั ทอนแสนยานภุ าพการรบจนเปน จดุ เปลยี่ นสำคัญทก่ี ระทบตอ
ชยั ชนะและความพายแพใ นชวงทายของสงครามโลกครงั้ ที่ 1 
  เม่ือสงครามไดยตุ เิ ชอื้ โรคไดแ พรก ระจายไปยงั ทวีปอน่ื ๆ  และสเปนก็เปนประเทศแรกๆ  ที่
ประกาศขาวการระบาดของโรคอยางจริงจัง  ทำใหถ กู นำไปตงั้ เปนชื่อของไขห วัดชนดิ น ี้ โดยภายใน
เวลา 2 ปห ลงั สงครามยตุ ิ มผี คู นกวา 1 ใน 4 ของโลกติดเช้ือ และมผี เู สียชีวิตราว 50 ลา นคนทัว่ โลก 

 

กราฟจำนวนผูเสยี ชีวติ ของไขหวดั สเปนสายพันธใ หม ทัง้ 3 ระลอก  
โดยจุดสงู สุดของกราฟจดุ ที่ 2 คอื การแพรร ะบาดระลอก 2 ซงึ่ ครา ชีวิตผูคนไปจำนวนมาก 

 

ภาพหนวยกาชาด ( Red Cross) กำลงั เคลื่อนยา ยผปู วยและเสยี ชีวิต ในเมืองเซนตหลุยส ของสหรัฐอเมริกา 

 

ประวัตศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 24

 
ภาพพยาบาลสหรัฐกำลงั เตรียมหนา กากอนามยั เพือ่ แจกจา ยใหประชาชนเพือ่ ปองกันการระบาดของไขห วดั สเปน 

  

ภาพการสวมหนา กากอนามัยในชว งการระบาดของไขหวดั สเปน ภาพซาย : ในยโุ รป และ ภาพขวา : ในญป่ี นุ  

  ขณะที่ประเทศไทยในเวลาน้นั   ไดพ บการแพรระบาดของไขหวัดใหญสเปนอยางรุนแรง  ใน 17 
มณฑล  ท่วั พระราชอาณาจักร  ในระหวางชวงเดอื นตุลาคม 2461 ถงึ  มีนาคม 2462 ซง่ึ ในระยะเวลา
เพยี งแค  6 เดือน พบวา มีผปู วยกวา 2,317,662 คน และเสยี ชีวติ กวา 80,223 คน ขณะทปี่ ระชากรใน
ขณะน้ันมีเพยี ง  8,478,556  คน  กลา วคือ  มีผูปวยประมาณกวา  28%  ของประชากร  และผูเสยี ชีวติ
ประมาณ 3.46% ของผปู ว ยท้งั หมด 
  โศกนาฏกรรมชว งดังกลา วมีบนั ทึกไวใ นราชกจิ จานุเบกษา เมือ่ วันท่ี 27 กรกฎาคม พ.ศ.2462 
เรื่องแจง ความกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงเจา พระยาสุรสหี  วสิ ษิ ฐศักดิ์ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ได
รายงานสถานการณข องโรคระบาดนี้ โดยเรยี กวาเปน ไขหวัดหรอื อินฟูเอนซา ซง่ึ ในครงั้ นนั้ พระบาท
สมเด็จพระมงกฏุ เกลาเจาอยหู ัวไดท รงมีพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหกรมสาธารณสขุ จดั สง แพทย ยาและ

 

ประวัติศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 25

เวชภัณฑ รวมทั้งคำแนะนำในการรกั ษา ควบคุมโรคตางๆ ออกไปชวยปอ งกนั รกั ษาสมทบกบั แพทย
ประจำเมอื งตา งๆ จนทำใหโรคสงบลงไดใ นทีส่ ดุ  

พระราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 21 กรกฏาคม พ.ศ. 2562  
แจง ความกระทรวงมหาดไทยเก่ยี วกบั การระบาดของโรคไขห วดั สเปน 

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 26

5. โรคเรื้อน : ทุกขเวทนามลายส้นิ ดวยพระมหากรุณาธคิ ณุ  

  โรคเร้ือน (Leprosy หรอื  Hansen's Disease) เปน โรคตดิ เชอ้ื เรือ้ รังแบบติดตอ  ทเ่ี กดิ จาก
การติดเชอื้ แบคทีเรยี ในสกลุ ไมโคแบคทเี รยี ม  (Mycobacterium  leprae  )  ซงึ่ เปน กลุมเดียวกบั เชื้อ
วัณโรค นับเปน โรคระบาดอีกโรคหนง่ึ ทีม่ กี ารระบาดอยา งตอเนอื่ งนบั แตอ ดตี   

ผปู วยโรคเรื้อนจะมอี าการทางผวิ หนงั  กลามเน้ือ และตามปลายประสาทตา ง ๆ เชน มแี ผล ผ่ืน
แดง  หรอื ผ่นื สีจางตามผวิ หนัง  กลามเน้อื ออ น  หรอื อาจตาบอดและเปนอมั พาตได  โดยโรคสามารถ
ตดิ ตอสบู ุคคลอน่ื จากเยอ่ื ของเหลวที่ตดิ เช้อื อยางน้ำมกู และนำ้ ลาย  ผานการไอ จาม หรือการพูดคุยใน
ระยะประชดิ กับผทู ต่ี ิดเช้อื   

 

ภาพอาการของผูปวยโรคเรื้อน จะมีอาการทางผิวหนัง และ มีผลให นวิ้ มอ้ื และอวยั วะผดิ รูป 

จากอาการของผปู ว ยโรคเร้ือนท่ีเปนอาการปว ยทางผวิ หนงั และทำใหเกิดความพกิ ารท่ีเห็นได
ชดั   ทำใหโรคเร้อื นจึงเปน โรคทร่ี งั เกยี จของผคู น  สรา งความทุกขท รมานแกผูปว ยโรคดังกลาวเปน อยาง
มาก  จนทำใหอ งคการอนามัยโลก (WHO) ไดจดั ทำโครงการควบคุมโรคเร้ือนขึน้  โดยใหก ารสนบั สนุน
แกกระทรวงสาธารณสขุ ของประเทศตางๆ ในการดำเนินการควบคุมการระบาดข้นึ ในหลายประเทศ 

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู งั คมไทย หนา 27

โดยในชว งป  พ.ศ.2498  ประเทศไทยถอื ไดว า เปน ชวงที่มีโรคเร้ือนระบาดอยูในหลายพน้ื ทีซ่ งึ่
เมอื่  พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราชบรมนาถบพิตร ไดท รงเสดจ็
พระราชดำเนนิ เย่ยี มเยียนราษฎรในพื้นทตี่ างๆ  พระองคไ ดทรงทอดพระเนตรเหน็ ปญ หาของผูปวยโรค
เรือ้ นทีถ่ กู ผคู นในสงั คมแสดงอาการรงั เกียจและหวาดกลัวเสมอื นผูปว ยโรคนั้นเปนอาชญากรทีต่ องถกู
จับกุม สง ผลใหผ ูปวยหลบซอนตวั ไมยอมใหใครมารักษาบำบัดทำใหโรคแพรอ อกไปอกี มาก 

ดว ยสภาพความทุกขข องราษฏรดงั กลา ว ทำใหพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัว รัชกาลท ี่ 9 ทรง
ตระหนกั ถึงปญ หาการระบาดของโรคเร้อื นทีต่ อ งแกไขอยา งเรง ดวน  โดยพระองคทรงรับโครงการ
ควบคมุ โรคเรอื้ นของกระทรวงสาธารณสุขไวเปนโครงการในพระราชดำร ิ และทรงพระราชทานทนุ อา
นันทมหิดลใหก ับกระทรวงสาธารณสขุ   เพือ่ จัดตั้ง  “มลู นิธิราชประชาสมาสัย”  ข้นึ ทอี่ ำเภอ
พระประแดง จังหวดั สมทุ รปราการ ใน พ.ศ. 2501 เพอ่ื เปนแหลงศกึ ษาคนควา วิจัย ฝก อบรม และให
ความรูเ รอื่ งโรคเรอ้ื นที่กำลงั ระบาดอย ู และ  ทำใหผูปวยโรคเรื้อนไดร บั การรักษาดูแลทง้ั ดา นรางกาย 
จิตใจ และดานสังคมตามมา 

 
พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั รชั กาลท่ี 9 เสดจ็ พระราชดำเนนิ ทรงประกอบพธิ วี างศิลาฤกษ   

มลู นิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชปู ถัมภ 
 

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสงั คมไทย หนา 28

 
ภาพซาย : สญั ลกั ษณของมลู นิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถมั ภ 
ภาพขวา : พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว รชั กาลที่ 9 เสดจ็ เยี่ยมเด็กและเยาวชนท่ีไดรับผลกระทบจากโรคเร้อื น 

  ขณะทใี่ นปดงั กลาวรฐั บาล จอมพลสฤษด ิ์ ธนะรชั ต  ซึง่ ม ี พระบำราศนราดรู  (หลง เวชชาชีวะ) 
เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสขุ   ไดดำเนินการควบคมุ โรคระบาดตา งๆ  โดยเฉพาะโรคเรือ้ น 
ไดอ ยางเหน็ ผลมากขน้ึ  ทำให  จอมพลสฤษด ์ิ ธนะรชั ต  เหน็ วาควรหาที่ตัง้ ของโรงพยาบาลโรคตดิ ตอให
อยใู นพ้นื ทีเ่ หมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน  จึงไดม ีการสรา ง  โรงพยาบาลบำราศนราดูร  ขึน้ ท่ี
ตำบลตลาดขวญั  จังหวัดนนทบุร ี ตามช่อื ของ พระบำราศนราดูร ท่มี ผี ลงานในการควบคมุ โรคระบาด 
ซ่ึงในปจ จบุ ันไดพ ฒั นาเปน  "สถาบนั บำราศนราดูร"  ซ่งึ สงั กัด  สังกดั กรมควบคุมโรค  กระทรวง
สาธารณสขุ มีหนาท่สี ำคัญในการควบคุมโรคระบาดที่สำคญั ของไทย 

 

ภาพซาย : พระบำราศนราดรู (หลง เวชชาชวี ะ) ภาพขวา : สถาบนั บำราศนราดรู ในปจจุบนั  

 

ประวัติศาสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสงั คมไทย หนา 29

6. โรคโควดิ -19 : โรครา ย และจุดเปล่ียนของโลกในศตวรรษท่ี 21 

โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา  2019  (coronavirus  disease  2019)  หรอื เรยี กวา  โรคโควดิ -19 
(COVID-19)    เปนโรคตดิ เช้อื ทางเดินหายใจชนิดหนึ่ง  ท่เี กิดจากเช้ือโคโรนาไวรสั สายพนั ธุใ หม  2019 
(SARS-CoV-2)  ซ่งึ โรคอุบัตใิ หมทพ่ี บการระบาดครงั้ แรกในชวงปลายป  ค.ศ.  2019  (พ.ศ.2562)  ท่ี
เมืองอฮู ่นั   มลฑลหเู ปย  ประเทศจีน  จนเปน ทีร่ ูจักในชอ่ื   โรคปอดบวมอูฮ่ัน  (Wuhan  pneumonia) 
หรือ โรคระบบทางเดนิ หายใจเฉยี บพลนั 2019-nCoV 

การระบาดของโรคโควิด-  19  ตดิ ตอจากคนสคู น  ผา นละอองสารคัดหลั่งจากระบบการหายใจ
ของบคุ คลทีต่ ิดเชอ้ื  ซึง่ มอี าการไอ หรือจาม  มีระยะฟก ตวั ของโรคระหวา ง 2 ถึง 14 วนั   ซงึ่ ผูปว ยโรคนี้
จะมีไขส ูง  และมีอาการตดิ เชื้อในระบบทางเดินหายใจ  มีอาการปอดอักเสบ  และเสียชวี ิตไดอ ยาง
รวดเร็ว  ซึง่ พบวาผูป ว ยที่เปนผสู งู อาย ุ และผมู ีโรคเก่ยี วกบั ระบบทางเดินหายใจ  โรคเบาหวาน  และ
ภูมแิ พต างๆ จะมีอาการรนุ แรงมากกวา กลมุ อน่ื ๆ และมอี ตั ราเสียชวี ติ ทสี่ งู มากขึ้น ในหลายประเทศทั่ว
โลก 

 

ภาพซาย : โลงศพและศพผูเสยี ชวี ิตในประเทศอติ าลี ภาพขวา : ท่ฝี งศพแบบรวม บนเกาะฮารท ของหรัฐอเมริกา 

โดยการระบาดของโรคโควิด-19 ในเบื้องตน ยงั ไมส ามารถผลติ วัคซนี เพื่อมารกั ษาอาการของ
โรคไดโ ดยตรง ซงึ่ มาตรการสำคญั ในการปอ งกันโรคคือการรณรงคใ หประชาชนปองกนั ตนเอง ดว ยการ
ลา งมือ และสวมหนากากอนามยั รว มกับการใช Social Distancing หรือการเวน ระยะหางทางสงั คม 

 

ประวัตศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู ังคมไทย หนา 30

โดยพยายามเวนระยะในการสมั ผสั กนั อยางนอย 2 เมตร และลดกิจกรรมชมุ นุมและอยนู ่ีแออัด ซง่ึ
เส่ยี งตอ การเกิดเกิด Super Spreader หรือการแพรระบาดของไวรัสโควิด- 19 เปน วงกวา ง 

ซ่ึงในการดำเนนิ การดงั กลาวรฐั บาลในแตละประเทศทวั่ โลก  ทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากการแพร
ระบาดของโรคโควดิ   -  19  ไดออกมาตรการตางๆ  เพื่อควบคุมการแพรระบาดที่แตกตางกันไปตาม
สภาพของการระบาด ซงึ่ มาตรการที่หลายประเทศนำมาใชค ือ “การล็อกดาวน” (LOCKDOWN) หรอื
การประการปดพนื้ ทไี่ มใ หม กี ารเดินทางเขา ออก ตลอดจน การประกาศใหห ยดุ งาน หรือกิจกรรมตา งๆ 
ที่เสีย่ งตอการแพรร ะบาดของโรค 

ซึง่ สำหรบั ประเทสไทย รัฐบาลไดจ ัดตงั้ ศูนยบ ริหารสถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื ศบค. ขน้ึ เพ่ือรบั มือในการแพรระบาดของโรคโควดิ - 19 โดย โดยม ี
พลเอกประยทุ ธ จันทรโ อชา นายกรฐั มนตรีเปน ผอู ำนวยการ ซึง่ นอกจากมาตรการรณรงคอ ยบู า น
หยุดเช้อื เพื่อชาติ และมาตรการล็อคดาวน แลว ศบค. ยังไดออกมาตรการกำหนดเวลาเคอรฟ ว โดย
หา มประชาชนออกนอกเคหสถานระหวางเวลา 22.00 - 04.00 น. เพื่อควบคุมการแพรร ะบาดท่เี กดิ
จากกิจกรรมรว มกลมุ ทางสงั คมตางๆ 

 

ภาพซาย : สัญลักษณข อง ศบค. ภาพขวา : ภาพสัญลกั ษณรณรงคอยูบา นหยุดเชอ้ื เพือ่ ชาต ิ

อยา งไรก็ตามการระบาดของโรคโควิด - 19 และการใชมาตรการลอ็ กดาวนเ ปนระยะเวลา
ตดิ ตอ กนั ถึง 3 เดอื น เพ่อื ปอ งกันการแพรระบาดและลดจำนวนผตู ดิ เชื้อลง กส็ ง ผลกระทบตอ สภาพ
เศรษฐกจิ อยา งหลีกเลีย่ งไมได โดยเฉพาะผลกระทบทเ่ี กิดกบั การประกอบอาชีพของประชาชนซึ่งคาด
กันวาในวกิ ฤตการระบาดของโรคโควิด-19 คร้งั นีม้ ีผูท ด่ี ร ับผลกระทบจากการขาดรายไดและตกงาน
เปน จำนวนวา 6.5 ลานคน ทำใหร ัฐบาลมีมาตรการใหการชวยเหลือผทู ไ่ี ดร ับผลกระทบดา นการ

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสสู งั คมไทย หนา 31

ประกอบอาชีพจากการระบาดของโรคโควดิ -19 โดยเปด ใหป ระชาชนเขารวม “โครงการเราไมท้ิงกัน”
เพอื่ รับเงนิ ชว ยเหลือ จำนวน 5,000 บาท เปน เวลา 3 เดือน ซ่งึ ถอื เปนการแกป ญหาในระยะสน้ั ใน
เบอื้ งตน  

ทา ยทีส่ ดุ น้แี นวโนมของการระบาดของโรคโควดิ - 19 ในอนาคตยังคงมีความรนุ แรงในอกี
หลายประเทศ เชน สหรฐั อเมรกิ า อติ าลี เอลซัลวาดอร รวมถึงประเทศตา งๆ ซ่ึงมแี นวโนม กระทบตอ
วถิ ชี วี ิตของผคู นในโลกท่ตี อ งเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมในการใชช ีวิต การประกอบอาชพี ทตี่ างไปจาก
เดิมนับจากน้ี รว มถงึ เศรษฐกจิ ของโลกท่ไี ดร บั ผลกระทบ จนถงึ จดุ ของเปลีย่ นแปลงท้ังในดานการผลติ
สนิ คา และการบริการทต่ี องเปลีย่ นไปเพ่อื ใหสอดรบั กับขอ จำกดั ทมี่ าจากมาตรการปอ งกนั การระบาด
ของโรคโควดิ - 19 และพฤติกรรมของผคู นท่ีเปลี่ยนไปนับจากน ้ี

 
ภาพซา ย : บรกิ ารสงอาหารเปนที่ตองการในระยะเวลาท่ีผคู นตองกกั ตัวเองในบา นตามมาตรการของรฐั  
ภาพขวา : การ Work form Home หรือ การเรยี นแบบออนไลน มีความสำคัญในชว งการระบาดของโรคโควิด-19 

 
ภาพการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมของผูค นท่เี ร่มิ ใหความสำคัญกบั การเวน ระยะหางทางสังคมและการปอ งกันตนเอง

ดว ยหนากากอนามยั และลา งมอื กอ นเขาสูพน้ื ทช่ี ุมชนมากขึน้ นับจากน ี้

 

ประวตั ศิ าสตร “โรคระบาด” จากโลกสูสังคมไทย หนา 32

แหลงขอมลู  

https://www.blockdit.com/articles/5e9b34eea552980cb21f7718/# 
https://www.blockdit.com/articles/5e804a09d6583f0ca79c2316/# 
https://www.blockdit.com/articles/5e828dbb1bdd5e0cac49afa8/# 
http://lek-prapai.org/home/view.php?id=983 
https://www.youtube.com/watch?v=-wUJbjGmv9w 
https://medicalxpress.com/news/2017-01-retelling-smallpox-vaccine-story.html 
https://www.prachachat.net/property/news-389582 
http://wops.moph.go.th/ops/thp/thp/userfiles/15_lesson%2014.pdf 
https://www.silpa-mag.com/culture/article_11320 

 


Click to View FlipBook Version