The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปี 2565 สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chepoopooo, 2023-01-03 03:06:28

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปี 2565 สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปี 2565 สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง

รายงานผลการดำเนินงาน
ประจำปี 2565
20
22
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง
.
Annual Report 2022 Office of Agriculture

and Cooperative of Ranong Province

คำนำ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดจ้ ดั ต้ังสำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดขึ้นเป็นรำชกำรบริหำรส่วน
ภูมิภำค สังกัดสำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตำมพระรำชกฤษฎีกำแบ่งส่วนส่วนรำชกำร
สำนักงำนปลัดกระทรวงฯ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2538 ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ ฉบับ
กฤษฎีกำ เล่ม 112 ตอนท่ี 6 ลงวันท่ี 7 กุมภำพันธ์ 2538 สำหรับสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง
ได้จัดต้ังในปี พ.ศ. 2541 ซึ่งได้ดำเนินงำนตำมภำรกิจของสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนองภำยใต้
3 กลุ่ม 1 ฝ่ำย ได้แก่ กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและโครงกำรพิเศษ กลุ่มยุทธศำสตร์พัฒนำกำรเกษตร
กลุ่มสำรสนเทศกำรเกษตร และฝ่ำยบริหำรท่ัวไป โดยได้ดำเนินงำนบูรณำกำรส่วนรำชกำรสังกัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ กำรบริหำรจัดกำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดจังหวัดระนอง รวมทั้งกำร
ดำเนินงำนในฐำนะผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประจำจังหวัด มีอำนำจหน้ำที่ในกำรศึกษำ วิเครำะห์
และจัดทำยุทธศำสตรก์ ำรพฒั นำกำรเกษตรและสหกรณ์ของจงั หวดั และกลมุ่ จังหวัด แผนพัฒนำกำรเกษตรรำย
สินคำ้ แผนบรู ณำกำร กำรพฒั นำกำรเกษตรและสหกรณข์ องจงั หวดั และกำรจดั ทำงบประมำณด้ำนกำรเกษตร
และสหกรณข์ องจังหวดั ศึกษำ วเิ ครำะห์ และจัดทำแผนปฏิบตั กิ ำรโครงกำรพัฒนำด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์
ของจังหวัด กำกับกำรบูรณำกำร และติดตำมกำรใช้งบประมำณของส่วนรำชกำรในสังกัดกระทรวงในจังหวัด
กำกับ ดูแล ควบคุม ประสำน ดำเนินงำน ติดตำม และประเมินผลสัมฤทธ์ิของกำรปฏิบัติงำนตำมแผนงำน
และโครงกำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัด กำกับ ดูแล ควบคุม ประสำน ดำเนินงำนติดตำม
และประเมินผลสัมฤทธ์ิของกำรปฏิบัติงำนตำมแผนงำนและโครงกำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัด
ดำเนินงำนโครงกำรพิเศษ โครงกำรในพระรำชดำริฯ งำนช่วยเหลือเกษตรกร งำนภัยพิบัติ กำรเตือนกำร
ระบำดและเฝ้ำระวัง และเตือนภัยสินค้ำเกษตรในจังหวัด ประชำสัมพันธ์และเผยแพร่กำรพัฒนำกำรเกษตร
และสหกรณข์ องจังหวดั ให้เปน็ ศูนย์ข้อมูลและศนู ย์แมข่ ำ่ ยข้อมลู ดำ้ นกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดระนอง

รำยงำนประจำปี 2565 ฉบับน้ี ได้จัดทำข้ึนโดยรวบรวมผลกำรดำเนินงำนสำคัญๆ ของสำนักงำน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง ในรอบปีงบประมำณท่ีผ่ำนมำ เพื่อให้หน่วยงำนและประชำชนท่ัวไปได้รับ
ทรำบผลกำรดำเนนิ งำนท่ปี รำกฏเป็นสำระสำคัญ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง ขอขอบคุณหน่วยงำนในสังกัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ และหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้องอ่ืนๆ ที่ได้ให้ควำมร่วมมือด้วยดีในกำรดำเนินงำนของสำนักงำนเกษตร
และสหกรณ์จังหวัดระนองในรอบปีที่ผ่ำนมำและหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำรำยงำนประจำปี 2565 ฉบับนี้ จะเป็น
ประโยชน์ต่อกำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดระนอง และผู้สนใจท่ัวไป หำกมีข้อบกพร่องหรือ
ผดิ พลำดขอน้อมรบั คำแนะนำและข้อเสนอแนะ เพื่อจะนำมำปรับปรงุ แกไ้ ขในโอกำสต่อไป

สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง

ธันวำคม 2565

สารบญั n

สวนที่1 ขอมูลพืน้ ฐานจงั หวัดระนอง หนา
1.1 ขอบเขตการปกครองและท่ตี ้ังของจงั หวัดระนอง
1.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศ 1
1.3 ลักษณะภูมิอากาศ 2
1.4 ประชากรจังหวดั 3
1.5 การใชทด่ี ินเพอ่ื การเกษตร 5
1.6 พนื้ ท่ีชลประทานและระบบชลประทาน 5
1.7 สงั คมเกษตร 6
7
สว นท่ี2 ขอมูลสาํ นกั งานเกษตรและสหกรณจังหวัดระนอง
2.1 ประวตั คิ วามเปน มา 10
2.2 ผลการดาํ เนนิ งานโครงการตามแผนปฏบิ ัตกิ ารดานการเกษตรและสหกรณ 11
ของจังหวดั ประจําปงบประมาณ 2565
2.3 แผนผงั โครงสรางองคกร (สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดระนอง) 14
2.4 แผนท่ีสํานกั งานเกษตรและสหกรณจังหวดั ระนอง 16
2.5 การเบกิ จา ยงบประมาณประจาํ ปงบประมาณ 2565 สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด 17
ระนอง
18
สวนท่ี 3 สรปุ ผลการดําเนนิ งานปงบประมาณ พ.ศ.2565
- โครงการรานอาหารวตั ถดุ ิบปลอดภยั เลอื กใชส นิ คา Q (Q Restaurant) ประจาํ 27
จังหวดั ระนอง ประจําปง บประมาณ 2565
- โครงการสง เสริมการบรโิ ภคและใชว ตั ถุดบิ สินคา Q จงั หวดั ระนอง ปงบประมาณ 38
พ.ศ.2565 .39
- การขับเคลื่อนเกษตรกรรมยงั่ ยนื ในพ้นื ท่ีจังหวดั ระนอง 45
- การติดตามการดําเนนิ งานโครงการระบบสง เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ 47
- คณะอนกุ รรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับจงั หวดั 50
- โครงการขับเคลื่อนการพฒั นาการเกษตรระดับหมบู านสกู ารผลติ สนิ คาเกษตรมลู คาสูง
- การจดั ทาํ แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณจังหวัดระนอง (พ.ศ.2566-2570) 60
ฉบบั ทบทวนป 2565
- การขบั เคลื่อนการพฒั นากาแฟโรบัสตาจังหวดั ระนอง

สารบญั หนา
62
- การจดั การสงิ่ แวดลอมสีเขียวเพ่ือความย่ังยนื ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
ชวี ภาพ เศรษฐกิจหมนุ เวยี น และเศรษฐกจิ สีเขยี ว (BCG Model) 66
- ศูนยเ ทคโนโลยีเกษตรและนวตั กรรม (Agritech and Innovation Center: AIC)
จังหวัดระนอง ปง บประมาณ 2565 74

- การจดั งานวันถา ยทอดเทคโนโลยี เพื่อเริ่มตน ฤดูกาลผลิตใหม (Field Day) 75
ประจาํ ปงบประมาณ 2565 .78
- โครงการเกษตรทฤษฎใี หม ปง บประมาณ 2565 78
- การสรรหาปราชญเ กษตรของแผนดนิ
- โครงการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวพระราชดํารแิ ละหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 89
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565
- โครงการตอยอดจากโครงการอาคารอัดนา้ํ บานเนนิ ทองพรอ มระบบสงนํา้ อนั เนอื่ ง 93
มาจากพระราชดําริ 95
- โครงการคลนิ ิกเกษตรเคลื่อนที่
- โครงการอนรุ ักษพนั ธกุ รรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดํารฯิ (อพ.สธ.) จงั หวดั ระนอง 100
ภายใตก รอบการใชประโยชน 104
- กองทุนหมนุ เวียนเพ่อื การกูย ืมแกเ กษตรและผูยากจน 106
- ศนู ยติดตามและแกไขปญหาภัยพิบตั ิดานการเกษตรจังหวัดระนอง 108
- ศูนยบรหิ ารขอมูลขา วสารดานการเกษตรและสหกรณจงั หวัดแบบเบด็ เสร็จ
- ระบบบริหารจัดการภยั พิบัติดา นการเกษตรดวยเทคโนโลยสี ารสนเทศภมู ิศาสตร 109
แบบบูรณาการ (ดนิ -นา้ํ -ปาไม-เกษตรกรรม-ภัยธรรมชาติ) จงั หวดั ระนอง
- ผลการปฏิบตั ิงานโครงการตามแผนการตรวจราชการ ประจําปง บประมาณ
พ.ศ.2565

1

สว่ นท่ี 1
ข้อมูลพื้นฐำนจงั หวดั ระนอง

1.1ขอบเขตกำรปกครองและท่ีตงั้ ของจังหวดั ระนอง

ระนองเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับต้ังแต่คร้ังกรุงศรีอยุธยาเรืองอานาจ

เดิมเป็นหัวเมืองขนาดเล็กซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นของเมืองชุมพรมาก่อน คาว่า “ระนอง” เพ้ียนมาจากคาว่า “แร่นอง”

เน่ืองจากจังหวดั ระนองมแี รอ่ ยู่มากมาย

จังหวัดระนองเปน็ จังหวัดทางภาคใตต้ อนบนของประเทศไทย โดยตง้ั อยู่ทางด้านทิศตะวันตกซึ่งมีอาณา

เขตตดิ ต่อกับทะเลอนั ดามนั และสาธารณรฐั แห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาที่ละติจูด 9 58 เหนือ

ลองจิจูด 98 38 ตะวันออก อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 580 กิโลเมตร มีเนื้อท่ีโดยประมาณ 3,298.045

ตารางกิโลเมตร (2,061,278 ไร)่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ0.63 ของเนือ้ ทที่ ง้ั ประเทศ และเป็นลาดบั ที่ 60 ของประเทศ โดยมีอาณา

เขตตดิ ตอ่ กบั จังหวัดใกล้เคยี ง ดังน้ี

ทศิ เหนอื ติดต่อกับอาเภอท่าแซะ จังหวดั ชุมพร

ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอเมือง, อาเภอสวี, อาเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร และอาเภอไชยา,

อาเภอท่าฉาง, อาเภอบา้ นตาขุน และอาเภอวภิ าวดจี งั หวัดสุราษฎร์ธานี

ทิศใต้ ติ ด ต่ อ กั บ อ า เ ภ อ คุ ร ะ บุ รี จั ง ห วั ด พั ง ง า แ ล ะ อ า เ ภ อ คี รี รั ฐ นิ ค ม

จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

ทิศตะวันตก ติดต่อกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (Republic of the Union of

Myanmar) และทะเลอนั ดามนั

การแบ่งเขตการปกครองของจังหวัดระนอง แบง่ ออกเปน็ 5 อาเภอ อนั ประกอบด้วย

(1) อำเภอเมืองระนอง ประกอบไปด้วย 38 หมู่บ้าน ใน 9 ตาบล คือ ตาบลราชกรูด ตาบล หงาว ตาบล

บางรน้ิ ตาบลปากนา้ ตาบลบางนอน ตาบลหาดส้มแป้น ตาบลทรายแดง ตาบลเกาะพยาม และตาบลเขานเิ วศน์

(2) อำเภอกระบุรี ประกอบไปด้วย 61 หมู่บ้าน ใน 7 ตาบล คือ ตาบลน้าจืด ตาบลน้าจืดน้อย ตาบล

มะมุ ตาบลปากจ่ัน ตาบลลาเลยี ง ตาบลบางใหม่ และตาบล จ.ป.ร.

(3) อำเภอละอุ่น ประกอบไปด้วย 30 หมู่บ้าน ใน 7 ตาบล คือ ตาบลบางแก้ว ตาบลละอุ่นใต้

ตาบล ละอนุ่ เหนือ ตาบลบางพระใต้ ตาบลบางพระเหนอื ตาบลในวงเหนอื และตาบลในวงใต้

(4) อำเภอกะเปอร์ ประกอบไปด้วย 34 หมู่บ้าน ใน 5 ตาบล คือ ตาบลม่วงกลวง ตาบลกะเปอร์

ตาบลบ้านนา ตาบลบางหิน และตาบลเชยี่ วเหลียง

(5) อำเภอสุขสำรำญ ประกอบไปดว้ ย 15 หมูบ่ า้ น ใน 2 ตาบล คือ ตาบลนาคา และตาบลกาพวน

2
รายละเอยี ดขอบเขตการปกครองรายอาเภอ และรายตาบลของจังหวัดระนอง ดงั แสดงในแผนที่

1.2 ลักษณะภูมปิ ระเทศ
จังหวดั ระนองมีลักษณะภมู ิประเทศที่มีรูปรา่ งเรยี วยาว แคบ ระยะทางนับจากทิศเหนือสุดจรดใต้สุดยาวประมาณ

169 กิโลเมตรมีส่วนท่ีกว้างท่ีสุดที่เป็นพ้ืนดิน ประมาณ 25 กิโลเมตร และมีส่วนที่แคบท่ีสุด 9 กิโลเมตร ลักษณะภูมิ
ประเทศประกอบดว้ ย ทวิ เขา หุบเขาสลบั ซับซ้อน และเปน็ ป่าปกคลุมทางทศิ ตะวนั ออกของจงั หวดั และเป็นพนื้ ทล่ี าดเอียง
ลงสู่ทะเลอันดามันทางทิศตะวันตก โดยมีสัดส่วนเป็นพื้นท่ีราบประมาณร้อยละ 14 และเป็นภูเขาประมาณ ร้อยละ 86
มีเกาะใหญ่น้อยในทะเลอันดามันจานวน 62 เกาะ และมีแม่น้ากระบุรีก้ันพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐ
สหภาพเมียนมาร์

จากลักษณะภูมปิ ระเทศดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจังหวัดระนองจึงมีท่ีราบน้อยมาก (ร้อยละ 14 ของพื้นท่ีท้ังจังหวัด)
เ น่ื อ ง จ า ก มี เ ทื อ ก เ ข า เ ป็ น ทิ ว ย า ว ใ น แ น ว เ ห นื อ -ใ ต้ อั น ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย เ ข า แ ด น เ ข า ห้ ว ย เ สี ย ด
และเขานมสาว โดยมียอดเขาท่ีสูงที่สุดอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด คือ ยอดเขานมสาว มีความสูง 1,089 เมตรจาก
ระดับนา้ ทะเล จากนนั้ พ้นื ทจ่ี ะลาดเอยี งลงสทู่ ะเลอันดามนั ทางทิศตะวันตก ส่วนภูเขาท่สี ูงที่สดุ ของจังหวดั ระนอง คือภเู ขา
พอ่ ตา-โชงโดง สูง 1,700 ฟุต เปน็ เทอื กเขาทส่ี ูงชนั สลบั ซบั ซ้อน

สาหรับลักษณะภูมิประเทศซึ่งจาแนกตามความลาดชันของพื้นท่ีจังหวัดระนอง โครงการชลประทานจังหวัด
ระนองไดร้ วบรวมและแสดงไว้ ดงั แสดงในตาราง

3
ตำรำงลกั ษณะภูมปิ ระเทศของจำแนกตำมควำมลำดชันของพืน้ ทจี่ งั หวดั ระนอง

ลำดบั ที่ ลักษณะภมู ปิ ระเทศของพื้นท่ี จำนวนเน้อื ที่ จำนวนเนอ้ื ที่
(ตร. กม.)
(ไร)่ 461.73
1,209.87
1 พื้นท่ีราบมีความลาดชนั 0 - 2% 288,580 944.94

2 พื้นทร่ี าบลูกคลืน่ ลอนลาดมีความลาดชันเล็กน้อย คือ 2 - 8% 756,170 609.16
67.28
3 พื้นท่ีลูกคล่ืนลอนชัน ได้แก่ พื้นท่ีซ่ึงมีความลาดชันปานกลาง คือ 590,590 3.13
1.94
8 - 16% 3,298.04

4 พื้นทที่ เ่ี ปน็ เขา เปน็ พื้นท่มี ีความลาดชนั มากคือ 16 - 35% 380,722

5 พน้ื ท่สี ูงชัน ไดแ้ ก่ พ้ืนท่ซี ึ่งมคี วามลาดชัน 35 - 50% 42,050

6 พน้ื ที่สูงชนั มาก ได้แก่ พืน้ ทมี่ ีความลาดชัน 50 - 70% 1,954

7 พืน้ ท่สี ูงชันมากทส่ี ดุ ได้แก่ พื้นท่มี ีความลาดชันมากกวา่ 75% 1,212

รวมพืน้ ทีท่ ั้งหมด 2,061,278

1.3 ลักษณะภูมิอำกำศ

จังหวัดระนองเป็นจังหวัดที่ได้ช่ือว่า “ฝนแปดแดดสี่” เนื่องจากอยู่ทางด้านตะวันตก และติดกับทะเลอันดามัน
จงึ ไดร้ ับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพดั ปกคลมุ ประเทศไทยระหวา่ งกลางเดือนพฤษภาคม ถงึ เดอื นตุลาคม ทาให้
มีเมฆมากและฝนตกทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามบริเวณชายฝ่ังทะเลจังหวัดระนอง และเทือกเขาด้านรับลมจะมีฝน
มากกว่าบริเวณอ่ืน โดยปริมาณน้าฝนเฉล่ยี 3,691.80 - 5,330.70 มม.ตอ่ ปี ฝนตกในแต่ละปีประมาณ 8 เดือน ตั้งแต่เดอื น
เมษายน-พฤศจกิ ายน และตกมากที่สุดในชว่ งเดอื นพฤษภาคม-กรกฎาคม เฉลี่ยเดือนละ 20 วัน อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 39.5
องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู ิต่าสุดเฉลี่ย 16.5 องศาเซลเซียส อุณหภมู เิ ฉลีย่ ตลอดปปี ระมาณ 27.18 องศาเซลเซยี ส

1) ฤดูกาล

ฤดกู าลของจงั หวดั ระนอง แบ่งตามลกั ษณะลมฟา้ อากาศของประเทศไทยออกไดเ้ ป็น 3 ฤดู คือ

ฤดรู ้อน เร่มิ ตั้งแต่กลางเดือนกมุ ภาพนั ธ์ ถงึ กลางเดือนพฤษภาคม ระยะนี้เป็นช่องว่างของฤดูมรสุม จะมีลมจาก
ทิศตะวันออกเฉียงใตพ้ ัดปกคลมุ ทาให้อากาศร้อนท่ัวไป อากาศจะร้อนที่สุดในเดือนเมษายน แต่ไม่ร้อนมากนัก เนื่องจาก
ภมู ิประเทศเป็นคาบสมทุ รอยูใ่ กล้ทะเล กระแสลมและไอน้าจากทะเล ทาใหอ้ ากาศคลายความร้อนลงไปมาก

ฤดูฝน เริ่มตั้งแตก่ ลางเดอื นพฤษภาคม ถึงกลางเดือนตุลาคม จะมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศ
ไทย และร่องความกดอากาศต่าจะพาดผ่านภาคใต้เปน็ ระยะๆ อีกด้วย จงึ ทาให้มีฝนตกมากตลอดฤดู และเดือนกรกฎาคม
- สงิ หาคม จะมฝี นตกชกุ ทส่ี ดุ ในรอบปี

ฤดูหนาว เร่ิมตั้งแตก่ ลางเดอื นตลุ าคม ถงึ กลางเดือนกุมภาพันธ์ ในระยะนีจ้ ะมีลมมรสมุ ตะวันออก เฉียงเหนือซึ่ง
เยน็ และแหง้ จากประเทศจนี พัดปกคลุมประเทศไทย ทาให้อุณหภูมลิ ดลงทว่ั ไปและมีอากาศหนาวเย็น แต่เนื่องจากจังหวัด
ระนองอยู่ใกลท้ ะเลอณุ หภูมจิ งึ ลดลงเล็กนอ้ ยเป็นครัง้ คราว อากาศไมห่ นาวเยน็ มากนัก และตามชายฝ่ังจะมีฝนตกท่ัวไปแต่
มีปริมาณไมม่ าก

4

อุณหภูมเิ น่ืองจากเป็นจังหวัดทต่ี ั้งอยูใ่ นคาบสมุทรทม่ี แี หลมยืน่ ออกไปในทะเล จึงได้รับมรสมุ อย่างเต็มท่ีคือมรสุม
ตะวนั ตกเฉยี งใตจ้ ากมหาสมุทรอนิ เดยี และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย ทาให้ได้รับไอน้าและ
ความชุ่มช้ืนมากอุณหภูมิเฉล่ียจึงไม่สูงมาก และอากาศไม่ร้อนจัดในฤดูร้อน อากาศจะอบอุ่นในช่วงฤดูฝน ส่วนฤดูหนาว
อากาศจะเย็นในบางคร้ัง อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 26.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉล่ีย 31.4 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิต่าสุดเฉล่ีย 22.3 องศาเซลเซียส เดือนเมษายนเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนจัดท่ีสุด ซึ่งจากข้อมูลสถิติพบว่ จังหวัด
ระนองเคย ตรวจวัดอุณหภมู สิ งู ท่ีสดุ ได้ 39.6องศาเซลเซียส เมอื่ วันท่ี 31 มนี าคม 2526 และเคยตรวจวัดอุณหภูมิต่าท่ีสุด
ได้ 13.7 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2499

ควำมชนื้ สัมพทั ธ์ความช้นื สมั พทั ธ์สัมพันธ์กับมวลอากาศ และอิทธิพลของลมมรสุมมีความสาคัญมากตลอดท้ังปี
จงั หวัดระนองจะมีความช้นื สัมพัทธ์อย่ใู นเกณฑ์สูง เน่ืองจากได้รับอิทธิพลจากมรสุมทั้งสองฤดูอย่างเต็มที่ มรสุมท้ังสองน้ี
ก่อนจะพัดเข้าสบู่ ริเวณจังหวดั ไดผ้ ่านทะเลและมหาสมุทรจึงไดพ้ ัดเอาไอนา้ และความชุ่มช้ืนมาด้วย ทาให้บริเวณจังหวัดมี
ความชมุ่ ชน้ื และความชน้ื สัมพัทธ์สูงเป็นเวลานาน ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปีประมาณ 83 % ความช้ืนสัมพัทธ์สูงสุด
เฉลยี่ 96 % ความชืน้ สมั พทั ธ์ตา่ สดุ เฉลยี่ 68 % เคยตรวจความช้นื สัมพัทธต์ า่ ที่สดุ เคยตรวจได้ 28 % ในเดือนมกราคม

ฝนเนอ่ื งจากจังหวัดระนองอย่ทู างดา้ นฝัง่ ตะวนั ตกของภาคใต้ซ่ึงรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้อย่างเต็มท่ีในฤดูฝน
จงั เป็นจังหวดั ทมี่ ฝี นอย่ใู นเกณฑ์ดีมาก ส่วนในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีฝนตกน้อยเนื่องจากทิวเขาด้านตะวันออก
ของภาคใต้ปิดก้ันลมไว้ ปริมาณฝนเฉล่ียตลอดปีประมาณ 4,275.4 มิลลิเมตร มีฝนตกประมาณ203 วัน เดือนท่ีมีฝนตก
มากที่สุดคือเดือนสิงหาคม มีฝนเฉล่ีย 794.1 มิลลิเมตร ฝนตกเฉลี่ย 27 วัน ฝนสูงสุดใน24 ช่ัวโมง เคยตรวจได้ 460.9
มลิ ลเิ มตร ในวันที่ 22 มิถนุ ายน 2513

จำนวนเมฆตลอดทงั้ ปีจะมจี านวนเมฆเฉล่ียประมาณ 6 สว่ นของจานวนเมฆในทอ้ งฟา้ 8 ส่วน โดยในฤดูร้อนเมฆ
ประมาณ 4 ส่วน ฤดูฝนประมาณ 7 สว่ น ฤดหู นาวประมาณ 5 ส่วน

หมอก ฟ้ำหลัว และทัศนวิสัยโดยเฉลี่ยแล้วจังหวัดระนองมีโอกาสเกิดหมอกได้เกือบทุกเดือนประมาณเดือนละ
1 - 4 วัน เดือนพฤษภาคมเป็นเดือนที่เกิดหมอกมากที่สุดประมาณ 5 วัน วันที่เกิดหมอกทัศนวิสัยจะเลวเห็นได้ไม่เกิน
1 กิโลเมตร ส่วนฟ้าหลัวเกิดได้ทุกเดือน เดือนมกราคมถึงเมษายนเกิดมากประมาณเดือนละ 15 – 21 วัน ส่วนเดือนอื่น ๆ
จะเกิดได้ประมาณ 4 – 8 วัน วันที่มีฟ้าหลัวทัศนวิสัยจะเห็นได้ไกลประมาณ 6กิโลเมตร ทัศนวิสัยเฉล่ียเวลา 07.00 น.
จะเหน็ ไดไ้ กลประมาณ 7 กิโลเมตร และทศั นวสิ ยั เฉลยี่ ตลอดวนั ประมาณ 9 กิโลเมตร

ลมระบบหมุนเวียนของลมในจังหวัดระนองมีความชัดเจนดี เดือนตุลาคมถึงธันวาคมจะเป็นลมทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนอื กาลงั ลมเฉลีย่ 7 - 9 กม./ชม. เดือนมกราคมถึงกมุ ภาพันธ์จะเป็นลมทิศตะวันออก กาลังลมเฉล่ีย 7
- 9 กม./ชม. เดือนมนี าคมถงึ เมษายนจะเป็นลมทิศตะวันออกเฉียงเหนือ กาลังลมเฉลี่ย 7 – 9 กม./ชม. เดือนพฤษภาคม
ถึ ง กั น ย า ย น จ ะ เ ป็ น ล ม ทิ ศ ใ ต้ ก า ลั ง ล ม เ ฉ ลี่ ย 7–11ก ม ./ช ..ก า ลั ง ล ม สู ง สุ ด ใ น แ ต่ ล ะ ฤ ดู มี ดั ง น้ี
ฤดูร้อนเคยตรวจลมสูงที่สุดได้ 65 กม./ชม. เป็นลมทิศตะวันออกในเดือนเมษายน ฤดูฝนเคยตรวจลมสูงท่ีสุดได้
111 กม./ชม. เปน็ ลมทิศตะวนั ตกในเดอื นตุลาคม และฤดหู นาวเคยตรวจลมสูงที่สุดได้ 89 กม./ชม. เป็นลมทิศตะวันออก
ค่อนไปทางเหนอื เลก็ น้อยในเดือนมกราคม

พำยุหมุนเขตร้อนท่ีผ่านบริเวณภาคใต้และทาความกระทบกระเทือนให้กับจังหวัดระนอง ส่วนมากเป็นพายุ
ดเี ปรสช่ันทมี่ ีกาลังอ่อน ซงึ่ เกิดจากทะเลจีนใต้และมหาสมทุ รแปซิฟิคและมีสว่ นนอ้ ยที่เกดิ จากทางมหาสมุทรอินเดีย พายุ
ดเี ปรสชัน่ หรอื พายุโซนร้อนทเี่ คล่อื นตวั เขา้ สภู่ าคใตเ้ กือบทกุ คร้งั จะทาความกระทบกระเทือนใหก้ บั จังหวัดระนองด้วย คือ
ทาให้ฝนตกหนกั ลมกระโชกแรงและเกดิ สภาวะน้าท่วมฉบั พลันขึน้ ได้ กาลังแรงของลมและคลืน่ ในทะเลจะทาอันตรายแก่
เรือในทะเล และอาคารบ้านเรือนที่อยู่ตามชายฝ่ังทะเลได้ พายุหมุนที่มีความรุนแรงและทาความเสียหายแก่ภาคใต้เป็น
บริเวณกว้างและจังหวัดระนองที่ผ่านมาได้แก่พายุโซนร้อน “ฮาเรียต” ซึ่งก่อตัวขึ้นในทะเลจีนใต้ใกล้ปลายแหลมญวน

5

เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2505 แลว้ เคลื่อนตัวเข้าสู่อ่าวไทยพร้อมทวีความรุนแรงข้ึนเป็นพายุโซนร้อน และได้เคลื่อนตัวผ่าน
จงั หวัดนครศรธี รรมราช สรุ าษฎรธ์ านี และจงั หวัดสงขลา ระหวา่ งวันท่ี 25 – 26 ตุลาคม 2505 ลงส่ทู ะเลอันดามนั พายุนี้
ได้ทาความเสียหายเกือบทุกจังหวัดในภาคใต้ โดยมีผู้เสียชีวิตถึง 935 คน และบาดเจ็บ 445 คน ทรัพย์สินของราชการ
และเอกชนเสียหายคิดเป็นมูลค่าถึง 1,320 ล้านบาท นับเป็นความเสียหายจากภัยธรรมชาติที่ร้ายแรงท่ีสุดของประเทศ
ไทย และเมอื่ วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2515 พายุดีเปรสชั่นซ่ึงอ่อนกาลังลงจากพายุไต้ฝุ่น “แซลลี่” ผ่านเข้ามาในจังหวัดระนอง
ทาให้มีฝนตกหนกั ใน 24 ชั่วโมงวดั จานวนได้ 94.0 มิลลิเมตร

1.4 ประชำกรจังหวัด
ระนอง

จังหวัดระนอง ปี พ.ศ. 2564 มีครัวเรือนท้ังหมด 94,295 ครัวเรือน มีประชากรท้ังหมด 194,573 คน
โดยประชากรอาเภอเมือง ระนองมีจานวนมากท่ีสุด 94,706 คน คิดเป็นร้อยละ 48.67 ของประชากรท้ังหมด รองลงมา
ได้แก่ อาเภอกระบุรี จานวน 48,302 คน คิดเป็นร้อยละ 24.82 อาเภอกะเปอร์จานวน 21,981 คิดเป็นร้อยละ 11.30
อาเภอละอุ่น จานวน 15,206 คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.81 และอาเภอสุขสาราญจานวน 14,378 คิดเป็นร้อยละ 7.39 ตามลาดับ
โดยเป็นประชากรเพศชาย จานวน 98,136 คน และเพศหญิง จานวน 96,437 คน มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของ
ประชากรมีอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากร ร้อยละ 0.1 โดยเป็นครัวเรือนเกษตรกร 25,651ครัวเรือน นอกภาคเกษตร
68,644ครวั เรอื น

ตำรำงแสดงจำนวนประชำกรครวั เรือนเกษตรกร ของจงั หวัดระนอง

อำเภอ จำนวนประชำกร (คน) ควำมหนำแน่น จำนวนครวั เรือนประชำกร (ครวั เรือน)

เมืองระนอง ชำย หญิง รวม (คน/ตร.กม.) ภำคเกษตร น อ ก ภ ำ ค รวม
กระบรุ ี
กะเปอร์ เกษตร
ละอุ่น
สขุ สาราญ 47,617 47,089 94,706 132.69 4,932 44,633 49,565
รวม
24,518 23,784 48,302 61.69 10,728 13,815 24,543

11,119 10,862 21,981 33.42 3,967 4,781 8,748

7,695 7,511 15,206 20.31 3,993 2,821 6,814

7,187 7,191 14,378 36.39 2,031 2,594 4,625

98,136 96,437 194,573 59.00 25,651 68,644 94,295

ท่ีมา: ท่ีทาการปกครองจงั หวดั ระนอง ณ ธันวาคม 2564,สานักงานท้องถิ่น

จงั หวดั ระนอง ขอ้ มลู ครวั เรือนเกษตรกรจากสานักงานเกษตรจงั หวดั ระนอง,2564

1.5 กำรใช้ทีด่ ินเพอื่ กำรเกษตร

จังหวัดระนอง มีพ้ืนที่ทั้งหมด 2,061,278 ไร่ มีพ้ืนที่ถือครองทางการเกษตร จานวน 639,263ไร่
คิดเป็นร้อยละ 31.01 ของพื้นที่ทั้งหมดเป็นพ้ืนท่ีปลูกไม้ยืนต้น 573,883ไร่ คิดเป็นร้อยละ 89.77ของพื้นที่ทาการเกษตร
พ้ืนท่ีปลูกไม้ผล 63,432ไร่คิดเป็นร้อยละ 9.92ของพ้ืนที่ทาการเกษตร พื้นที่ปลูกพืชไร่พืชผัก 1,234 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
0.19 ของพื้นที่ทาการเกษตร พ้ืนที่ทานา 676 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.11 ของพื้นที่ทาการเกษตร และพ้ืนที่อ่ืนๆทางการ
เกษตร 40 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 0.01 ของพนื้ ที่ทาการเกษตร

6

ตำรำงแสดงกำรใชท้ ี่ดินเพอ่ื กำรเกษตรแยกตำมรำยอำเภอจังหวดั ระนอง ปี 2564
พืน้ ที่ทำกำรเกษตร (ไร)่

อำเภอ ทำนำ ไมผ้ ล ไม้ยนื ตน้ พืชไร่พืชผัก พื้นที่อื่นทำงกำร รวม
- 3,309 70,626
เมือง ไมด้ อก เกษตร
ระนอง
กระบุรี 135 16 74,086
กะเปอร์
ละอ่นุ 636 31,321 314,925 180 5 347,067
สขุ สาราญ
รวม 34 6,803 70,300 543 17 77,697

6 19,310 81,477 38 2 100,833

- 2,689 36,555 338 - 39,582

676 63,432 573,883 1,234 40 639,263

ทมี่ า : สานักงานเกษตรจังหวดั , 2564

1.6 พื้นท่ีชลประทำนและระบบ
ชลปรโะคทรำงกนารชลประทานระนองมขี อบเขตความรบั ผิดชอบในเขตพนื้ ที่จงั หวดั ระนอง รวม 5 อาเภอ 30 ตาบล 178 หมู่บ้าน

ครอบคลุมพื้นที่ 2,061,281 ไร่ เป็นพื้นท่ีราบประมาณ 14% พื้นที่เกษตรกร597,386 ไร่ โดยมีพ้ืนที่รับประโยชน์ของโครงการ

ชลประทานขนาดกลาง โครงการชลประทานขนาดเลก็ (อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาร)ิ , โครงการชลประทานขนาดเลก็ (ป้องกนั ตนเอง

ชายแดน), โครงการชลประทานขนาดเลก็ ท่ีถ่ายโอนภารกจิ ใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, โครงการชลประทาน ประเภทสระเก็บ

น้าต่างๆโครงการสถานีสบู น้าด้วยไฟฟ้าที่ถา่ ยโอนภารกิจให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน โดยแยกไดด้ งั น้ี

3.1) โครงการชลประทานขนาดกลาง 1 แห่งอ่างเก็บน้าคลองหาดส้มแป้น ขนาดความจุที่ระดับเก็บกัก
10,000,000 ล้าน ลบ.ม. เป็นแหลง่ น้าตน้ ทนุ ผลผลิตประปาเมืองระนอง

3.2) โครงการชลประทานขนาดเล็ก ประเภทฝายทดน้าและอาคารอัดน้า (อันเนื่องมาจากพระราชดาริ) จานวน
8 แหง่ พนื้ ทร่ี บั ประโยชน์ 7,775 ไร่ 1,200 ครัวเรือน อา่ งเก็บนา้ ขนาดความจุ 200,000ลบ.ม. 1 แหง่ (เกาะพยาม)

3.3) โครงการชลประทานขนาดเล็ก ประเภทฝายทดน้าและอาคารอัดน้า (ป้องกันตนเองชายแดน) จานวน
22 แหง่ พ้ืนทีร่ ับประโยชน์ 24,025 ไร่ 3,787 ครัวเรือน

3.4) โครงการชลประทานขนาดเลก็ ประเภทฝายทดน้าและอาคารอัดน้าที่ถ่ายโอนภารกิจให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถนิ่ จานวน 56 แห่ง พืน้ ที่รับประโยชน์ 46,650 ไร่ 6,179 ครัวเรอื น

3.5) โครงการชลประทานประเภทสระเก็บน้าต่างๆ ที่ถ่ายโอนภารกิจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน
32 แหง่ พ้ืนทร่ี ับประโยชน์ 12,385 ไร่ 1,223 ครวั เรอื น

แผนกำรพัฒนำแหลง่ นำ้ ชลประทำนขนำดกลำง
จังหวัดระนองเป็นจังหวัดหน่ึง ที่มีปริมาณฝนตกเฉล่ียมากท่ีสุดของประเทศ แต่เนื่องจากจังหวัดระนองพ้ืนที่

ส่วนใหญ่จะเปน็ ภูเขาสงู ในด้านทิศตะวนั ออก และลาดลงสทู่ ะเลในดา้ นตะวนั ตก ภเู ขาต่างๆ กอ่ ให้เกิดแม่น้า ลาคลองสายสั้นๆ

และมีความลาดชันสูง ระนองเป็นเมืองท่ีมีปริมาณฝนมากถึง 4,000 มม.โดยเฉลี่ยแต่น้าฝนดังกล่าวได้ไหลลงสู่คลองและ

แม่น้าต่างๆ ลงสู่ทะเลในเวลาอันรวดเร็ว ไม่สามารถเก็บกักไว้ในท้องน้าของแม่น้าหรือคลอง พอเข้าสู่ฤดูร้อน ปัญหาการ

ขาดแคลนน้าจงึ เกิดข้นึ กรมชลประทานจึงไดว้ างโครงการฯ เพ่ือแกไ้ ขบรรเทาปญั หาดงั กล่าว โดยมแี ผนงานดังนี้

7

1. อ่างเกบ็ น้าคลองเคยี นงาม หมู่ 3 ต.บางหิน อ.กะเปอร์ จ.ระนอง ความจุ 20.00 ล้าน ลบ.ม.
2. อ่างเกบ็ นา้ คลองจ่ัน หมู่ 8 ต.จ.ป.ร. อ.กระบรุ ี จ.ระนอง ความจุ 26.00 ล้าน ลบ.ม.
3. อา่ งเก็บน้าคลองละอ่นุ หมู่ 4 ต.ละอุ่นเหนอื อ.ละอุ่น จ.ระนอง ความจุ 33.00 ลา้ น ลบ.ม.
4. อ่างเกบ็ นา้ คลองวัน หมู่ 5 ต.มะมุ อ.กระบรุ ี จ.ระนอง ความจุ 12.00 ลา้ น ลบ.ม.
5. อ่างเกบ็ นา้ คลองกระบรุ ีตอนล่าง หมู่ 1 ต.น้าจืด อ.กระบุรี จ.ระนอง ความจุ 15.00 ลา้ น ลบ.ม.
6. อ่างเก็บนา้ คลองบางริน้ หมู่ 2 ต.บางริน้ อ.เมอื ง จ.ระนอง ความจุ 26.00 ลา้ น ลบ.ม.
7. อ่างเก็บนา้ คลองกะเปอร์ หมู่ 4 ต.บา้ นนา อ.กะเปอร์ จ.ระนอง ความจุ 43.00 ล้าน ลบ.ม.

1.7 สังคมเกษตร

1) ครวั เรือนเกษตรกร
จังหวดั ระนอง มคี รวั เรือนทัง้ หมด 94,295 ครวั เรือน เปน็ ครวั เรอื นเกษตรกร 25,651 ครวั เรือน คิดเป็นร้อย

ละ 27.20 ของครัวเรอื นทง้ั หมด ซึ่งมรี ายไดเ้ ฉล่ียครวั เรือนละ 222,186 บาท/ปี

ตำรำงแสดงครัวเรอื นเกษตรกรและรำยได้เฉลี่ยของครวั เรอื นรำยอำเภอ

จำนวนครัวเรือน จำนวนครัวเรือน รำยได้เฉล่ยี คน/ปี รำยไดเ้ ฉล่ยี ครวั เรือน/

อำเภอ ท้งั หมด เกษตรกร (บำท) ปี

(ครวั เรอื น) (ครัวเรือน) (บำท)

เมอื งระนอง 49,565 4,932 104,174 241,799

กระบรุ ี 24,543 10,728 73,645 187,825

กะเปอร์ 8,748 3,967 66,719 187,850

ละอนุ่ 6,814 3,993 111,215 282,298

สขุ สาราญ 4,625 2,031 77,689 244,079

รวม 94,295 25,651 89,742 222,186

ทม่ี า : จานวนครัวเรอื นท้งั หมด สานักงานทอ้ งถน่ิ จังหวัดระนอง,2564 รายได้เฉลีย่ จากสานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวัด
ระนอง, 2564 จานวนครัวเรอื นเกษตรกร จากสานกั งานเกษตรจงั หวดั ระนอง, 2564

2) องคก์ รเกษตรกร

2.1) ประเภทสหกรณ์และจำนวนสมำชิก

จังหวดั ระนองทงั้ 5 อาเภอ มีสหกรณ์ซ่ึงจดทะเบยี นถูกตอ้ งตามพระราชบญั ญตั สิ หกรณ์ พ.ศ. 2542

จานวน 27แห่ง มีสมาชกิ รวม 21,313 คน

ตำรำงตำรำงแสดงประเภทสหกรณแ์ ละจำนวนสมำชกิ

ประเภทสหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ (แหง่ ) จำนวนสมำชิก (คน)

1.สหกรณ์การเกษตร 14 14,766

2.สหกรณ์ประมง 1-

3.สหกรณ์นิคม --

4.สหกรณ์ออมทรพั ย์ 6 5,103

8

5.สหกรณ์รา้ นคา้ 1 820
6.สหกรณ์บรกิ าร 3 289
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 335
27 21,313
รวม

หมำยเหต:ุ จานวนสมาชกิ เฉพาะสหกรณ์ที่ดาเนนิ งาน/ธุรกจิ ในปจั จบุ นั ทีม่ า:สานักงานสหกรณ์จังหวดั ระนอง ,2565

ตำรำงแสดงสถำนะสหกรณ์

2.2) กลมุ่ เกษตรกรจงั หวดั ระนองซ่ึงจดทะเบียนถูกต้องตำม พ.ร.บ.สหกรณ์

จังหวัดระนอง มีกลุ่มเกษตรกรซ่ึงจดทะเบียนถูกต้องตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ จานวน 17 กลุ่ม

สมาชกิ 1,838 ราย

ตำรำงแสดงจำนวนและสมำชกิ กลุม่ เกษตรกรจงั หวดั ระนอง

ประเภทกล่มุ เกษตรกร จำนวนกลุม่ เกษตรกร(แหง่ ) จำนวนสมำชิก (คน)

1.กลมุ่ เกษตรกรทาสวน 11 1,340

2.กลุ่มเกษตรกรทานา 2 190

3.กลุ่มเกษตรกรเลย้ี งสัตว์ 2 209

4.กลมุ่ เกษตรกรทาประมง 2 99

รวม 17 1,838

ทมี่ า:สานักงานสหกรณ์จังหวดั ระนอง, 2565

ตำรำงแสดงสถำนะกลุ่มเกษตรกรจังหวดั ระนอง

จำนวนกล่มุ เกษตรกร (แห่ง) จำนวนกลมุ่

ประเภทกลุ่มเกษตรกร ดำเนินงำน/ หยดุ ดำเนินงำน/ เลกิ /ชำระบญั ชี จดั ต้ัง เกษตรกรทงั้ หมด

1. กลมุ่ เกษตรกรทานา ธุรกจิ (1) ธรุ กิจ (2) (3) ใหม่(4) (1)+(2)+(3)+(4)
2. กลุ่มเกษตรกรทาสวน
3. กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสตั ว์ 2- -- 2
4. กลุม่ เกษตรกรทาไร่
5. กลุม่ เกษตรกรทาประมง 11 - -- 11
6. กลมุ่ เกษตรกรอ่นื ๆ
2- -- 2
รวม
-- -- -

1- 1- 2

-- -- -

16 - 1- 17

ที่มา:สานกั งานสหกรณ์จงั หวัดระนอง, 2565

2.3) สถำบันเกษตรกรจงั หวดั ระนองทส่ี ำนักงำนเกษตรจงั หวดั ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ
จังหวัดระนองมีสถาบันเกษตรกรท่ีสานักงานเกษตรจังหวัดระนอง ส่งเสริมและสนับสนุน ได้แก่
กลุ่มแมบ่ า้ นเกษตรกรจานวน 38 กลมุ่ กล่มุ ยวุ เกษตรกร จานวน 32 กลุ่ม กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จานวน 30 กลุ่ม
และกล่มุ วสิ าหกิจชมุ ชน จานวน 238 กลมุ่ สรุปเป็นรายอาเภอได้ ดังน้ี

9

ตำรำงแสดงจำนวนกลุ่มและสมำชิกของสถำบนั เกษตรกรจังหวดั ระนอง (รำยอำเภอ)

อำเภอ กลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกร กลุ่มยวุ เกษตรกร กล่มุ สง่ เสริมอำชพี กลุ่มวสิ ำหกิจชุมชน
กำรเกษตร
เมอื ง
กระบรุ ี กลุม่ สมำชกิ กลุ่ม สมำชิก กลุม่ สมำชกิ กลมุ่ สมำชิก
กะเปอร์
ละอุ่น 8 170 10 165 14 444 47 863
สุขสาราญ
9 225 7 157 4 79 81 2,032
รวม
9 239 4 146 5 217 49 695

8 176 5 100 5 113 36 692

4 97 6 65 2 60 25 415

38 907 32 633 30 913 238 4,697

ท่ีมา :สานกั งานเกษตรจังหวดั ระนอง, 2565

3) อำสำสมคั รเกษตรของจังหวดั

ตำรำงแสดงอำสำสมัครเกษตรของจังหวัดระนอง

อำเภอ ครู หมอ ประ เศรษฐกิจ ครู อำสำสมคั ร อำสำ อำสำ อำสำ อำสำ อำสำ เกษ สำรวตั ร

บญั ชี ดนิ มง กำรเกษต ยำง5 ปฏริ ปู ทด่ี ิน สมคั ร ปศุสัตว์ ฝน สมัคร สมคั ร ตร เกษตร

1 อำสำ2 อำสำ รอำสำ4 เพ่อื เกษตร 8 หลวง7 สหกรณ์ ชลประทำน หมู่ อำสำ12

3 เกษตรกรรม และ 9 10 บ้ำน

6 สหกรณ7์ 11

เมืองระนอง 11 38 14 1 1 2 - 36 6 4 - 38 4

ละอุน่ 3 30 22 1 8 8 7 31 5 1 - 30 15

กะเปอร์ 6 34 21 1 5 4 3 18 2 4 - 34 4

กระบรุ ี 8 61 21 1 28 15 7 36 5 7 1 61 54

สขุ สาราญ 6 15 22 1 7 1 - 17 3 4 1 15 1

รวม 34 178 100 5 49 30 17 138 21 20 2 178 78

ที่มา:1.สานักตรวจบญั ชสี หกรณ์ระนอง 2.สถานีพัฒนาทีด่ นิ ระนอง 3.สนง.ประมงจังหวดั 4.สนง.เศรษฐกิจการเกษตร 5.การยาง

แห่งประเทศไทยระนอง 6.สนง.การปฏริ ูปทดี่ ินระนอง 7.สนง.เกษตรและสหกรณ์จงั หวดั ระนอง 8.สนง.ปศสุ ัตว์จังหวัดระนอง 9.

สนง.สหกรณ์จงั หวดั ระนอง 10.โครงการชลประทานระนอง 11.สนง.เกษตรจังหวัดระนอง 12.ศวพ.ระนอง, 2565

ตำรำงแสดงจำนวนกลุม่ และสมำชกิ กองทุนฟ้นื ฟูและพฒั นำเกษตรกร (รำยอำเภอ)

อำเภอ เป็นนติ บิ ุคล ไมเ่ ปน็ นติ บิ คุ ล

เมืองระนอง กลมุ่ สมำชิก กลุ่ม สมำชิก
กระบรุ ี 6 570 57 4,762
กะเปอร์ 19 1,694 97 1,393
ละอุ่น 3 536 71 8,232
สุขสาราญ 5 489 38 5,156
3 178 26 2,196
รวม 36 3,467 289 21,739

ท่มี า: สานกั งานกองทุนฟนื้ ฟแู ละพัฒนาเกษตรกร สาขาจงั หวัดระนอง

10

สว่ นท่ี 2 ข้อมลู สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั ระนอง

2.1 ประวตั ิควำมเปน็ มำ
คณะรัฐมนตรไี ดม้ มี ตเิ มือ่ วันท่ี20 สิงหาคม2534 อนุมัติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดต้ังสานักงานเกษตรและ

สหกรณ์จังหวัด โดยให้มีการทดลองจัดต้ังใน 4 จังหวัด ท่ีมีสานักงานเกษตรภาคต้ังอยู่ก่อน คือ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด
ขอนแก่น จังหวดั ชยั นาท และจงั หวัดสงขลา

ต่อมาในปี 2537 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร่วมกับสานักงาน กพ. ได้ทาการประเมินผล การปฏิบัติงานของ
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดท้ัง 4 แห่ง ผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับที่ น่าพอใจ คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเม่ือ
วันท่ี 13 กนั ยายน 2537 เห็นชอบให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตั้งสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเป็นการ
ถาวรได้ โดยให้รวมงานด้านการปฏิบัติการของหน่วยงานในสังกัดจังหวัด เข้ามาอยู่ภายใต้การกากับดูแลของสานักงาน
เกษตรและสหกรณ์จงั หวัด ภายใน 3 ปี

ดังนั้นกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้จัดต้ังสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดขึ้นเป็นราชการบริหารส่วน
ภูมิภาค สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนส่วนราชการ สานักงานปลัด
กระทรวงฯ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2538 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 112 ตอน
ที่ 6 ลงวนั ท่ี 7 กุมภาพันธ์ 2538สาหรับสานกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั ระนอง ไดจ้ ัดตง้ั ในปี พ.ศ. 2541

11

2.2 ผลกำรดำเนินงำนโครงกำรตำมแผนปฏบิ ัติกำรด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์จังหวดั ระนอง

(ไตรมำส 4)

ปงี บประมำณ 2565

โครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ปี 2565 ตามประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตร

ในชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) มีจานวน 187 โครงการ งบประมาณท้ังสิ้น

207,548,461.53 บาท

สรปุ ผลกำรดำเนินงำน ไตรมำส 4 (10 ตลุ ำคม 2565) ดงั นี้

โครงการตามแผนฯ 183 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 207,548,461.53 บาท อยู่ระหว่างดาเนินโครงการการ 2

โครงการ และดาเนินการแล้วเสร็จ 185 โครงการ มีผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 206,414,367.33 บาท คิดเป็นร้อยละ

99.45 โดยแยกตามประเดน็ ยุทธศาสตรไ์ ด้ ดังนี้

ประเด็นยุทธศำสตร์ท่ี 1 สร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถำบันเกษตรกร จานวนงาน/โครงการท่ี

ได้รับอนุมัติ 73 โครงการ งบประมาณท้ังสิ้น 9,656,556.00 บาท จาก 3 แหล่งงบประมาณ เบกิ จ่ายงบประมาณแล้ว

9,627,618.41 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 99.70 แบง่ เปน็

งบจงั หวดั 2,869,900.00 บาท งบปกติ 6,098,016.00 บาท งบอน่ื ๆ 688,640.00 บาท

1 เบิกจ่าย ร้อย 71 เบิกจ่าย ร้อย 1 เบิกจ่าย ร้อย

โครงการ ละ โครงการ ละ โครงการ ละ

แลว้ เสรจ็ 2,869,900.00 100 แลว้ เสร็จ 6,097,976.71 99.999 แลว้ เสรจ็ 659,741.70 95.08
1 71 1

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 2 เพ่ิมประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรสินค้ำเกษตรตลอดโซ่อุปทำน จานวนงาน/

โครงการที่ได้รับอนุมัติ 32 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 3,391,494.00 บาท จาก 2 แหล่งงบประมาณ เบิกจ่าย

งบประมาณแลว้ 3,391,494.00 บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 100 แบง่ เปน็

งบจงั หวดั - บาท งบปกติ 3,175,494.00 บาท งบอนื่ ๆ 216,000.00 บาท

- โครงการ เบกิ จ่าย ร้อย 30 โครงการ เบกิ จ่าย ร้อย 2 โครงการ เบกิ จ่าย ร้อย

ละ ละ ละ

ยังไม่ กาลงั แลว้ - - กาลงั แลว้ 3,175,494.00 100 กาลงั แล้ว 216,000.00 100

ดาเนิน ดา เสร็จ ดา เสรจ็ ดา เสรจ็

โครง เนนิ เนนิ เนิน

การ การ การ การ

- -- - 30 -2

ประเด็นยุทธศำสตร์ท่ี 3 เพ่ิมควำมสำมำรถในกำรแข่งขันภำคกำรเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
จานวนงาน/โครงการท่ีได้รับอนุมัติ 31 โครงการ งบประมาณทั้งส้ิน 17,958,234.71 บาท จาก 1 แหล่งงบประมาณ
เบิกจ่ายงบประมาณแล้ว 17,957,956.09 บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.998 แบ่งเปน็

งบจงั หวดั - บาท งบปกติ 17,958,234.71 บาท งบอ่ืนๆ - บาท

- โครงการ เบิกจา่ ย ร้อย 31 โครงการ เบิกจ่าย ร้อย - โครงการ เบกิ จ่าย รอ้ ย

ละ ละ ละ

ยงั ไม่ กาลงั แลว้ - - กาลงั แลว้ 17,957,956.09 99.998 ยงั ไม่ กาลงั แลว้ - -

12

ดาเนิน ดา เสรจ็ ดา เสรจ็ ดาเนิน ดา เสร็จ
โครง เนิน เนิน โครง เนิน
การ การ การ การ การ
- 31
- -- - --

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 4 บริหำรจัดกำรทรัพยำกรกำรเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่ำงสมดุล และย่ังยืน จานวน

งาน/โครงการทไ่ี ด้รับอนุมตั ิ 38 โครงการ งบประมาณทั้งส้ิน 173,720,695.82 บาท จาก 2 แหล่งงบประมาณ เบิกจ่าย

งบประมาณแลว้ 172,615,859.83 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 99.36 แบ่งเป็น

งบจังหวดั - บาท งบปกติ 172,942,419.66 บาท งบอืน่ ๆ 778 ,276.16 บาท

- โครงการ เบิก ร้อย 33 โครงการ เบกิ จา่ ย รอ้ ยละ 5 โครงการ เบิกจา่ ย รอ้ ยละ
จ่าย ละ 171,837,593.67 99.999
ยังไม่ กาลัง แล้ว - - กาลงั แล้ว 99.36 กาลงั แล้ว 778,266.16
ดาเนิน ดา เสร็จ ดา เสร็จ ดา เสรจ็
โครง เนิน เนนิ
การ การ เนิน การ
การ -5
-- - 2 31

ประเด็นยุทธศำสตร์ท่ี 5 พัฒนำระบบบริหำรจัดกำรภำครัฐ พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ จานวนงาน/

โครงการท่ีได้รับอนุมัติ 13 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 2,821,481.00 บาท จาก 1 แหล่งงบประมาณ เบิกจ่าย

งบประมาณแลว้ 2,821,439.00 บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 99.999 แบง่ เปน็

งบจังหวัด - บาท งบปกติ 2,821,481.00 บาท งบอ่ืนๆ - บาท

- โครงการ เบิก รอ้ ย 13 โครงการ เบิกจ่าย รอ้ ย - โครงการ เบกิ ร้อย
2,821,439.00 ละ จ่าย ละ
จ่าย ละ 99.999 --

ยงั ไม่ กาลงั แลว้ - - กาลงั แล้ว ยงั ไม่ กาลงั แล้ว
ดาเนิน ดา เสรจ็
ดาเนิน ดา เสรจ็ ดา เสรจ็ โครง เนิน
การ การ -
โครง เนนิ เนนิ
--
การ การ การ

--- - 13

ผลกำรดำเนนิ งำน
1) กำรจดั ทำแผนฯ

1.1) วิสยั ทัศน์
“เปน็ องค์กรนำกำรกำหนดทศิ ทำงกำรพฒั นำกำรเกษตรและสหกรณ์ระดับจงั หวดั ”

1.2) พันธกจิ
1.2.1) บรู ณาการแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณโ์ ดยมงุ่ ผลสัมฤทธิใ์ นการพฒั นาภาคการเกษตรของ

จงั หวดั
1.2.2) สรา้ งความร่วมมอื ประสานความเชอ่ื มโยงภาคีเครือข่ายในการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์สู่

การปฏิบัตงิ านในพืน้ ท่ี
1.2.3) พัฒนาองค์กรให้เป็นศูนย์บริการและประชาสัมพันธ์สารสนเทศด้านการเกษตรและสหกรณ์

ประจาจงั หวัด

13

2.3 แผนผงั1โ.2ค.ร4ง)สพรฒั ำ้ นงอาองคงคก์ ก์ รรใ(หสม้ำกีนาักรงเรำยีนนเกรอู้ษยต่ารงแตลอ่ ะเนส่ือหงกเพร่ือณเพ์จม่ิังสหมวรดั รรถะนนะอในงก) ารปฏิบตั งิ าน
1.3) วัฒนธรรมองค์กร

“HOPE”

วัฒนธรรมองคก์ ารของสานกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึง่ สานักงานเกษตรและสหกรณ์

จังหวดั ระนอง ถอื ปฏบิ ตั แิ ละใชเ้ ปน็ คาขวัญ/คติพจน์ ของสานักงาน มรี ายละเอียดดงั นี้

H : Honesty มีคณุ ธรรม

O : Ownership รบั ผดิ ชอบรว่ มกัน

P : Prompt to change พร้อมรับการเปลีย่ นแปลง

E : Establish สร้างสรรค์

1.4) ค่ำนยิ มองค์กร

“I SMART”

I Intrigrity ซื่อสตั ย์
S Service ใส่ใจบรกิ าร
M Moral มีคณุ ธรรม
A Accountabilty รับผิดชอบ
R Relationship ร่วมมือรว่ มใจ
T Team ทางานเป็นทมี

14

15

16

2.5 แผนท่สี ำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดระนอง

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั ระนอง
ตัง้ อยศู่ ูนยร์ ำชกำรจังหวดั ระนอง ชัน้ 5 หมู่ 3 ถนนเพชรเกษม ตำบลบำงริน้
อำเภอเมอื ง จงั หวดั ระนอง โทร. 0-7780-0154 โทรสำร 0-7780-0156-7

พกิ ดั UTM Zone47N WGS 1984
X : 458914.402
Y : 1094017.306

17

2.6 กำรเบิกจำ่ ยงบประมำณประจำปีงบประมำณ 2565 สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัด

ระนอง งบประมาณทงั้ ปี งบประมาณท่ี รายการ งบประมาณที่ ยอดเงนิ
ไดร้ ับ กอ่ หนผ้ี ูก/ เบกิ จ่าย คงเหลือ(1)
แผน/งาน/โครงการ รอเบกิ /คนื

1. แผนงาน : บคุ ลากรภาครัฐ 1,215,000.00 1,215,000.00 1,215,000.00 -
1.1 งบบคุ ลากร 170,177.00 170,177.00 170,176.61 0.39
1.2 งบดาเนินงาน 142,452.00 142,452.00 142,451.61 0.39
คา่ เช่าบา้ น 25,800.00 25,800.00 25,800.00
ประกนั สังคม 1,925.00 1,925.00 1,925.00 -
กองทนุ ทดแทน
939,381.75 939,381.75 939,381.75 -
2. แผนงาน : พ้ืนฐานดา้ นการสร้าง 96,231.25 96,231.25 96,231.25 -
ความสามารถในการแขง่ ขนั 40,900.00 40,900.00 40,900.00 -
24,900.00
กจิ กรรม : การบรู ณาการงานในส่วน 24,900.00 24,900.00 -
ภมู ิภาค 16,500.00
17,976.00 16,500.00 16,500.00 -
2.1 งบดาเนนิ งาน (ตอบแทนใชส้ อย) 38,500.00 17,976.00 17,976.00 -
(คา่ สาธารณปู โภค) 38,500.00 38,500.00 -
140,600.00
2.2 งบลงทนุ 140,600.00 140,600.00 -
2.3 งบรายจ่ายอน่ื (โครงการการ 70,000.00 -
สนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ าน)
กจิ กรรม : การจัดการระบบเทคโนโลยี 31,200.00 70,000.00 70,000.00 -
สารสนเทศและการสอื่ สาร 9,000.00
2.4 งบดาเนนิ งาน (คา่ วัสดคุ อมและคา่ 31,200.00 31,200.00 -
ดแู ล บารุงเครือขา่ ย) 576,933.18 9,000.00 9,000.00 -
17,819.00
(คา่ เนต็ ) 576,933.18 576,933.18 -
2.5 งบลงทนุ 229,770.00 17,819.00 17,819.00
3. แผนงาน : ยุทธศาสตร์การเกษตรสร้าง 25,916.00 -
มูลคา่ 229,770.00 229,770.00
กจิ กรรม : ขับเคลอ่ื นเกษตรกรรมยง่ั ยืน 256,000.00 25,916.00 25,916.00 -
3.1 คา่ ใขจ้ ่ายโครงการพัฒนาศนู ย์ 4,086,981.18
เครือข่ายปราชญช์ าวบา้ น 256,000.00 256,000.00 -
4. แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทาง 4,086,981.18 4,086,980.40 -
สังคม -
กจิ กรรม : สนบั สนุนโครงการอนั -
เนอื่ งมาจากพระราชดาริ
งบรายจ่ายอนื่ -
4.1 โครงการส่งเสริมการดาเนินงานอนั
เนอื่ งมาจากพระราชฯ -
5. งบเบกิ แทนกนั -
5.1 โครงการบรู ณาการตรวจสอบควบคมุ 0.39
สินคา้ เกษตร
5.2 โครงการร้านอาหารวัตถดุ บิ ปลอดภัย
เลือกใชส้ ินคา้ Q
5.3 โครงการสง่ สเริมการบริโภคและใช้
วัตถุดบิ สนิ คา้ Q
6. เงนิ กนั งบกลาง (พนักงานราชการ
เฉพาะกจิ ) ปงี บฯ 64

6.1 คา่ ตอบแทนพนักงานราชการ
6.2 งบดาเนินงาน (ประกนั สังคม)
7. งบจังหวัด
7.1 งบมหาดไทย (โครงการเกษตร
ปลอดสารฯ)
8. เงินทนุ หมุ่นเวียนเพ่ือการกยู้ ืมแก่
เกษตรกรและผยู้ ากจน
9. งบประมาณของ กปร.

รวม

18

สว่ นที่ 3 สรุปผลกำรดำเนินงำนปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

กลุ่มโครงการบรู ณาการตามนโยบายของรฐั บาล-นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

โครงกำรรำ้ นอำหำรวตั ถุดบิ ปลอดภยั เลือกใช้สินคำ้ Q (Q Restaurant) จังหวัดระนอง
ประจำปงี บประมำณ 2565

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ผลักดันให้มีการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารท่ีได้มาตรฐานความปลอดภัย
ผบู้ รโิ ภค โดยสง่ เสริมการผลิตต้งั แตฟ่ ารม์ ใหม้ ีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตามระบบการผลิตเกษตรท่ีดีและเหมาะสมหรือ
เป็นท่ีรู้จักกันในชื่อ GAP ซ่ึงจะมีการใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง เหมาะสม และจากัดตามหลักวิชาการ และมาตรฐาน
หลกั เกณฑ์วธิ กี ารทีด่ ีสาหรับการผลิต (GMP) โดยมีการให้สัญลักษณ์ Q เพ่ือรับรองมาตรฐาน ซ่ึงจะทาให้สามารถส่ือสาร
กับผู้บริโภคในการเลอื กใช้สินคา้ ได้อยา่ งถกู ต้องและปลอดภัย และเพื่อเพมิ่ ชอ่ งทางจาหน่ายให้กับสินค้าที่มีความปลอดภัย
ซงึ่ นอกจากร้านอาหารจะนาวตั ถุดบิ ที่ปลอดภัยไปสผู่ ูบ้ ริโภคแล้ว “ร้านอาหารจะเป็น Outlet ให้กับผู้ผลิตหรือเกษตรกร”
รวมทั้งสร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรผลิตสินค้าท่ีมีความปลอดภัยเพ่ิมมากข้ึน ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมและผลักดันการนา
มาตรฐานสู่การปฏิบัติตลอดห่วงโซ่อาหาร และสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ 20 ปีของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 เพิ่มประสิทธิภาพการผลติ และยกระดบั มาตรฐานสินคา้ เกษตร

สาหรับปีท่ีผ่านมามีการตรวจประเมินร้านอาหารและได้รับการรับรองโดยการให้สัญลักษณ์ Q ไปแล้วจานวน
34 ร้าน ซึ่งจังหวัดระนองโดยสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ได้ดาเนินการมอบป้าย Q นอกจากเพิ่มมาตรฐาน
ให้ร้านอาหารแล้ว ยังเป็นการเพ่ิมช่องทางจาหน่ายสินค้า Q เพ่ือเป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหารภายในร้านและเพ่ือให้
ผู้บริโภคจานวนมากท่ีอาจไม่ม่ันใจว่าร้านอาหารท่ีมีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จักว่ามีรสชาติอร่อยนั้น มีร้านใดบ้างที่ใช้วัตถุดิบที่ได้
มาตรฐานปลอดภัยต่อผู้บริโภค ทั้งน้ี ได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนร้านอาหาร Q Restaurant ท่ีมีคุณสมบัติตาม
หลักเกณฑ์เข้าร่วมโครงการยกระดับร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้สินค้า Q (Q Restaurant Premium) เพื่อ
ยกระดบั มาตรฐานร้านอาหารท่มี ศี กั ยภาพสูง ใหเ้ ปน็ กลุ่มรา้ นอาหารระดับ Premium

สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง จึงได้จัดทาโครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้า Q
เพื่อส่งเสริมการผลิตให้มีความปลอดภัยต้ังแต่ต้นน้าถึงปลายน้า โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสานักงานมาตรฐาน
สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เป็นเงิน 31,200 บาท (สามหมื่นหน่ึงพันสองร้อยบาทถ้วน) ซ่ึงสรุปผลการ
ดาเนินงานโครงการร้านอาหารวตั ถดุ ิบปลอดภัยเลอื กใชส้ ินคา้ Q (Q Restaurant) ประจาปีงบประมาณ 2565 ดังน้ี

1.ทบทวนคำส่ังคณะกรรมกำรโครงกำรร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้สินค้ำ Q (Q Restaurant)
และโครงกำรส่งเสริมกำรบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้ำ Q ให้เป็นปัจจุบัน ตำมคำสั่งจังหวัดระนองท่ี 2963/2564
ลงวนั ที่ 2 ธันวำคม 2564
2.ประชำสมั พนั ธโ์ ครงกำรรำ้ นอำหำรวัตถุดิบปลอดภยั เลือกใชส้ นิ ค้ำ Q (Q Restaurant)

2.1 ประชาสัมพันธ์ผ่านเวปไซต์ ของสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง Facebook สานักงานเกษตร
และสหกรณ์จังหวัดระนอง และประชาสมั พนั ธ์ ผ่านเพจ ชื่อ “Ranong' safe food”

19

2.2 จัดทาการ์ดสเปรย์แอลกอฮอล์พร้อมออกแบบสติ๊กเกอร์ติดด้านหน้าและด้านหลังของชิ้นงาน ขนาด
20 ml จานวน 625 ชิ้น และจัดทากรอบรูปสาหรับใส่ป้ายรับรองร้านอาหารวตั ถดุ ิบปลอดภัย เลือกใชส้ นิ ค้า Q ขนาดกว้าง
21 เซนตเิ มตร x ยาว 29.50 เซนตเิ มตร จานวน 11 กรอบ เพ่อื ประชาสัมพันธโ์ ครงการ

2.3 ประชาสัมพนั ธ์ผ่าน Q Restaurant Application
2.4 รณรงค์และประชาสมั พันธ์

2.4.1) โครงการคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี
2.4.1.1) เจ้าหน้าท่ีสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง ออกหน่วยให้บริการโครงการ

คลินิกเกษตรเคล่ือนที่ฯ บูรณาการร่วมกับงานวันดินโลก เพ่ือประชาสัมพันธ์โครงการอาหารปลอดภัย และการจัด
นิทรรศการเศรษฐกจิ พอเพียง การขับเคลื่อนอาหารปลอดภัยจังหวัดระนอง Ranong’s safe food แจกของรางวัล อาทิ
เมล็ดพันธุ์ผัก หมวก ผ้ากันเป้ือน พวงกุญแจ ให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยมีนายบุญชัย สมใจ ปลัดจังหวัดระนอง เป็น
ประธานในพิธีเปิด ณ สถานีพัฒนาที่ดินระนอง ตาบลราชกรูด อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง เม่ือวันที่ 23 ธันวาคม
2564

2.4.1.2) เจา้ หน้าที่สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมออกหน่วยให้บริการโครงการ
คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไตรมาส 3 ซ่ึงสานักงาน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนองได้ร่วมออกหน่วยให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัยจังหวัดระนอง Ranong’s safe

20
food พร้อมตัวอยา่ งสนิ คา้ Q แจกส่ือประชาสัมพันธ์ (สเปรย์แอลกอฮอล์แบบการ์ด, ผ้ากันเป้ือน รักชีวิต คิดถึงสินค้า Q)
แจกคู่มือมาตรฐานสินค้าเกษตร/เกษตรอินทรีย์ แจกเมล็ดพันธุ์ผักให้กับผู้เข้าร่วมงาน ณ ศาลาเอนกประสงค์องค์การ
บริหารส่วน ตาบลบางพระเหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลบางพระเหนือ อาเภอละอุ่น จังหวัดระนอง โดยมีนายปิยพงศ์ ชูวงศ์
รองผวู้ ่าราชการจงั หวดั ระนองเปน็ ประธานในพธิ ีเปดิ เมอื่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2565

2.4.1.3) เจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมออกหน่วยบริการโครงการ
คลินกิ เกษตรเคล่อื นทใ่ี นพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมารเฉลิมพระเกียรติ เนื่องใน
วโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 70 พรรษา วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 ณ ศาลาอเนกประสงค์องค์การบริหารส่วนตาบล
ลาเลียง ตาบลลาเลียง อาเภอกระบุรี จังหวัดระนอง โดยมีนายสมเกียรติ ศรีษะเนตร ผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง
เปน็ ประธาน โดยในสว่ นของสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง ให้บริการความรู้เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง การรับ
เรื่องราวร้องทุกข์ร้องเรียนของเกษตรกร ประชาสัมพันธ์กองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน
ประชาสัมพันธ์มาตรฐานสินค้า Q และQ Restaurant พร้อมทั้งเป็นหน่วยประเมินผลการจัดงานคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี
ในพระราชานเุ คราะห์ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เม่ือวันที่ 4 สิงหาคม 2565

2.4.2) รว่ มจัดนิทรรศการและประชาสัมพนั ธ์สนิ ค้า Q ในงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพ่ือเร่ิมต้นฤดูกาลผลิต
ใหม่ (Field Day) ประจาปี 2565 จานวน 2 ครัง้ 2 อาเภอ ในพ้นื ที่จังหวัดระนอง

2.4.2.1) เจ้าหนา้ ท่ีสานักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั ระนอง รว่ มงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อ
เริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ประจาปี 2565 และร่วมจัดนิทรรศการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัยจังหวัดระนอง
Ranong’s safe food พร้อมตัวอยา่ งสนิ คา้ Q แจกส่ือประชาสมั พนั ธ์ (สเปรยแ์ อลกอฮอล์แบบการ์ด, ผ้ากันเป้ือน รักชีวิต
คดิ ถึงสนิ ค้า Q) แจกค่มู ือมาตรฐานสินค้าเกษตร/เกษตรอนิ ทรีย์ แจกเมล็ดพันธุ์ผักให้กับผู้เข้าร่วมงาน โดยมีนายสมเกียรติ

21
ศรีษะเนตร ผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง เป็นประธานในพิธีฯ ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
(ปาลม์ น้ามนั ) หมู่ท่ี 10 บา้ นคอกชา้ ง ตาบลกะเปอร์ อาเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง เมอ่ื วนั ที่ 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

2.4.2.2) เจ้าหน้าที่สานกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั ระนอง เขา้ รว่ มเปน็ เกยี รตใิ นพิธเี ปดิ งานวนั
ถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ประจาปี 2565 และร่วมจัดนิทรรศการขับเคลื่อน อาหาร
ปลอดภัยจังหวัดระนอง Ranong’s safe food พร้อมตัวอย่างสินค้า Q แจกส่ือประชาสัมพันธ์ (สเปรย์แอลกอฮอล์แบบ
การ์ด, ผ้ากันเป้ือน รักชีวิต คิดถึงสินค้า Q) แจกคู่มือมาตรฐานสินค้าเกษตร/เกษตรอินทรีย์ แจกเมล็ดพันธุ์ผักให้กับ
ผ้เู ขา้ รว่ มงาน โดยมนี ายบญุ เลิศ เนตรข์ า นายอาเภอกระบรุ ี เปน็ ประธานในพิธฯี ณ ศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการ
ผลติ สนิ ค้าเกษตรอาเภอกระบุรี หม่ทู ่ี 9 ตาบลลาเลียง อาเภอกระบุรี จงั หวัดระนอง เมอื่ วนั ท่ี 17 มีนาคม 2565

3. กำรตรวจติดตำมร้ำนเดิม ปีละ 1 คร้ัง โดยเจ้ำหน้ำที่ของสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนองร่วมกับ
เจ้ำหน้ำท่ีของสำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดระนอง รวมทั้งแนะนาให้ร้านจัดหาวัตถุดิบสินค้า Q เพ่ิมมากขึ้น จานวน
23 ร้าน ออกจากโครงการ เน่ืองจากไม่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ 1 ร้าน และปิดกิจการ 1 ร้าน คงเหลือ 21 ร้าน
ดาเนินการตรวจติดตาม เม่ือวนั ท่ี 9-10 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 ดงั น้ี

1) อาเภอเมืองระนอง จานวน 18 รา้ น ไดแ้ ก่ รา้ นบังกีโรตีอาหรบั ร้านระนองเบเกอรี่ ร้านครัวเจริญ ร้านครัวกิน
งา่ ย ร้านตากนั 168 ร้าน 168 Cafe Ranong รา้ นบารอก เลอคาเฟ่ รา้ นตนิ คาเฟ่ รา้ นชลิ ล์ ชลิ ล์ ร้านเจ แอนด์ ที รา้ นเฮ
อริเทจ แกรนด์ คอนเวนชั่น ร้านสมบูรณ์ โภชนา ร้านคุ้นล้ิน ร้านปากน้าซีฟู้ด ร้านพีทีคิทเช่น (ครัว ป.ต.ท.) ร้านจ่าจ้า
คอฟฟ่ี ร้านฟาร์มเฮ้าส์ ร้านครัวแมงโก้ และร้านอาหารออกจากโครงการ จานวน 2 ร้าน ได้แก่ ร้านไก่ย่างจิราพันธุ์
เน่ืองจากไมป่ ระสงค์เขา้ ร่วมโครงการ และห้องอาหารพรรณภี รณ์ เนอ่ื งจากปิดกจิ การ

22

4. กำรตรวจรับรองร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้สินค้ำ Q โดยคณะกรรมกำรตรวจประเมินตำมเกณฑ์
กำรตรวจรับรอง (Checklist) ร้ำนเดิม ประเภทต่ออำยุกำรรับรอง มีระยะเวลำรับรอง 3 ปี (8 มิถุนำยน
2562-6 มิถุนำยน 2565) จำนวน 10 ร้ำน ไม่ประสงค์เข้ำร่วมโครงกำร 1 ร้ำน (ร้ำนเจ้แอ้บำงแกะ
อำเภอละอ่นุ ) คงเหลอื 9 ร้ำน ดำเนินกำรตรวจประเมนิ เม่อื วนั ที่ 7-8, 11 เมษำยน 2565 ดังนี้

23
5. กำรตรวจรับรองร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้สินค้ำ Q โดยคณะกรรมกำรตรวจประเมินตำมเกณฑ์

กำรตรวจรับรอง (Checklist) ประเภทสมัครใหม่ ปี 2565 จำนวน 2 ร้ำน ได้แก่ ร้ำนMountain
Cafe’ranong (น้ำใส เขำสวย รีสอร์ทระนอง) อำเภอเมืองระนอง และร้ำนสวนลุงวร ระนอง แกลมป้ิง
อำเภอกะเปอร์ จงั หวัดระนอง ดำเนินกำรตรวจประเมินเมือ่ วนั ท่ี 14 มนี ำคม 2565

6. กำรตรวจประเมินร้ำนอำหำร Q Restaurant เพ่ือเข้ำร่วมโครงกำรร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้สินค้ำ Q
Restaurant Premium ประจำปีงบประมำณ 2565
นายธราพงษ์ มีมุสิทธ์ิ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง มอบหมายให้นางสาวจีรวรรณ เกลี้ยงประดับ

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ นางสาวศุภลักษณ์ เสถียรวุฒิกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
และนางสาวศิริมา พัฒนพันธ์ เจ้าหน้าท่ีวิเคราะห์นโยบายและแผน ร่วมกับนางสาวพจนา เหลือโกศล ผู้อานวยการกลุ่ม
โครงการพิเศษ กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร มกอช. พร้อมด้วยทีมเจ้าหน้าท่ีมกอช. ตรวจรับรองร้าน Q
Restaurant เพ่ือยกระดบั เป็นร้าน Q Restaurant Premium จานวน 3 ร้าน ได้แก่ 1) ร้านฟาร์มเฮ้าส์ ตาบลเขานิเวศน์
2) ร้านครัวแมงโก้ ตาบลบางนอน และ 3) ร้านจ่าจ้าคอฟฟี่ ตาบลบางริ้น อาเภอเมือง จังหวัดระ นอง เมื่อวันที่
28 กมุ ภาพันธ์ 2565

ร้านฟาร์มเฮา้ ส์ อาเภอเมอื งระนอง

ร้านครัวแมงโก้ อาเภอเมอื งระนอง

24

รา้ นจ่าจ้าคอฟฟี่ อาเภอเมอื งระนอง
7. กำรประชมุ คณะกรรมกำรประเมินผลกำรตรวจรับรอง ภำยใต้โครงกำรร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้สินค้ำ

Q (Q Restaurant) และโครงกำรส่งเสริมกำรบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้ำ Q คร้ังที่ 1/2565 จังหวัดระนอง
ประจำปีงบประมำณ 2565 โดยมีนำยธรำพงษ์ มีมุสิทธิ์ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง เป็นประธำนกำร
ประชุม เม่ือวันท่ี 9 พฤษภำคม 2564 เวลำ 09.30 น. ณ ห้องประชุมภูเขำหญ้ำ ช้ัน 5 สำนักงำนเกษตรและ
สหกรณจ์ ังหวดั ระนอง ศำลำกลำงจงั หวัดระนอง

8. มอบปำ้ ยรับรองรำ้ นอำหำรวตั ถุดิบปลอดภยั เลอื กใช้สนิ ค้ำ Q ประจำปีงบประมำณ 2565
นายพงษพ์ ันธ์ุ นวลศรี หัวหน้ากลุ่มสารสนเทศการเกษตร รักษาราชการแทนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง

ในฐานะประธานคณะกรรมการประเมินผลการตรวจรับรองโครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้า
Q (Q Restaurant) และโครงการส่งเสริมการบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้า Q จังหวัดระนอง ได้นาผู้ประกอบการ
ร้านอาหารที่สมัครเข้าร่วมโครงการฯ ประจาปีงบประมาณ 2565 จานวน 2 ร้าน ได้แก่ ร้าน Mountain Cafe’ranong
(นา้ ใส เขาสวย รสี อรท์ ระนอง) อาเภอเมือง และร้านสวนลุงวร ระนอง แกลมปิ้ง อาเภอกะเปอร์ เข้ารับมอบป้ายรับรอง
จากผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง (นายสมเกียรติ ศรีษะเนตร) ก่อนวาระ การประชุมคณะกรมการจังหวัด หัวหน้าส่วน

25
ราชการฯ ครั้งท่ี 7/2565 เม่ือวันที่ 26 กรกฎาคม 2565 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุมรัตนรังสรรค์ ศาลากลางจังหวัด
ระนอง ชน้ั 5

9. กำรเข้ำร่วมสังเกตกำรณ์และอำนวยควำมสะดวกในกำรถ่ำยทำผลิตสำรคดีประชำสัมพันธ์ร้ำนอำหำรวัตถุดิบ
ปลอดภัย เลือกใช้สินค้ำ Q Restaurant Premium ซ่ึงเป็นร้ำนอำหำรในโครงกำร “ร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัย
เลอื กใชส้ ินค้ำ Q (Q Restaurant)” ประจำปงี บประมำณ 2565

นายธราพงษ์ มีมุสิทธิ์ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง มอบหมายให้นางสาวจีรวรรณ เกลี้ยงประดับ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ และนางสาวศริ ิมา พฒั นพนั ธ์ เจ้าหนา้ ทว่ี เิ คราะห์นโยบายและแผน ร่วมกับทีม
เจ้าหน้าที่ มกอช. อานวยความสะดวกและร่วมสังเกตการณ์ในการถ่ายทาผลิตสารคดีโปรโมทประชาสัมพันธ์ร้านอาหาร
วัตถุดบิ ปลอดภยั เลือกใช้สินค้า Q (Q Restaurant) ผ่าน “รายการเรือ่ งจริง Night Life” และ “รายการเร่อื งจริงผ่านจอ”
ทางสถานโี ทรทัศน์ ชอ่ ง 7 HD และสื่อออนไลน์ (Youtube, Facebook) จานวน 2 ร้าน ได้แก่ ร้านฟาร์มเฮ้าส์ และร้าน
ครัวแมงโก้ อาเภอเมือง จังหวดั ระนอง ซึ่งเป็นรา้ นอาหารทีเ่ ข้าร่วมโครงการยกระดับร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้
สินค้า Q (Q Restaurant Premium) เพ่ือประชาสัมพนั ธ์การใช้วัตถุดิบปลอดภยั ในรา้ นอาหาร Q Restaurant และสรา้ ง
ความน่าเช่ือถือให้กับผู้บริโภคและช่วยเหลือเกษตรกรยกระดับสินค้าเกษตรโดยนาส่งวัตถุดิบปลอดภัยให้แก่ร้านอาหาร
รวมทั้งเป็นการสง่ เสริมและผลักดันการนามาตรฐานสูก่ ารปฏิบตั ิตลอดหว่ งโซ่อาหาร และสอดรบั กับแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เมื่อวันที่ 18 สงิ หาคม 2565

26

ตารางออกอากาศ สกู๊ป Q RESTAURANT รายการเรือ่ งจริง NIGHTLIFE และ รายการเร่ืองจริงผา่ นจอ
ตอนที่ 2 ร้านฟาร์มเฮ้าส์ ออกอากาศวันที่ 17 กันยายน 2565 (เรอ่ื งจรงิ NIGHTLIFE)
https://youtu.be/ek890gc2zyM
ตอนที่ 2 รา้ นฟาร์มเฮา้ ส์ ออกอากาศวนั ท่ี 18 กนั ยายน 2565 (เรื่องจรงิ ผ่านจอ RE-EDIT)
https://youtu.be/mCRIFwlWx8I
ตอนที่ 3 ร้านแมงโก้ ออกอากาศวนั ที่ 24 กนั ยายน 2565 (เรือ่ งจริง NIGHTLIFE)
https://youtu.be/1TNNtFQDvvA
ต อ น ท่ี 3 ร้ า น แ ม ง โ ก้ อ อ ก อ า ก า ศ วั น ท่ี 25 กั น ย า ย น 2565..(เ ร่ื อ ง จ ริ ง ผ่ า น จ อ RE-EDIT)
https://youtu.be/Tgn4UEBawAU

10. กำรเข้ำรว่ มพิธีมอบรำงวัลประกำศเกียรติคณุ ประจำปี พ.ศ. 2565 ในงำนวันคล้ำยวันสถำปนำ มกอช. ครบรอบ
20 ปี

นายธราพงษ์ มีมุสิทธ์ิ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง มอบหมายให้นางสาวจีรวรรณ เกลี้ยงประดับ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เข้าร่วมพิธีมอบรางวัลประกาศเกียรติคุณ ประจาปี พ.ศ. 2565
ในงานวันคล้ายวันสถาปนา มกอช. ครบรอบ 20 ปี พร้อมท้ังเข้ารับโล่ประกาศเกียรติคุณ สานักงานเกษตรและสหกรณ์
จังหวัดดีเด่น และนาผู้ประกอบการร้านอาหาร Q Restaurant ที่ได้รับการยกระดับเป็นร้าน Q Restaurant ระดับ
Premium ของจงั หวดั ระนอง เข้ารบั ใบประกาศเกียรตคิ ณุ จานวน 3 ร้าน คือ รา้ นฟาร์มเฮ้าส์ รา้ นครัวแมงโก้ และร้านจ่า
จา้ คอฟฟ่ี โดยมีนายพศิ าล พงศาพชิ ณ์ เลขาธิการสานกั งานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ เป็นประธานในพิธี
ณ ห้องประชมุ 511 อาคาร 5 สานักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ เม่ือวนั ที่ 7 ตุลาคม 2565

27

โครงกำรสง่ เสรมิ กำรบริโภคและใช้วัตถดุ บิ สินคำ้ Q
จงั หวัดระนอง ปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

สรุปผลกำรดำเนนิ งำนโครงกำรสง่ เสริมกำรบริโภคและใช้วตั ถุดบิ สนิ ค้ำ Qจงั หวดั ระนอง ปงี บประมำณ พ.ศ.
2565 พรอ้ มภำพประกอบ

1. คาส่ังคณะกรรมการโครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้า Q (Q Restaurant) และโครงการ
ส่งเสริมการบรโิ ภคและใชว้ ัตถดุ บิ สนิ ค้า Q
2. ประชำสัมพันธ์โครงกำรฯ

2.1 ประชาสัมพันธผ์ า่ นวทิ ยุ จดหมายขา่ ว เวปไซต์ และ Facebook ของสานักงานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั
- จดหมายข่าว
- ประชาสมั พันธ์ ผา่ นเพจ ชื่อ “Ranong' safe food”
- ประชาสัมพันธ์ ผา่ น Facebook ชอ่ื “Ranong's safe food”
- ประชาสัมพนั ธ์ ผ่าน Facebook ของสานกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดระนอง

2.2 จดั ทาสื่อเพ่อื ประชาสัมพันธ์โครงการสง่ เสริมการบริโภคและใช้วัตถุดบิ สนิ คา้ Q
- แผ่นพบั ประชาสมั พันธ์
- ปา้ ยประชาสัมพนั ธ์

2.3 รณรงค์และประชาสัมพันธ์

กจิ กรรมวนั ดนิ โลกร่วมกบั คลนิ ิกเกษตรฯ

- วันท่ี 23 ธันวาคม 2564 เวลา 08.30น. นางโรจนภรณ์ บุญศิริ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่
สานกั งานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั ระนอง ออกหน่วยใหบ้ ริการโครงการคลินกิ เกษตรเคลอ่ื นที่ฯ บูรณาการร่วมกับงานวัน
ดินโลก เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการอาหารปลอดภัย และการจัดนิทรรศการเศรษฐกิจพอเพียง การขับเคล่ือนอาหาร
ปลอดภยั จงั หวดั ระนอง Ranong’s safe food แจกของรางวัล อาทิ เมล็ดพันธ์ุผัก หมวก ผ้ากันเปื้อน พวงกุญแจ ให้แก่
ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม โดยมีนายบุญชัย สมใจ ปลัดจังหวัดระนอง เป็นประธานในพิธีเปิด ณ สถานีพัฒนาท่ีดินระนอง ตาบล
ราชกรดู อาเภอเมอื งระนอง จงั หวัดระนอง

28

กจิ กรรมวนั คลนิ ิกเกษตรเคลอ่ื นที่ฯ

- วันท่ี 25 พฤษภาคม 2565 เวลา 09.30 น. นายธราพงษ์ มีมุสิทธิ์ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมเจ้าหน้าที่
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั ระนอง ร่วมออกหนว่ ยให้บริการโครงการคลินิกเกษตรเคล่ือนที่ในพระราชานุเคราะห์
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไตรมาส 3 ซึ่งสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนองได้ร่วมออก
หน่วยให้ความรู้เก่ียวกับอาหารปลอดภัยจังหวัดระนอง Ranong’s safe food พร้อมตัวอย่างสินค้า Q แจกสื่อ
ประชาสัมพันธ์ (สเปรย์แอลกอฮอล์แบบการ์ด, ผ้ากันเปื้อน รักชีวิต คิดถึงสินค้า Q) แจกคู่มือมาตรฐานสินค้าเกษตร/
เกษตรอนิ ทรีย์ แจกเมลด็ พันธุ์ผกั ใหก้ บั ผู้เข้ารว่ มงาน ณ ศาลาเอนกประสงคอ์ งค์การบริหารสว่ น ตาบลบางพระเหนือ หมู่ท่ี
2 ตาบลบางพระเหนอื อาเภอละอุ่น จงั หวดั ระนอง โดยมีนายปยิ พงศ์ ชูวงศ์ รองผูว้ า่ ราชการจังหวดั ระนองเป็นประธานใน
พธิ ีเปิด โดยมีเกษตรกรลงทะเบียนเข้าร่วมกจิ กรรม จานวน 310 ราย

- วันที่ 4 สิงหาคม 2565 นายธราพงษ์ มีมุสิทธ์ิ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สานักงานเกษตร
และสหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมออกหน่วยบริการโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรม
โอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 70 พรรษา วันท่ี 28
กรกฎาคม 2565 ณ ศาลาอเนกประสงค์องค์การบริหารส่วนตาบลลาเลียง ตาบลลาเลียง อาเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
โดยมนี ายสมเกียรติ ศรีษะเนตร ผูว้ า่ ราชการจงั หวัดระนอง เป็นประธาน ซ่ึงกิจกรรมภายในงานประกอบด้วย การลงนาม
ถวายพระพรชยั มงคล การจดั แสดงนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การให้บริการคลินิกเกษตร
ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นท่ี และการจัดแสดงพร้อมท้ัง
จาหน่ายผลิตทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน Young Smart Farmer ในส่วนของ
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง ต้ังหน่วยให้บริการความรู้เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง การรับเรื่องราวร้องทุกข์
ร้องเรยี นของเกษตรกร ประชาสัมพันธ์กองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน ประชาสัมพันธ์มาตรฐาน
สินค้า Q และ Q Restaurant พร้อมทั้งเป็นหน่วยประเมินผลการจัดงานคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ีในพระราชานุเคราะห์
สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช ฯ สยามมกุฎราชกมุ าร

29

กจิ กรรมวนั ถ่ายทอดเทคโนโลยเี พอื่ เร่ิมต้นฤดูกาลผลติ ใหม่ (Field
- เมื่อวันท่ี 24 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 08.30 น. นาDยธaราyพง)ษ์ มีมุสิทธิ์ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมด้วย

เจา้ หนา้ ที่ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ร่วมงานวนั ถา่ ยทอดเทคโนโลยีเพ่ือเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ประจาปี 2565 และร่วมจัด
นิทรรศการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัยจังหวัดระนอง Ranong’s safe food พร้อมตัวอย่างสินค้า Q แจกส่ือ
ประชาสัมพันธ์ (สเปรย์แอลกอฮอล์แบบการ์ด, ผ้ากันเป้ือน รักชีวิต คิดถึงสินค้า Q) แจกคู่มือมาตรฐานสินค้าเกษตร/
เกษตรอินทรีย์ แจกเมล็ดพันธ์ุผักให้กับผู้เข้าร่วมงาน โดยมีนายสมเกียรติ ศรีษะเนตร ผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง เป็น
ประธานในพิธีฯ ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ปาล์มน้ามัน) หมู่ท่ี 10 บ้านคอกช้าง ตาบล
กะเปอร์ อาเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง

- วันท่ี 17 มีนาคม 2565 เวลา 09.30 น. นายธราพงษ์ มมี ุสทิ ธ์ิ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ท่ี
เก่ยี วข้อง เข้ารว่ มเปน็ เกยี รติในพธิ ีเปดิ งานวันถา่ ยทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ประจาปี 2565
และร่วมจัดนิทรรศการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยจังหวัดระนอง Ranong’s safe food พร้อมตัวอย่างสินค้า Q แจกสื่อ
ประชาสัมพันธ์ (สเปรย์แอลกอฮอล์แบบการ์ด, ผ้ากันเป้ือน รักชีวิต คิดถึงสินค้า Q) แจกคู่มือมาตรฐานสินค้าเกษตร/
เกษตรอินทรยี ์ แจกเมล็ดพันธุผ์ ักใหก้ บั ผูเ้ ขา้ ร่วมงาน โดยมีนายบุญเลิศ เนตรข์ า นายอาเภอกระบุรี เปน็ ประธานในพิธีฯ ณ
ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตสนิ คา้ เกษตรอาเภอกระบุรี หมทู่ ี่ 9 ตาบลลาเลยี ง อาเภอกระบุรี จังหวดั ระนอ

3. สรุปผลกำรตรวจประเมินติดตำม/รับรองสถำนทจี่ ำหน่ำยสินค้ำ Q (แผงรำ้ นคำ้ /รำ้ นค้ำหน้ำฟำร์ม) ภำยใตโ้ ครงกำร
สง่ เสรมิ กำรบรโิ ภคและเลือกใชว้ ตั ถดุ บิ สินคำ้ Q ปงี บประมำณ 2565

3.1 สถานท่ีจาหน่ายสินค้า Q (แผง/ร้านค้า และร้านค้าหน้าฟาร์ม) ที่สมัครเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการบริโภค
และใช้วัตถุดิบสินค้า Q ต้ังแต่ปี พ.ศ.2556-2565 มีจานวน 22 แผง/ร้านค้า (7 ตลาดสด) และนอกตลาด 2 ร้าน และ
ร้านค้าหน้าฟารม์ 14 แห่ง ดังน้ี

30

3.2 การตรวจติดตามประเมนิ สถานท่จี าหนา่ ยสินค้า Q ประจาปงี บประมาณ 2565 ดังน้ี

3.2.1 การตรวจติดตามแผง/ร้านค้าในตลาดสด (ระยะเวลารับรอง 3 ปี และตรวจติดตามปีละ 1 ครั้ง)

จานวน 14 แผง/รา้ นคา้ (6 ตลาดสด) และนอกตลาด 1 รา้ น ดงั น้ี

ที่ แผง/รำ้ นคำ้ ในตลำดสด ตลำดสด/ที่ตง้ั รำ้ น สนิ คำ้ Q (ชนดิ )

สิ น ค้ ำ เพม่ิ /ลด รวม

เดิม

1 แผงนางสาวเพ็ญจนั ทร์ คนึงดี ตลาดสดระนองธานี 7 เพิ่ม 3 10

2 แผงนายสมใจ สงิ ห์สวุ รรณ ตลาดเทศบาลตาบลกะเปอร์ 4 - 4

3 แผงนางวะดี พลู ผล ตลาดเทศบาลตาบลกะเปอร์ 2 - 2

4 นางสุดา วงษ์สงา่ งาม (แผงบังดนี ) ตลาดสดทรัพยเ์ พ่ิมพูน 6 ลด 1 5

5 แผงนางอาไพ ถนอมนวล ตลาด บ.ข.ส. กระบุรี 2 - 2

6 แผงนางณชิ า พรมตนั ตลาด บ.ข.ส. กระบุรี 1 - 1

7 แผงนางสมพร ดารง ตลาด บ.ข.ส. กระบรุ ี 2 - 2

8 แผงนายสมพล กุลมะลวิ ัลย์ ตลาด บ.ข.ส. กระบุรี 4 - 4

9 แผงนางสาวจรี วรรณ ชุมแสง ตลาดเทศบาลตาบลหงาว 5 ลด 3 2

10 ร้านน.ส.ศริ ลิ ักษณ์ จิรนลิ ตลาดภคั ดี สริ ิ 5 ลด 1 4

11 แผงนางประภา ไชยสิทธ์ิ ตลาดภคั ดี สริ ิ 3- 3

12 แผงนางสาวดวงกมล ชูศกั ดิ์ ตลาดภัคดี สริ ิ 4- 4

13 นายณัฐพัชร์ ธุวธติ อภวิ ิชญ์ (โกแบ) ตลาดภคั ดี สริ ิ 2- 2

14 แผงนางส่วิ ธนบัตร ตลาดภัคดี สิริ 4- 4

15 ร้านนายสิริธร อยุ๋ สุวรรณ 61/8 ม.5 ต.จ.ป.ร. 10 ลด 3 7

อ.กระบุรี ระนอง

3.2.2 การตรวจติดตามร้านค้าหน้าฟารม์ (ระยะเวลารบั รอง 3 ปี และตรวจตดิ ตามปลี ะ 1 ครัง้ ) จานวน 9 แห่ง ดงั นี้

ที่ ร้ำนค้ำหน้ำฟำรม์ ประเภทพืช
1 แปลงนางศริ ิลกั ษณ์ มณีวรรณ ไฮโดรโปรนกิ ส์ (GAP)
2 แปลงนายธนารัตน์ รตั นน์ ราทร กรีนโอ๊ค ผักบุ้ง เรดโอ๊ค ฟิลเลย์ไอซ์เบิร์ก บัตเตอร์เฮด เรดคอรัล
กรนี คอส (GAP)
3 แปลงนายพัทธพล จลุ แสน แตงกวา และบวบ (GAP)
4 แปลงนายประดิษฐ์ ตรีอาทติ ย์โยธนิ ไฮโดรโปรนิกส์ (GAP)
5 แปลงนายอามรินทร์ อุ๋ยสวุ รรณ มงั คุด (อินทรีย)์ และผักเหลยี ง กลว้ ย ทเุ รยี น สับปะรด (GAP)
6 แปลงนายสมปอง ปกครอง เมล่อน ไฮโดรโปรนิกส์ ข้าวโพดรับประทานฝักสด มันเทศญ่ีปุ่น
ผกั เคล มะเขือเทศ แตงโม (GAP)
7 แปลงนางวรินธร เหมเรอื งเงิน กวางตุ้ง กวางตุ้งฮ่องเต้ ผักบุ้ง ผักกาดเขียวปลี โหระพา กะเพรา

8 แปลงนายวาฤทธ์ิ คงเดิม 31
9 แปลงนายสมศักด์ิ ดนมาก
มะนาว แก้วมังกร ส้มโชกุน ลองกอง เงาะ ทุเรียน มังคุด แตงกวา
ถัว่ ฝกั ยาว มะเขอื ยาว มะเชือเปราะ กลว้ ยหอมทอง (GAP)
ผักกาดขาว ผักเคล กวางตุ้ง เรดโอ๊ค ผักกาดฮ่องเต้ ผักกาดหอม
(อนิ ทรีย)์ และเห็ดฟาง (GAP)
มังคดุ ทุเรยี น (GAP)

3.3 การตรวจประเมนิ เพื่อต่ออายุสถานทีจ่ าหนา่ ยสนิ คา้ Q ประจาปีงบประมาณ 2565 ดังนี้

3.3.1 การตรวจประเมนิ สถานท่ีจาหน่ายสนิ ค้า Q (แผง/ร้านค้าในตลาดสด) ประเภทต่ออายุ จานวน 8 แผง

ร้านค้า (5 ตลาดสด) ดงั นี้

ท่ี แผง/ร้ำนคำ้ ในตลำดสด ตลำดสด/ที่ตง้ั ร้ำน สนิ ค้ำ Q (ชนดิ )

สนิ คำ้ เดิม เพมิ่ /ลด รวม

1 แผงนางสาวอัจฉรา ชลมารค ตลาดสดระนองธานี 5 เพิ่ม 1 6

2 รา้ น นายบนั เทิง รัตนชาติ ตลาดเทศบาลตาบลกะเปอร์ 6 - 6

3 แผงนางสาวจรนิ ยา บุญประคอง ตลาดเทศบาลเมอื ง 4- 4

4 แผงนางสาวชลพี ร วิทยานันท์ ตลาดเทศบาลเมอื ง 5- 5

5 แผงอนุวทิ ย์ วงศ์กวีวิทย์ ตลาดเทศบาลตาบลหงาว 4 - 4

6 รา้ นนางไพศาล แซอ่ ๋อ ตลาดภัคดี สิริ 4- 4

7 แผงนางสาวบเี้ บย๋ี น แซอ่ อ๋ ตลาดภัคดี สริ ิ 4 เพม่ิ 1 5

8 แผงนางสาววราภรณ์ วทิ ยานนั ท์ ตลาดภัคดี สิริ 5- 5

3.3.2 การตรวจประเมินรา้ นค้าหนา้ ฟาร์ม ประเภทต่ออายุ จานวน 2 แหง่ ดังนี้

ท่ี รำ้ นค้ำหน้ำฟำร์ม ประเภทพชื

1 นายเอกวัฒน์ เยอื้ นหนวู งค์ ไฮโดรโปรนกิ ส์ (GAP)

2 นางสาวสาอาง คงหาญ ผกั เหลยี ง (GAP)

3.4 ผลการตรวจประเมนิ สถานที่จาหนา่ ยสินค้า Q ประจาปีงบประมาณ 2565 ประเภทสมัครใหม่ โดยมีร้านค้า

นอกตลาดสด จานวน 1 รา้ น และรา้ นคา้ หนา้ ฟารม์ 3 แหง่ แบ่งเป็น

3.4.1 ตรวจประเมินร้านคา้ นอกตลาดสด จานวน 1 ร้านค้า ดังน้ี

ที่ ร้ำนค้ำนอกตลำดสด ตลำดสด/ทีต่ ง้ั ร้ำน สนิ ค้ำ Q

รา้ นนางเรณู แสวงผล ม.3 สามแยกราชกรดู ต.ราชกรูด มี 5 ชนิด คือ เนื้อหมูสด,ช้ินส่วนไก่, ไข่

อ.เมอื ง จ.ระนอง ไก่ (ซีพี),เส้นหมี่อบแห้ง ตราไวไว, ซอส

หอยนางรม ตราสามแม่

3.4.2 ตรวจประเมนิ รา้ นคา้ หนา้ ฟารม์ จานวน 3 แห่ง ดังน้ี

ที่ ร้ำนค้ำหน้ำฟำร์ม ประเภทพชื

1 แปลงนายศุภกร บรู พาคุณากร ไฮโดรโปรนิกส์ (GAP)

2 แปลงนางสาวภมรรตั น์ แยม้ จรสั ไฮโดรโปรนกิ ส์ (GAP)

32
3 แปลงนางสาวจนั ทนา ตนั ตเิ วทเรืองเดช ผักชี ผักโขม ผักบุ้ง พริก ถ่ัวฝักยาว ฟักเขียว ผักกาดขาว

ผกั กาดเขยี ว กวางตงุ้ (GAP)
ภำพกิจกรรม
กำรตรวจตดิ ตำมประเมนิ สถำนทจ่ี ำหนำ่ ยสนิ ค้ำ Q
(แผง/รำ้ นค้ำในตลำดสด และนอกตลำดสด)
ประจำปงี บประมำณ 2565

1

2

3

33

4

5

6

34

7

8

9

35

10

11

12

36

13

14

15

37

 มอบปำ้ ยสถำนทจ่ี ำหนำ่ ยสนิ คำ้ Q (แผงรำ้ นคำ้ และร้ำนคำ้ หนำ้ ฟำรม์ ) ท่เี ข้ำร่วมโครงกำรปี 2565
นายนายสมเกียรติ ศรีษะเนตร ผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง มอบป้ายในการประชุมคณะกรมการจังหวัด

หัวหน้าส่วนราชการฯ ในวันที่ 26 กรกฎาคม 2565 ณ ห้องรัตนรังสรรค์ ชั้น 5 ศาลากลางจังหวัดระนอง โดยมีสถานท่ี
จาหน่ายสนิ ค้า ปี 2565 ดังน้ี

1) แผงรา้ นค้า จานวน 1 แผง 1 รา้ นคา้ คอื
- รา้ นคา้ ของนางเรณู แสวงผล อาเภอเมอื ง

2) รา้ นค้าหนา้ ฟาร์ม 3 แหง่ คอื
- ร้านคา้ หนา้ ฟาร์มของนายศภุ กร บรู พาคณุ ากร อาเภอเมือง
- รา้ นค้าหน้าฟารม์ ของนางสาวภมรรตั น์ แยม้ จรัส อาเภอเมอื ง
- ร้านค้าหนา้ ฟารม์ ของนางสาวจันทนา ตันตเิ วทเรอื งเดช อาเภอเมือง

38

กำรขับเคล่ือนเกษตรกรรมยั่งยืนในพื้นท่ีจังหวดั ระนอง

ปีงบประมาณ 2565 จังหวดั ระนอง แจ้งการกาหนดตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร. (จานวนพืน้ ท่ีการทาเกษตรกรรมย่ังยืน (ไร่)
(5 รูปแบบ : เกษตรอินทรีย์ เกษตรธรรมชาติ ไร่นาสวนผสม/เกษตรผสมผสาน วนเกษตร และเกษตรทฤษฎีใหม่)) ในการ
ประเมินสว่ นราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
โดยมอบหมายสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนองเป็นเจ้าภาพในการรวบรวมและประสานงานการจัดเก็บข้อมูล
ภายใต้ตัวชี้วัด ผา่ นคณะทางานขบั เคลอื่ นเกษตรกรรมย่ังยนื จงั หวดั ระนอง โดยกาหนดค่าเป้าหมายขั้นสูง (100) ของผลการ
ดาเนินงานเม่ือสนิ้ ปงี บประมาณ อยทู่ ่ี 407.06 ไร่ และให้รายงานการประเมินฯ จานวน 2 รอบ ดังน้ี

รอบท่ี 1 รายงานการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 6 เดือน (1 ตุลาคม 2564 – 31 มีนาคม 2565) กาหนดเป็นระดับข้ันตอนของความสาเร็จ
(Milestone) ดังนี้
ขนั้ ตอนท่ี รายละเอียดของการดาเนนิ งาน
1 ประชมุ ปรึกษาหารือการขบั เคลื่อนเกษตรกรรมยัง่ ยืนจงั หวดั ระนอง
2 แตง่ ตงั้ คณะทางานขับเคลอื่ นเกษตรกรรมยัง่ ยืนจงั หวัดระนอง

3 สารวจและจัดทาฐานขอ้ มูลเกษตรกรรมยง่ั ยนื ปี 2564

4 จดั ทาแผนปฏิบัติการขบั เคลื่อนเกษตรกรรมยง่ั ยืนจงั หวดั ระนอง ปี 2565

5 รายงานผลการขบั เคลอ่ื นเกษตรกรรมยงั่ ยืน (รอบ 6 เดอื น) ใหผ้ ้วู า่ ราชการจงั หวดั ทราบ

รอบท่ี 2 รายงานการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 12 เดือน (1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565) กาหนดเป็นค่าเป้าหมายของผลการ

ดาเนินงาน 407.06 ไร่ โดยมีผลการดาเนินงาน ดังน้ี

พน้ื ท่เี กษตรกรรมยัง่ ยนื จังหวัดระนอง ปี 2565 จานวน 1,718.25 ไร่ (จาก 7 หนว่ ยงาน) จาแนกเป็น

- พน้ื ทีเ่ กษตรอินทรยี ์ จานวน 47.64 ไร่

- พน้ื ที่เกษตรทฤษฎีใหม่ จานวน 12.16 ไร่

- พน้ื ทีเ่ กษตรผสมผสาน จานวน 268.45 ไร่

- พื้นท่ีวนเกษตร จานวน 1,390.00 ไร่

อย่างไรก็ตาม ผลการดาเนินงานดังกล่าว เป็นผลการดาเนินงานภายใต้กรอบแผนงาน/โครงการ การขับเคล่ือน

เกษตรกรรมยั่งยนื ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประกอบด้วย 16 แผนงาน/โครงการ 22 กิจกรรม จาก 10 หน่วยงาน ได้รับ

งบประมาณในภาพรวม จานวน 8,102,100 บาท และเบกิ จา่ ยแลว้ จานวน 4,722,230 บาท คิดเป็นร้อยละ 58.28 ส่งคืน

งบประมาณของสานักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดระนอง เป็นเงิน 439,000 บาท (ตัดยอดข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน

2565)

39

โครงกำรระบบส่งเสรมิ กำรเกษตรแบบแปลงใหญ่

กำรติดตำมกำรดำเนินงำนโครงกำรระบบสง่ เสริมกำรเกษตรแบบแปลงใหญ่
จังหวัดระนอง มีการดาเนินการโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

สนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่ม การบริหารจัดการร่วมกันในการดาเนินการผลิตการตลาด และเพื่อให้เกษตรกร
สามารถลดตน้ ทุนการผลิต มีผลผลิตต่อหน่วยเพ่ิมข้ึน ผลผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐาน ภายใต้การบูรณาการของหน่วยงาน
ภาครฐั และเอกชน ผลดาเนินการจากปงี บประมาณ 2559 จนถึงปีงบประมาณ 2565 จงั หวดั ระนองมีแปลงใหญ่รวมทั้งสิ้น
55 แปลง ปี 2559 จานวน 2 แปลง ปี 2560 จานวน 13 แปลง ปี 2561 จานวน 7 แปลง ปี 2562 จานวน 4
แปลง ปี 2563 จานวน 10 แปลง ปี 2564 จานวน 11 แปลง ปี 2565 จานวน 8 แปลง ในปีงบประมาณ 2565
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ร่วมบูรณาการในการดาเนินงานแปลงโครงการระบบส่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ ดงั นี้

1) ติดตาม เยี่ยมเยียนการดาเนินงานแปลงใหญ่กาแฟ หมู่ที่ 7 ตาบลลาเลียง อาเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
เมื่อวันท่ี 17 กุมภาพันธ์ 2565 แปลงใหญ่ปี 2563 รหัสแปลง 8293 มีสมาชิก 45 ราย พ้ืนท่ีเข้าร่วมโครงการ 573 ไร่

ประธานแปลงใหญ่ คือ นางสาวจินตณา จันทร์ทอง โดยทางกลุ่มฯ ได้มีการรวบรวมผลผลิตกาแฟจากสมาชิกกลุ่ม การ
ผลติ สารกาแฟ เกรดอตุ สาหกรรม และเกรดกาแฟคณุ ภาพพิเศษ เพอ่ื จาหน่าย รวมถงึ ผลิตภัณฑก์ ลุ่ม (กาแฟค่ัวบด และชา
ดอกกาแฟ) ทั้งนี้ ไดร้ บั การสนับสนุนวสั ดุอุปกรณใ์ นการแปรรปู ผลผลิตกาแฟ อาทิ อุปกรณ์ลานตากเมล็ดกาแฟ เครื่องสี
เมล็ดกาแฟแห้ง เคร่ืองค่ัว เมล็ดกาแฟ เคร่ืองคัดแยกสีเมล็ดกาแฟ เคร่ืองบดเมล็ดกาแฟ ฯลฯ จากหน่วยงานภาครัฐท่ี
เกี่ยวขอ้ ง

2) ติดตาม เยี่ยมเยียนการ ดาเนินงานแปล งใหญ่มะม่ว งหิมพานต์ ตาบลเกาะพยา ม
อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง เม่ือวันท่ี 21 เมษายน 2565 แปลงใหญ่ปี 2561 รหัสแปลง 3354 มีสมาชิก 39 ราย
พ้ืนที่เข้าร่วมโครงการ 1,121 ไร่ ประธานแปลงใหญ่ คือ ประนอม ประสพบุญ ประธานกลุ่มให้ข้อมูลเร่ืองผลผลิตในปี
2565 มปี รมิ าณทลี่ ดลงจากปีที่ผ่านมา เนอ่ื งจากสภาพภมู อิ ากาศ ฝนตกมาก สง่ ผลให้ชอ่ ดอกเนา่ สาหรบั ผลผลิตที่ได้ส่วน
ใหญ่จะจาหนา่ ยเปน็ เมลด็ ดบิ ราคาอยู่ท่ปี ระมาณ 30-35 บาท มกี ารนามาแปรรปู จาหนา่ ยในพื้นทีบ่ างสว่ น

40

3) ติดตามการดาเนินงานตามโครงการยกระดับแปลงใหญ่ด้วยเกษตรสมัยใหม่และเชื่อมโยงตลาด ประจาปี
งบประมาณ 2565 เพ่ือรับฟังปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะการดาเนินงาน รวมท้ัง การแลกเปล่ียนข้อมูล
แนวทางการแก้ปัญหาในเบื้องต้นกับเกษตรกร และเก็บข้อมูลเพ่ือการส่งต่อให้หน่วยงานร่วมขับเคล่ือน ต่อยอด และ
พัฒนา การดาเนนิ โครงการฯ ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ และมคี วามยัง่ ยนื จานวน 7 แปลง ดงั นี้

3.1) เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 ติดตามการดาเนินงานแปลงใหญ่โคเนื้อ หมู่ 2 ตาบลเช่ียวเหลียง
อาเภอกะเปอร์ จงั หวัดระนอง แปลงใหญป่ ี 2561 รหัสแปลง 4705 มีสมาชิก จานวน 31 ราย จานวนพ้ืนท่ีประมาณ 450 ไร่
ประธานแปลงใหญ่ คอื นายรชั พงษ์ บญุ เมอื ง ท้ังน้ี ไดจ้ ดทะเบียน เป็นนิติบุคคล ชื่อ บริษัทแปลงใหญ่ผู้เลี้ยงโคเน้ือกะเปอร์
จากัด ผลประกอบการจาหน่ายโคในรอบแรกไม่สามารถสร้างกาไรได้เท่าท่ีควร เน่ืองจากต้องเร่งจาหน่าย เพ่ือให้เป็นไป
ตามแผนธุรกิจท่ีจัดทาไว้ ประกอบกับทางบริษัทฯ ต้องใช้ระบบเงินทุนดังกล่าวไปหมุนเวียน เพื่อซื้อโครอบถัดไปให้กับ
สมาชิก จึงส่งผลใหผ้ ลประกอบการเลีย้ งโครอบแรกอยูใ่ นระดับเสมอทนุ

3.2) เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2565 ติดตามการดาเนินงานแปลงใหญ่มังคุด หมู่ 9 ตาบลลาเลียง อาเภอ
กระบุรี จังหวัดระนอง แปลงใหญ่ ปี 2560 รหัสแปลง 811 มีสมาชิกจานวน 53 ราย จานวนพื้นท่ีประมาณ 300 ไร่
ประธานแปลงใหญ่ คอื นายสุริยา ศิริวงษ์ ท้ังนี้ ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ช่ือห้างหุ้นส่วนจากัดแปลงใหญ่มังคุดหวาน
บ้านลาเลยี ง โดยพบปัญหา อุปสรรค ในการขาดความรู้ดา้ นการบรหิ ารจัดการด้านบญั ชี ภาษี การจัดการทางบญั ชสี าหรบั
ครุภัณฑ์รถยนตข์ อง หจก. ดาเนนิ การประสานเจ้าหน้าท่ีเพื่อขอแนวทางในการดาเนินการ โดยมีสานักงานเกษตรจังหวัด
ระนอง และสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ระนอง เข้ามาดูแลและหาแนวทางแก้ไข โดยสานักงานเกษตรจังหวัดระนอง
มกี ารประสานบริษัทพีเอซี ควอลิต้ี จากัด เข้ามาดูแลเร่ืองการจัดทาบัญชี การตรวจสอบภาษี เป็นท่ีปรึกษาด้านภาษีให้กับทุก
หจก.

41
3.3) เม่อื วันท่ี 17 มนี าคม 2565 ตดิ ตามการดาเนนิ งานแปลงใหญ่มังคุด หมู่ 5 ตาบล จ.ป.ร. อาเภอกระ
บุรี จงั หวัดระนอง แปลงใหญ่ ปี 2563 รหสั แปลง 8291 มีสมาชกิ จานวน 77 ราย จานวนพืน้ ทีป่ ระมาณ 356 ไร่ ประธาน
แปลงใหญ่ คือ นายอามรนิ ท์ อยุ๋ สุวรรณ ทง้ั นี้ ไดจ้ ดทะเบยี น เปน็ นติ บิ ุคคล ชื่อ ห้างหุ้นส่วนจากัดแปลงใหญผ่ ลไม้คุณภาพ
จ.ป.ร. โดยพบปัญหา อุปสรรค ในการขาดความรู้ ด้านภาษี การจัดการทางบัญชีสาหรับครุภัณฑ์รถยนต์ของ หจก.
โดยสานักงานเกษตรจังหวัดระนองได้ประสานรายละเอียดเรื่องการจัดทาบัญชี การเสียภาษี และข้อมูลต่าง ๆ กับทาง
หจก.และหาแนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค โดยอยู่ระหว่างประสานบริษัทพีเอซี ควอลิตี้ จากัด เข้ามาดูแล เร่ืองการ
จดั ทาบญั ชี การตรวจสอบภาษี ท่ปี รึกษาดา้ นภาษี ให้กบั ทกุ หจก.

3.4) เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2565 ติดตามการดาเนินงานแปลงใหญ่ทุเรียน หมู่ 8 ตาบลบ้านนา อาเภอ
กะเปอร์ จังหวัดระนอง แปลงใหญ่ปี 2563 รหัสแปลง 8799 มีสมาชิกจานวน 51 ราย จานวนพื้นที่ประมาณ 233 ไร่
ประธานแปลงใหญ่ คือ นายธงชัย สมบัติมาศ ท้ังน้ี ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ชื่อ หจก.ห้างหุ้นส่วนจากัดวิสาหกิจ
ชมุ ชนแปลงใหญ่ทเุ รยี น หมทู่ ่ี 8 บา้ นนา โดยพบปญั หา อปุ สรรค เรื่องแรงงาน โดยปัจจุบันใช้วิธีการหมุนเวียนแรงงานกัน
ภายในหมบู่ า้ น และไม่มกี ารรวมกลมุ่ กนั ขายผลผลิต ซง่ึ ทางเกษตรอาเภอกะเปอร์ อยู่ระหว่างประสานงานในการรวมกลุ่ม
เกษตรกรสาหรบั ขายผลผลติ รวมกัน

42
4. ตรวจเยี่ยมแปลงใหญ่ตามกิจกรรมการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับจังหวัด ประจาปี 2565 วันท่ี
17 พฤษภาคม 2565 จานวน 3 แปลง ดงั นี้

4.1) แปลงใหญ่ปาล์มน้ามัน หมู่ 7 ตาบลราชกรูด อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง แปลงใหญ่ ปี 2559
รหสั แปลง 228 มีสมาชกิ 216 ราย พืน้ ทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ 3397.79 ไร่ ประธาน แปลงใหญ่ คือ นายสรุ พันธ์ เทยี นไพร

4.2) แปลงใหญก่ าแฟ หมทู่ ่ี 7 ตาบลลาเลียง อาเภอกระบุรี จังหวัดระนอง แปลงใหญ่ ปี 2563 รหัสแปลง
8293 มีสมาชิก 45 ราย พืน้ ทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ 573 ไร่ ประธานแปลงใหญ่ คือ
นางสาวจนิ ตณา จันทร์ทอง

43
4.3) แปลงใหญ่กาแฟ หมู่ที่ 8 ตาบลบ้านนา อาเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง แปลงใหญ่ ปี 2560 รหัส
แปลง 8293 มสี มาชิก 30 ราย พ้ืนทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการ 337 ไร่ ประธานแปลงใหญ่ คอื นางอารีย์ ซว่ นเตก็

กำรประกวดแปลงใหญ่ดีเดน่ ตำมโครงกำรระบบส่งเสรมิ กำรเกษตรแบบแปลงใหญ่
กำรประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับจังหวัด วันท่ี 12 พฤษภาคม 2565 ร่วมประชุมคณะทางานคัดเลือก

ประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น ประจาปี 2565 และวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 ลงพ้ืนที่ตรวจเย่ียมแปลงใหญ่ตามกิจกรรมการ
ประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับจังหวัด ประจาปี 2565 เพ่อื คดั เลือกแปลงใหญ่ดเี ด่น ระดบั จังหวัด ท้ังน้ี คณะทางานฯ ได้มี
การคดั เลือกแปลงใหญ่ดเี ดน่ ระดบั จังหวดั จานวน 3 แปลง ดังน้ี

- รำงวัลชนะเลศิ แปลงใหญ่ปาลม์ นา้ มัน หมู่ท่ี 7 ตาบลราชกรดู อาเภอเมืองระนอง
- รำงวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 แปลงใหญ่กาแฟ หมทู่ ี่ 7 ตาบลลาเลยี ง อาเภอกระบรุ ี
- รำงวัลรองชนะเลิศอนั ดบั 2 แปลงใหญ่กาแฟ หมทู่ ี่ 8 ตาบลบา้ นนา อาเภอกะเปอร์

กำรประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดบั เขต วันที่ 30 มิถุนายน 2565 ร่วมการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับ
เขต ประจาปี 2565 ณ ที่ทาการแปลงใหญ่ปาล์มน้ามัน หมู่ 7 ตาบลราชกรูด อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง
ทั้งนี้ แปลงใหญ่ปาล์มน้ามันหมู่ 7 ตาบลราชกรูด อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ได้ผ่านการคัดเลือกในระดับเขต
รอบแรก โดยมีนายสรุ พันธ์ เทยี นไพร ประธานแปลงใหญ่ และคณะกรรมการ ร่วมกันนาเสนอผลการดาเนินกิจกรรม และ
มีหน่วยงานภาคเี ครือขา่ ยทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ซง่ึ ให้การสนบั สนนุ การดาเนนิ งานของกลมุ่ แปลงใหญ่ดังกล่าว

44

กำรประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับประเทศ วันที่ 24 สิงหาคม 2565 เข้าร่วมสนับสนุนการประกวดแปลงใหญ่
ดีเด่นระดับประเทศ ประจาปี 2565 ณ ท่ีทาการแปลงใหญ่ปาล์มน้ามัน หมู่ 7 ตาบลราชกรูด อาเภอเมืองระนอง จังหวัด
ระนอง โดยแปลงใหญ่ปาล์มน้ามัน หมู่ท่ี 7 ตาบลราชกรูด ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับเขต
ประจาปี 2565 และได้เข้าร่วมประกวดในระดับประเทศ ผ่านระบบ ZOOM CLOUD MEETINGS โดยมีนายสุรพันธ์
เทียนไพร ประธานแปลงใหญ่และคณะกรรมการฯนาเสนอผลการดาเนินงาน รวมท้ัง เจ้าหน้าที่จากสานักงานส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตรท่ี 5 จังหวัดสงขลา และหนว่ ยงานภาคีเครือข่ายรว่ มให้การสนบั สนนุ การประกวด ทั้งน้ี ผลการประกวด
แปลงใหญ่ดีเดน่ ระดบั ประเทศ ได้รบั รางวลั รองชนะเลิศอันดบั 2

45
โครงกำรพัฒนำเกษตรแมน่ ยำสู่ธรุ กิจเกษตรอตุ สำหกรรม เปำ้ หมำย 2 ลำ้ นไร่

วันท่ี 27 พฤษภาคม 2565 สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนองร่วมกับคณะเจ้าหน้าที่ จากศูนย์
ประเมินผล (ศปผ.) สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ลงพ้ืนที่ประเมินผลโครงการนาร่องพัฒนาเกษตรแม่ นยาสู่ธุรกิจ
อุตสาหกรรม 2 ล้านไร่ ปี 2564 โดยมี ดร.อนุวัฒน์ ผิวอ่อน ผู้อานวยการส่วนประเมินผล การพัฒนาด้านพืช ศูนย์
ประเมินผล สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เป็นหัวหน้าคณะ ท้ังน้ี เพ่ือรับทราบผลการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรคและ
ข้อเสนอแนะต่างๆ จากเกษตรกรสวนปาลม์ นา้ มันในพ้นื ท่ีจังหวดั ระนองในรปู แบบการสนทนากลุม่ (Focus Group) โดยมี
เกษตรกรแปลงใหญ่ปาล์มน้ามันหมู่ที่ 7 ตาบลราชกรูด อาเภอเมืองระนอง และแปลงใหญ่ปาล์มน้ามันหมู่ท่ี 10 ตาบล
กะเปอร์ อาเภอกะเปอร์ จังหวดั ระนอง เขา้ รว่ มการสนทนากลุ่ม สาหรับข้อมูลท่ีได้จากพ้ืนท่ี ศูนย์ประเมินผล สานักงาน
เศรษฐกิจการเกษตรจะนาไปสรปุ เสนอปรับปรุงโครงการในระยะตอ่ ไป

คณะอนกุ รรมกำรพฒั นำกำรเกษตรและสหกรณ์ระดบั จงั หวดั

กำรประชุมคณะอนุกรรมกำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ระดบั จังหวดั
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการ

พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด จังหวัดระนอง กาหนดแผนในการจัดประชุม จานวน 3 ครั้ง คือ เดือน
ธันวาคม 2564 เดือนมีนาคม 2565 และเดือนสิงหาคม 2565 สาหรับผลการดาเนินงานจัดประชุมคณะอนุกรรมการฯ
มีดังนี้

เดือนธันวำคม 2564 การประชุมคร้ังท่ี 4/2564 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2564 ณ ห้องประชุมโกมาซุม ช้ัน 2
ศาลากลางจังหวัดระนอง และประขุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Zoom Meeting) โดยมีนายนพสิทธ์ิ อุดมสุวรรณกุล
รองผู้ว่าราชการจังหวดั ระนอง ทาหนา้ ทีป่ ระธานการประชุม ซึ่งท่ีประชุมมีมติเห็นชอบ (ร่าง) ปฏิทินการจัดทา/ทบทวน
แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดระนอง (พ.ศ. 2566 – 2570) ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2565

46

เดือนมีนำคม 2565 สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการ
พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด จังหวัดระนอง ได้ปรับแผนการประชุมในเดือนมีนาคม 2565 โดยไม่จัด
ประชุม เป็นการรายงานความก้าวหน้าผลการขับเคลื่อนภารกิจด้านการเกษตรและสหกรณ์ฯ ให้คณะอนุกรรมการ
พัฒนาการเกษตรและสหกรณร์ ะดบั จงั หวัด จังหวัดระนอง ทราบโดยเอกสาร

เดอื นสิงหำคม 2565 การประชมุ คร้งั ท่ี 2 ประจาปีงบประมาณ เมื่อวันท่ี 23 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมโก
มาซมุ ช้ัน 2 ศาลากลางจังหวดั ระนอง และประขมุ ผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Zoom Meeting) โดยมีนายปิยพงศ์ ชูวงศ์
รองผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง ทาหน้าท่ีประธานการประชุม ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นชอบการแต่งต้ังคณะกรรมการศูนย์
เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ระดับอาเภอ และ (ร่าง)แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์
จงั หวัดระนอง (พ.ศ. 2566-2570) ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ. 2565


Click to View FlipBook Version