The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานพัฒนาแอพพลิชันเรื่องการพัฒนาแอพลิเคชั่นระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sainam743s, 2022-01-26 02:40:46

โครงงานพัฒนาแอพพลิชัน เรื่องการพัฒนาแอพลิเคชั่นระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต

โครงงานพัฒนาแอพพลิชันเรื่องการพัฒนาแอพลิเคชั่นระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต

โครงงานคอมพิวเตอร์
เร่ืองการพฒั นาแอพลิเคชน่ั ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต

เสนอ
คุณครูฐิติภทั ร ทองมา

1. เดก็ หญิงคุณารัตน์ จดั ทำโดย เลขท่ี 6
2. เดก็ หญิงณรรพร มานะชยั เลขท่ี 11
3. เดก็ หญิงเปมิกา เรืองจินดา เลขท่ี 29
4. เดก็ หญิงวชิรญาณ์ ธนบุณยวฒั น์ เลขที่ 37
5. เดก็ หญิงอรณฐั รัตนพนั ธ์ เลขที่ 45
จิตสดใส

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3.13

รายงานวชิ า รหสั วชิ า ว23107
โครงงานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
โรงเรียนสตรีวทิ ยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

เกี่ยวกบั โครงงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์

เรื่อง การพฒั นาแอพลิเคชนั่ ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผจู้ ดั ทำ 1. เดก็ หญิงคุณารัตน์ มานะชยั เลขท่ี 6
2. เดก็ หญิงณรรพร เรืองจินดา เลขที่ 11
3. เดก็ หญิงเปมิกา ธนบุณยวฒั น์ เลขท่ี 29
4. เดก็ หญิงวชิรญาณ์ รัตนพนั ธ์ เลขที่ 37
5. เดก็ หญิงอรณฐั จิตสดใส เลขท่ี 45

ครูที่ปรึกษา 1. คุณครูฐิติภทั ร ทองมา
2. คุณครูสจั จา วงศเ์ บ้ียสจั จ์

สถานศึกษา โรงเรียนสตรีวทิ ยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

ปี การศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564

บทคดั ยอ่

ช่ือโครงงาน การพฒั นาแอพลิเคชนั่ ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต
Developing Emotional Expressing and Assessing Mental Health Apps
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 หอ้ ง 13
ภาคเรียนที่ 2

ปี การศึกษา 2564
1. คุณครูฐิติภทั ร ทองมา
ครูท่ีปรึกษา 2. คุณครูสจั จา วงศเ์ บ้ียสจั จ์

โครงงานเร่ืองการพฒั นาแอพลิเคชน่ั ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต จดั ทำข้ึนเพ่ือศึกษาการสร้างผล
งานดา้ นคอมพิวเตอร์ โดยมีเน้ือหาเกี่ยวกบั พฒั นาแอปพลิเคชนั เรื่อง การระบายอารมณ์และบนั ทึกสุขภาพจิต ซ่ึง
เป็นหวั ขอ้ ในการสร้างผลงานดา้ นคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกลุ่มขา้ พเจา้ ตอ้ งการศึกษา การพฒั นาแอพลิเคชนั่ ระบาย
อารมณ์และประเมินสุขภาพจิต โดยไดจ้ ดั ทำเป็นโครงงานเพื่อศึกษาและเพื่อรุ่นต่อไป รวมถึงบุคลทวั่ ไปท่ีตอ้ งการ
ศึกษาเรื่อง การพฒั นาแอพลิเคชนั่ ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต และนอกจากน้ียงั มี เน้ือหาอ่ืนท่ีน่าสนใจ
ศึกษาและพฒั นาต่อไปไดอ้ ีก



กิตติกรรมประกาศ

โครงงานคอมพิวเตอร์ เร่ือง การพฒั นาแอพลิเคชนั่ ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต ประกอบวชิ า
โครงงานคอมพิวเตอร์ โดยมีการสร้างผลงานดา้ นคอมพิวเตอร์ สามารถดำเนินงานไปอยา่ งมีระบบ ตามข้นั ตอนท่ี
วางไว้ จนทำใหง้ านสำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี เน่ืองจากการเรียนการสอนและการใหค้ ำปรึกษาแนะนำ จาก ครูท่ีปรึกษา
ประจำวชิ าโครงงานคอมพิวเตอร์ ซ่ึงใหค้ วามรู้ทางดา้ นวชิ าการและตลอดจนการใหค้ ำแนะนำในการทำโครงงาน
เรื่อง การพฒั นาแอพลิเคชนั่ ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต พร้อมท้งั ยงั อธิบายวธิ ีการทำและโปรแกรมทาง
คอมพิวเตอร์ คือ เพื่อใชป้ ระกอบกบั โครงงาน จากคำแนะนำของครูที่ปรึกษา ทำใหก้ ลุ่มขา้ พเจา้ มีแนวทางในการ
ดำเนินงานและทำงานกนั ไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ จนสำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี จึงขอขอบพระคุณ มาไว้ ณ ท่ีน้ีดว้ ย

คณะผจู้ ดั ทำ

1. เดก็ หญิงคุณารัตน์ มานะชยั เลขท่ี 6
2. เดก็ หญิงณรรพร เรืองจินดา เลขท่ี11
3. เดก็ หญิงเปมิกา ธนบุณยวฒั น์ เลขที่ 29
4. เดก็ หญิงวชิรญาณ์ รัตนพนั ธ์ เลขที่ 37
5. เดก็ หญิงอรณฐั จิตสดใส เลขที่ 45

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3.13



สารบญั

เรื่อง หนา้

บทคดั ยอ่ ......................................................................................................................... ก
กิตติกรรมประกาศ......................................................................................................... ข
สารบญั ........................................................................................................................... ค
บทที่
1. บทนำ................................................................................................................. 1

แนวคิดและความสำคญั ..................................................................................... 1
วตั ถุประสงค.์ ..................................................................................................... 1
ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ................................................................................ 1
2. เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง.............................................................................................. 2-7
3. วธิ ีดำเนินการ.................................................................................................... 8-9
การเตรียมพฒั นาโครงงาน.................................................................................10
การลงมือพฒั นา.................................................................................................11-17
4. ผลการดำเนินการ.............................................................................................. 18
5. อภิปรายผล ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากโครงงาน และขอ้ เสนอแนะ.......................19
6. บรรณานุกรม…………………………………………………………………..20



บทท่ี 1
บทนำ

แนวคิดและความสำคญั ของโครงงาน
เนื่องจากสภาพสงั คมท่ีเปล่ียนแปลงไดต้ ลอดเวลา ทำใหผ้ คู้ นจำนวนไม่นอ้ ยเกิดความเครียดจากความ

กดดนั ท่ีเพ่ิมมากข้ึน ไม่วา่ จะเป็นในดา้ นเศรษฐกิจ การเมือง หรือการเรียน ส่งผลใหเ้ กิดการเจบ็ ป่ วยทางใจ สภาวะ
จิตใจอ่อนแอ และเป็นโรคซึมเศร้า

ในช่วงวยั แห่งความปรวนแปร คร้ันการกา้ วเขา้ สู่ช่วงวยั รุ่นเป็นเหตุทำใหต้ อ้ งปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม
ท่ีแตกต่างไปจากเดิม ท้งั พฒั นาการของร่างกาย จิตใจ และความสมั พนั ธ์กบั คนรอบขา้ ง อาจเกิดความรวนเรทาง
อารมณ์ ดงั เช่น ปัญหาชีวติ ที่ยงั ไม่ถกู แกไ้ ข บนั่ ทอนจิตใจ ส่งผลใหเ้ กิดความเครียด ซ่ึงการไดร้ ะบายความในใจออก
มาจะทำใหร้ ู้สึกดีข้ึนในช่วงระยะเวลาหน่ึง

ดว้ ยเหตุน้ีคณะผจู้ ดั ทำจึงไดน้ ำเทคโนโลยมี าพฒั นาแอปพลิเคชนั เพื่อช่วยใหผ้ ใู้ ชไ้ ดร้ ะบายเรื่องราวใน
แต่ละวนั ท้งั เร่ืองน่ายนิ ดีและเรื่องราวที่รังควานใจ ประหน่ึงวา่ ไดร้ ะบายกบั ใครสกั คนอยา่ งสบายใจ เพื่อลดความ
เส่ียงต่อภาวะเครียด โดยเม่ือพิมพข์ อ้ ความเสร็จแลว้ จะมีแบบประเมินดา้ นอารมณ์ และจะมีขอ้ ความใหก้ ำลงั ใจ
เลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ซ่ึงจะทำใหเ้ กิดความสบายใจและอารมณ์ดีข้ึน

วตั ถุประสงค์
เพ่ือใหผ้ ใู้ ชไ้ ดร้ ะบายเรื่องราวต่าง ๆ ท่ีผา่ นมาในวนั น้นั ซ่ึงมีผลต่ออารมณ์ของผใู้ ชไ้ ม่วา่ จะเป็นในเชิงบวก

หรือเชิงลบราวกบั วา่ มีคนคอยรับฟัง ถือเป็นการเฝ้ าระวงั และลดความเสี่ยงต่อภาวะเครียด

ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
คาดวา่ เม่ือผใู้ ชง้ านไดใ้ ชแ้ อปพลิเคชนั ดงั กล่าว จะช่วยใหเ้ กิดความสบายใจ แบ่งเบาความรู้สึกทุกข์ รู้สึกดี

ข้ึนเม่ือไดร้ ับพลงั บวกจากแอปพลิเคชนั ซ่ึงมีจุดประสงคท์ ำใหผ้ ใู้ ชเ้ ห็นแลว้ รู้สึกดีข้ึนจากสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ไดเ้ จอ
มา

1

บทท่ี 2
เอกสารและโครงงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง

โครงงานคอมพิวเตอร์ เร่ือง การพฒั นาแอพลิเคชน่ั ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต จดั ทำข้ึน เพื่อ
ศึกษาการพฒั นาแอประบายอารมณ์และเพ่ือบนั ทึกสุขภาพจิต ประกอบวชิ าพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยมี
เน้ือหาเก่ียวกบั การระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต และจดั เป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทประยกุ ตใ์ ชง้ าน
มีหลกั และทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งดงั น้ี

2.1 ปัจจยั ที่ทำใหเ้ กิดความเครียด
2.2 ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รุ่น
2.3 วธิ ีการใชเ้ วบ็ Thunkable เบ้ืองตน้

2.1 ปัจจยั ที่ทำใหเ้ กิดความเครียด

ปัจจยั ที่ก่อใหเ้ กิดความเครียด ไดแ้ ก่
1. ความเป็นอยใู่ นชีวติ และสงั คม เช่น ภาพของสงั คมเมือง มีคนหลงั่ ไหลเขา้ มาอยหู่ างานทำในเมืองมากข้ึนเรื่อย ๆ
อยกู่ นั แออดั ยดั เยยี ด ชีวติ ตอ้ งแข่งขนั ชิงดีชิงเด่น การเดินทางไปไหนมาไหนไม่สะดวกเพราะการจราจรติดขดั ชีวติ
ครอบครัวไม่อบอุ่น ต่างคนต่างอยู่ ขาดอากาศบริสุทธ์ิหายใจสภาพดงั กล่าวทำใหเ้ กดความเครียดได้

2. เหตุการณ์ในครอบครัว เช่น สูญเสียสิ่งที่รัก ไดแ้ ก่ การสูญเสียคนรัก ของรัก ทรัพยส์ ิน หนา้ ท่ีการงาน การตกงาน
หรื ถกู ใหอ้ อกจาก งาน ถกู ลดตำแหน่ง หรือยา้ ยงาน ธุรกิจลม้ ละลายที่มีความเก่ียวขอ้ งกบั ครอบครัวหรือคนท่ีเรารัก

3. การเจบ็ ป่ วยทางร่างกายและจิตใจ ความคบั ขอ้ งใจ เป็นภาวะท่างจิตใจเกิดข้ึนเมื่อความตอ้ งการถกู ขดั ขวางทำใหม้ ี
ปัญหาตอ้ งเผชิญ เกิดความรู้สึกไม่พอใจ โกรธ วติ กกงั วล จิตใจเหมือนถกู บงั คบั ใหเ้ กิดความเครียดข้ึนมา

4. การประกอบอาชีพ การทำงานการทำงานท่ีทำใหเ้ กิดความเครียด เช่น ขาดความปลอดภยั ในท่ีทำงาน งานเสี่ยง
อนั ตราย งานท่ีไม่พึงพอใจ มองไม่เห็นความสำคญั ของงานท่ีทำอยู่

5. พฒั นาการตามวยั จุดเปลี่ยนของชีวติ ซ่ึงเกิดข้ึนในแต่ละช่วงของชีวติ เช่น เปลี่ยนจากวยั เดก็ เขา้ สู่วยั รุ่นกจ็ ะมีการ
เปลี่ยนแปลงทางจิตวทิ ยา เป็นเสมือนจุดท่ีไดม้ ีการเปลี่ยนทศั นคติเขา้ สู่ข้นั ท่ีเหมาะสมกบั ระดบั อายุ

2

6. ปัญหาเศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ยากจน เป็นหน้ีสินทำใหภ้ าวะการเจริญเติบโตไม่
สมบูรณ์ขาด อาหาร เรียนไดไ้ ม่เตม็ ที่ อยใู่ นชุมชนแออดั ไม่มีความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ินทำใหเ้ กิดความ
วติ กกงั วล หวาดกลวั คิดมาก บีบค้นั จิตใจ เกิดความเครียดได้ สภาพเศรษฐกิจ การมีรายไดไ้ ม่พอกบั รายจ่าย โดย
เฉพาะในกลุ่มประชากรที่มีรายไดต้ ่ำ อาการเครียดเน่ืองมาจากสภาพเศรษฐกิจจะมีใหเ้ ห็นเป็นประจำ

2.2 ปัญหาสุขภาพจิตกบั วยั รุ่น

ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รุ่นเป็นเร่ืองใหญ่ นบั วนั เราไดย้ นิ ข่าวเพ่ิมมากข้ึน ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รุ่นส่งผลก
ระทบต่อพฒั นาการหลายมิติ ท้งั ร่างกาย สติปัญญา จิตใจ และสงั คม ส่งผลต่อการใชช้ ีวติ ท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต
ในทางร้ายสุด ผปู้ ระสบปัญหาอาจหาทางออกโดยการทำร้ายตวั เอง

ขอ้ มลู จากองคก์ ารอนามยั โลก (WHO) พบวา่ ในประชากรวยั รุ่น อายรุ ะหวา่ ง 10-19 ปี ปัญหาสุขภาพจิตคิด
เป็น 16% ของปัญหาสุขภาพท้งั หมด โดยกวา่ คร่ึงของผมู้ ีปัญหาสุขภาพจิต เร่ิมมีปัญหาต้งั แต่อายุ 14 ปี แต่ไม่เคยได้
รับการตรวจหรือบำบดั หรือรักษา ท้งั น้ีพบวา่ ในวยั รุ่น ปัญหาสุขภาพจิตเป็นตวั การสร้างความเจบ็ ป่ วย ทุพพลภาพ
และการฆ่าตวั ตายจดั เป็นสาเหตุลำดบั 3 ของการเสียชีวติ ของประชากรวยั 15-19 ปี นอกจากน้ี จากจำนวนประชากร
วยั รุ่นทว่ั โลก ที่ 90% อาศยั ในประเทศรายไดข้ ้นั กลางและข้นั ต่ำ จำนวนการฆ่าตวั ตายในวยั รุ่นกวา่ 90% เกิดใน
ประเทศเหล่าน้ี

ขอ้ มลู จาก นพ.พนม เกตุมาน ภาควชิ าจิตเวชศาสตร์ สาขาวชิ าจิตเวชเดก็ และวยั รุ่น คณะแพทยศาสตร์
ศิริราชพยาบาล ระบุวา่ วยั รุ่นเป็นวยั ที่มีปัญหาสุขภาพจิตมากท่ีสุดวยั หน่ึง แสดงออกมาในรูปพฤติกรรมต่างๆ เช่น
ด้ือ ไม่เชื่อฟัง ละเมิดกฎเกณฑ์ มีเพศสมั พนั ธุ์แบบไม่เหมาะสม ใชย้ าเสพติด ทำผดิ กฎหมาย ติดเกม ติดการพนนั โดย
พฤติกรรมบางอยา่ งมกั เกิดข้ึนมานาน ทำใหแ้ กไ้ ขยาก

นอกจากน้ีในยคุ ดิจิทลั ท่ีวยั รุ่นใชเ้ วลาบนโลกอินเตอร์เน็ตมากข้ึน กท็ ำใหม้ ีปัจจยั เส่ียงใหม่ๆ เพิ่มข้ึน ท้งั ส่ือ
ขอ้ มลู โอกาสเจอคนหลากหลายเพ่ิมข้ึน สิ่งเหล่าน้ีเสี่ยงเพ่ิมปัญหาสุขภาพจิตใหห้

3

2.3 วธิ ีการใชเ้ วบ็ Thunkable เบ้ืองตน้

Thunkable x คืออะไร
Thunkable x คือ เวบ็ ไซตท์ ่ีพฒั นาข้ึนสำหรับสร้างแอปพลิเคชนั ไดง้ ่ายๆ แบบลากวางบลอ็ กมาต่อกนั บลอ็ ก

แต่ละบลอ็ กจะแทนคำสงั่ เราสามารถสร้างแอปพลิเคชนั ที่ใชไ้ ดท้ ้งั ระบบปฏิบตั ิการ Android และ iOS เมื่อสร้างแอ
ปพลิเคชนั ตามที่ตอ้ งการ สามารถทดลองใชแ้ อปพลิเคชนั ไดผ้ า่ นแอปพลิเคชนั Thunkable Live บนมือถือไดเ้ ลย
2.3.1 ส่วนประกอบของ Thunkable x

1. Menu เป็นแหล่งรวมคำสง่ั ท่ีเอาไวใ้ ชส้ ำหรับแอปพลิเคชนั น้นั ดงั น้ี
● Live Test ใชแ้ สดงผลการทำงานเม่ือจำลองผา่ นมือถือจริง ๆ
● Share สามารถแชร์แอปพลิเคชนั ที่กำลงั สร้างอยใู่ หผ้ อู้ ื่นได้
● Make copy คดั ลอกแอปพลิเคชนั ท่ีเราสร้างอยอู่ ีกอนั
● Download เป็นเมนูแนะนำใหเ้ ราโหลด Thunkable live บนมือถือ เพื่อทดลองแอปพลิเคชนั ของเรา
● Publish ไวเ้ ผยแพร่แอปพลิเคชนั
● Help รวบรวมแหล่งเรียนรู้ใหศ้ ึกษา (Video, Docs)
● Community แหล่งพดู คุยแลกเปลี่ยน ถามปัญหาเกี่ยวกบั Thunkable x

4

2. Tutorials รวบรวม Video สอนเบ้ืองตน้ การสร้างใชง้ าน Component เบ้ืองตน้
3. Component ใชเ้ พื่อดูวา่ แต่ละหนา้ มี Component ใดบา้ ง เมื่อคลิกเขา้ ไปที่ Component จะสามารถออกแบบ
Property ของ Component น้นั ๆ ได้
4. Add Component รายชื่อ Component ท่ีมี
5. Screen ใชล้ ากวาง Component เพื่อออกแบบและจำลองการแสดงผลการออกแบบแอปพลิเคชนั
6. Property กำหนดคุณสมบตั ิของ Component ต่าง ๆ
7. Blocks สร้างการทำงาน โดยลากวางบลอ็ กการทำงาน ท่ีเปรียบเสมือนการเขียนโปรแกรม
2.3.2 วธิ ีการใชง้ าน Thunkable x เบ้ืองตน้

ข้นั ตอน 1 เขา้ ใชง้ านที่ Thunkable x และ ทำการลงทะเบียนเขา้ ใชง้ านก่อน
ข้นั ตอนท่ี 2 สร้าง Project คลิกที่ Create New Project และทำการต้งั ช่ือ Project และเลือกหมวดหมู่ (Category)
สามารถเลือกหมวดหม่ไู ดห้ ลายขอ้ ในตวั อยา่ งจะต้งั ชื่อเป็น Log in และเลือกหมวดหมู่ (Category) เป็น community,
events, entertainment

5

ข้นั ตอนท่ี 3 ออกแบบแอปพลิเคชนั สวย ๆ ไดต้ ามที่เราตอ้ งการ โดยลากวาง Component ตรง Add Component จาก
น้นั กำหนด Property ของ Component น้นั ๆ

ข้นั ตอนท่ี 4 ออกแบบการทำงานของแอปพลิเคชนั คลิกท่ี Blocks จะมีหนา้ จอ Blocks คำสง่ั สี ๆ คลา้ ยจ๊ิกซอว์ ถา้ เรา
ตอ้ งการใหแ้ อปพลิเคชนั เราทำงานเป็นไปอยา่ งที่เราตอ้ งการ เราจะตอ้ งลากบลอ็ กต่างๆ มาต่อกนั ที่หนา้ จอสีขาวโล่ง
ๆ ดา้ นขวามือ ซ่ึงผพู้ ฒั นา Thunkable x มี Docs และ Video เป็นภาษาองั กฤษ ท่ีอธิบายการทำงานและการใชง้ าน
บลอ็ กแต่ละบลอ็ กเอาไว้

6

ข้นั ตอนท่ี 5 ดาวนโ์ หลด Thunkable Live เพ่ือทดสอบการทำงานของแอปพลิเคชนั ลงในโทรศพั ทม์ ือถือ
หรือแทบ็ เลต็ ระบบปฏิบตั ิการ Android ผา่ นทาง Play Store และระบบปฏิบตั ิการ iOS ผา่ นทาง App Store

7

ข้นั ตอนท่ี 6 ทดสอบแอปพลิเคชนั บนโทรศพั ทม์ ือถือ หรือแทบ็ เลต็ โดยเขา้ สู่ระบบเดียวกบั ท่ีลงทะเบียนใน
Thunkable x ในข้นั ตอนที่ 1 จากน้นั เลือก Project ที่เราตอ้ งการ เพ่ือทดสอบการทำงาน
ขอ้ ดีของ Thunkable x
1. Thunkable x เปิ ดใหใ้ ชง้ านฟรี
2. งานแอปพลิเคชนั ไดท้ ้งั บนระบบปฏิบตั ิการ Android และ iOS
3. ทำความเขา้ ใจการใชง้ านบลอ็ กของ Thunkable x ไดไ้ ม่ยาก
4. เมื่อมีปัญหาไม่เขา้ ใจสามารถถามไดต้ ลอดเวลาท่ี Thunkable community

8

บทท่ี 3
วธิ ีการดำเนินงาน

โครงงานคอมพิวเตอร์ เร่ือง การพฒั นาแอพลิเคชน่ั ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต จดั ทำข้ึน เพื่อ
ศึกษาการพฒั นาแอพลิเคชน่ั ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต ประกอบวชิ าพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยมี
เน้ือหาเก่ียวกบั การพฒั นาแอปพลิเคชนั การระบายอารมณ์ความเครียด และสุขภาพจิต และจดั เป็นโครงงาน
คอมพิวเตอร์ประเภทการประยกุ ตใ์ ชง้ าน

3.1 วสั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือหรือโปรแกรมที่ใชใ้ นการพฒั นา
3.1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์และไอแพด พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3.1.2 เวบ็ ท่ีใชใ้ นการพฒั นาแอปพลิเคชนั คือ https://thunkable.com/#/

3.2 ข้นั ตอนการดำเนินงาน
3.2.1 คิดหวั ขอ้ โครงงานเพ่ือนำเสนอครูท่ีปรึกษาโครงงาน
3.2.2 ศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั เร่ืองท่ีสนใจ ไดแ้ ก่เรื่อง ปัจจยั ท่ีทำใหเ้ กิดความเครียด สุขภาพจิตของ

คนในยคุ ระบาดโควดิ เพ่ือจดั ทำเน้ือหา
3.2.3 ศึกษาส่วนประกอบ วธิ ีการใชเ้ วบ็ ไซต์ Thunkable x เพื่อสร้างและพฒั นาแอปพลิเคชนั
3.2.4 วางโครงร่างการและพฒั นาแอปพลิเคชนั เพื่อใหก้ ารเป็นระบบมากข้ึน
3.2.5 ลงมือปฎิบตั ิจดั ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ ผา่ นเวบ็ ไซต์ https://thunkable.com/#/
3.2.6 ทดสอบและประเมินการทำงานของแอปพลิเคชนั วา่ มีประสิทธิภาพการใชง้ านเป็นไปตามท่ีวางแผน

ไวห้ รือไม่
3.2.7 แกไ้ ขจุดท่ีผดิ พลาดหลงั จากการทดสอบและประเมินแอปพลิเคชนั เพ่ือใหไ้ ดแ้ อปพลิเคชนั ที่ตรงตาม

ท่ีวางแผนไว้
3.2.8 นำเสนอแอปพลิเคชนั ใหก้ บั ครูที่ปรึกษา

9

แผนการปฎิบตั ิงาน

ระยะเวลาการดำเนินงาน

ท่ี ข้นั ตอนการดำเนินงาน เดือนพฤษจิกายน เดือนธนั วาคม เดือนมกราคม เดือนกมุ ภาพนั ธ์

1 นำเสนอหวั ขอ้ รายงาน

2 สืบคน้ ขอ้ มลู ในการทำโครงงาน

3 ทำรูปเล่มโครงงาน

4 เร่ิมศึกษาการทำแอปพลิเคชนั

5 พฒั นาแอปพลิเคชนั

6 นำเสนอแอปพลิเคชนั

วเิ คราะห์และออกแบบโปรแกรม
ข้นั ตอนการเขา้ ใชง้ านเวบ็ ไซต์ Thunkable x

1. ลงทะเบียนเขา้ ใชง้ านในเวบ็ ไซต์ https://thunkable.com/#/
2. คลิกที่ Create New Project > ต้งั ชื่อ Project > เลือกหมวดหมู่ (Category)
หลงั จากลงทะเบียนและต้งั ค่า Project เสร็จแลว้ ต่อไปจะเป็นการเริ่มออกแบบ ตกแต่งหนา้ แอปพลิเคชนั
ข้นั ตอนการออกแบบ ตกแต่งหนา้ แอปพลิเคชนั

10

ข้นั ตอนการออกแบบการทำงานของแอปพลิเคชนั
ข้นั ตอนที่ 1 เปล่ียนชื่อ screen 1 เป็น start ใส่ image ใสรูปโลโกข้ องแอปพลิเคชนั และดา้ นล่างของรูปใส่ botton
เปล่ียนช่ือเป็น Let’s start

ข้นั ตอนท่ี 2 กด + ตรงขา้ งๆหนา้ start เพื่อเพิ่ม screen และทำการเปล่ียนช่ือเป็น home เปลี่ยนรูปภาพฉากหลงั เป็น
รูปท่ีตอ้ งการจะใส่ เพิ่ม botton ตรงมุมขวาล่างและเปล่ียนชื่อป่ ุมเป็น +

11

ข้นั ตอนที่ 3 กด + ตรงขา้ งๆหนา้ home เพ่ือเพิ่ม screen และทำการเปลี่ยนช่ือเป็น ท่ีระบายอารมณ์ นำ date input
และ time input มาใส่ดา้ นบน ใส่ label ตรงกลางจอ และดา้ นล่างของ label ใส่ text input จากน้นั ใส่ botton 3 ป่ ุม
ตรงดา้ นล่าง text input ตามรูปภาพ และเปลี่ยนช่ือเป็น < , Finished , > ตามลำดบั สุดทา้ ย ใส่ image 2 รูป เป็นกรอบ
ใหส้ วยงามข้ึน

ข้นั ตอนที่ 4 กด + ตรงขา้ งๆหนา้ ที่ระบายอารมณ์ เพ่ือเพ่ิม screen และทำการเปลี่ยนชื่อเป็น หนา้ ก่อนแบบประเมิน
เพิ่ม botton และเปล่ียนช่ือเป็น แบบประเมินสุขภาพจิตดา้ นอารมณ์ ใส่ image 2รูป ดา้ นล่าง และใส่รูปตน้ ไมส้ องตน้
เพื่อความเบาสมอง สวยงาม

12

ข้นั ตอนที่ 5 กด + ตรงขา้ งๆหนา้ หนา้ ก่อนแบบประเมิน เพื่อเพ่ิม screen และทำการเปลี่ยนช่ือเป็น แบบประเมิน
สุขภาพจิต ใส่ group ขา้ งบนสุด ตรงชอ้ ยส์ 3 ขอ้ และใส่ botton ตรง group ส่วนตรงคำถาม ใส่เป็น label

ข้นั ตอน 6 กด + ตรงขา้ งๆหนา้ แบบประเมินสุขภาพจิต เพ่ือเพิ่ม screen และทำการเปลี่ยนช่ือเป็น ผลประเมิน ใส่
image เปล่าๆตรงกลาง จากน้นั ใส่ botton และเปล่ียนชื่อเป็น back to home ใส่ image 2รูป ขนาบขา้ งป่ ุม back to
home ใส่รูปตน้ ไมม้ าตกแต่งเพื่อความสบายตาสบายใจ

13

ข้นั ตอนที่ 7 เขียนบลอ็ กหนา้ start ดงั รูปภาพต่อไปน้ี
ข้นั ตอนที่ 8 เขียนบลอ็ กหนา้ home ดงั รูปภาพต่อไปน้ี
ข้นั ตอนที่ 9 เขียนบลอ็ กหนา้ ที่ระบายอารมณ์ ดงั รูปภาพต่อไปน้ี

14

ข้นั ตอนที่ 10 เขียนบลอ็ กหนา้ ก่อนแบบประเมิน ดงั รูปภาพต่อไปน้ี
ข้นั ตอนท่ี 11 เขียนบลอ็ กหนา้ แบบประเมินสุขภาพจิต ดงั รูปภาพต่อไปน้ี

15

ข้นั ตอนท่ี 12 เขียนบลอ็ กหนา้ ผลประเมิน ดงั รูปภาพต่อไปน้ี

16

แอปพลิเคชนั ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิตเสร็จสมบูรณ์

ข้นั ตอนการทดสอบการทำงานของแอปพลิเคชนั
เมื่อออกแบบการทำงานของแอปพลิเคชนั เสร็จแลว้ ดาวนโ์ หลด Thunkable live เพ่ือทดสอบการทำงานของ

แอปพลิเคชนั ลงในมือถือ
ทดสอบแอปพลิเคชน่ั บนโทรศพั ทม์ ือถือ โดยเขา้ สู่ระบบเดียวกบั ท่ีลงทะเบียนใน Thunkable จากน้นั เลือก

Project ที่เราตอ้ งการ เพ่ือทดสอบการทำงาน

17

บทท่ี 4
ผลการดำเนินการ

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพฒั นาแอพลิเคชนั่ ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต เล่มน้ีจดั ทำข้ึน
เพื่อศึกษาการพฒั นาแอพลิเคชน่ั ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต ประกอบวชิ าพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์
โดยมีเน้ือหาเกี่ยวกบั การพฒั นาแอปพลิเคชนั การระบายอารมณ์และการประเมินสุขภาพจิต และจดั เป็นโครงงาน
คอมพิวเตอร์ประเภทการประยกุ ตใ์ ชง้ าน

1. เมื่อเขา้ สู่ หนา้ หลกั คลิกป่ ุม Let’s go เพ่ือเร่ิมตน้ การใชง้ าน
2. หนา้ แรก เมื่อคลิกป่ ุม บวก จะไปสู่หนา้ ระบายอารมณ์
3. หนา้ ระบายอารมณ์ เม่ือคลิกท่ี Type here ผใู้ ชง้ านสามารถพิมพเ์ พ่ือระบายอารมณ์ เม่ือคลิกท่ี finished

ขอ้ ความที่ผใู้ ชพ้ ิมพก์ จ็ ะปรากฏอยบู่ นในกล่องขอ้ ความดา้ นบน คลิกถดั ไปเพ่ือไปหนา้ ป่ ุมแบบประเมิน
สุขภาพจิตดา้ นอารมณ์
4. เมื่อคลิกที่ ป่ ุมแบบประเมินสุขภาพจิตดา้ นอารมณ์ จะไปสู่หนา้ แบบประเมินสุขภาพจิตดา้ นอารมณ์
5. หนา้ แบบประเมินสุขภาพจิตดา้ นอารมณ์ จะมีคำถามสุขภาพจิตท้งั หมด 5 ขอ้ ขอ้ ละ 3 ตวั เลือก
6. เม่ือตอบแบบประเมินครับท้งั 5 ขอ้ จะไปหนา้ สุดทา้ ย และแสดง gif สามารถกดป่ ุม back to home เพื่อกลบั
สู่หนา้ หลกั
เกณฑก์ ารคิดคะแนน
จริงคิดเป็น 2 คะแนน , อาจจะจริงคิดเป็น 1 คะแนน , ไม่จริงคิดเป็น 0 คะแนน
1-3 อารมณ์ผใู้ ชป้ กติ ข้ึนเป็น gif หมีพหู ์และผองเพ่ือนเพ่ือใหว้ นั มีสีสนั มากข้ึน
4-7 อารมณ์ผใู้ ชง้ านเริ่มไม่เสถียร ข้ึนเป็น gif กอดเพ่ือปลอบใจ
8-10 อารมณ์ผใู้ ชง้ านไม่เสถียรมาก ตอ้ การคนปลอบใจ ข้ึนเป็น gif เพื่อนๆกอดกนั เพ่ือปลอบใจและ
เป็นกำลงั ใจใหผ้ ใู้ ชง้ าน

18

บทที่ 5
อภิปรายผล ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากโครงงาน และขอ้ เสนอแนะ

โครงงานคอมพิวเตอร์ เร่ือง การพฒั นาแอปลิเคชน่ั ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต เล่มน้ีจดั ทำข้ึน
เพื่อศึกษาการพฒั นาแอประบายอารมณ์และเพ่ือบนั ทึกสุขภาพจิต ประกอบวชิ าพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยมี
เน้ือหาเกี่ยวกบั การระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต และจดั เป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทประยกุ ตใ์ ชง้ าน

อภิปรายผล

จากการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพฒั นาแอปลิเคชนั่ ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต
อภิปรายผลได้ ดงั น้ี สามารถสร้างแอปลิเคชนั่ ผา่ นเวบ็ ไซตส์ ร้างแอพิเคชน่ั (thukable) โดยไดพ้ ฒั นาแอปลิเคชน่ั
ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต เหมาะสำหรับผทู้ ่ีตอ้ งการระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิตตนเอง
โดยตวั แอพลิเคชน่ั จะมีแบบประเมินเพื่อใหผ้ ปู้ ระเมินไดป้ ระเมินสุขภาพจิตของตน

ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากโครงงาน

จากการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพฒั นาแอปลิเคชนั่ ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต
ทำใหไ้ ดร้ ับประโยชน์ คือ เป็นแอปลิเคชนั่ ที่ช่วยใหผ้ ใู้ ชง้ านไดร้ ะบายอารมณ์ และประเมินสุขภาพจิตของตนผา่ น
แบบประเมินในแอปลิเคชน่ั เพื่อใหผ้ ใู้ ชไ้ ดร้ ะบายเรื่องราวต่าง ๆ ที่ผา่ นมาในวนั น้นั ซ่ึงมีผลต่ออารมณ์ของผใู้ ชไ้ ม่วา่
จะเป็นในเชิงบวกหรือเชิงลบราวกบั วา่ มีคนคอยรับฟัง ถือเป็นการเฝ้ าระวงั และลดความเสี่ยงต่อภาวะเครียด

ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นาโครงงานในอนาคต

จากการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ เร่ือง การพฒั นาแอปลิเคชน่ั ระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต
ไดข้ อ้ เสนอแนะดงั น้ี

1. ควรมีการหาขอ้ มลู และการใชแ้ บบประเมินท่ีหลากหลายมากข้ึน
2. ในคร้ังต่อไปควรจะนำแอปลิเคชนั่ ไปทดสอบและทดลองใชง้ านจริงกบั กลุ่มตวั อยา่ ง
3. ควรมีต่อยอดและพฒั นาใหค้ ุณภาพของแอปพลิเคชนั ใชง้ านไดด้ ียง่ิ ข้ึนในอนาคต

19

บรรณานุกรม

กฤษณะ สร้อยจนั ทร์ดา, รัตนาภรณ์ ธีระพาพงษ,์ ศราวนิ กระจ่างจิตร์, ศราวนิ กระจ่างจิตร์, สุปราณี วนิ ทะชยั ,
สุพรรษา มน่ั คง, สุภาวดี นิลเทศน,์ สุวนนั รู้เกณฑ,์ อภิญญา โสภาจร. (ม.ป.ป.). ปัจจยั ท่ีก่อใหเ้ กิดความเครียด.
[ออนไลน]์ . สืบคน้ 6 มกราคม 2565, เขา้ ถึงไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/khwamkheriydnaru/home/paccay-thi-kx-hi-keid-khwamkheriyd

ศิริกร โพธิจกั ร. (2564). เครียด ซึมเศร้า หมดไฟ ปัญหาทางใจยคุ โควดิ ระบาด. [ออนไลน]์ . สืบคน้ 6 มกราคม
2565, เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2409

สุภาภทั ร ทนเถื่อน. (2553). การศึกษาความเครียดและวธิ ีเผชิญความเครียดของนกั เรียนมธั ยมศึกษา ตอนปลาย.
สารนิพนธ กศ.ม. (จิตวทิ ยาพฒั นาการ). กรุงเทพฯ: บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.

Parichat Chk. (2021). ปัญหาสุขภาพจิตคือเรื่องใหญ่ กระทบเกือบพนั ลา้ นคน อยใู่ นประเทศรายไดน้ อ้ ย ไม่ได้
รักษา. [ออนไลน]์ . สืบคน้ 6 มกราคม 2565, เขา้ ถึงไดจ้ าก

https://brandinside.asia/mental-health-impact-nearly-1-billion-people/

Salika. (2563). ‘ความสุขของคนไทย’ ท่ีลดลงอยา่ งต่อเน่ือง คิดต่อจาก World Happiness Report. สืบคน้ 6
มกราคม 2565, เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.salika.co/2020/11/23/thailand-the-happiness-survey/

Slideshare a scribd company. (2561). คู่มือ Thunkable. สืบคน้ 6 มกราคม 2565, เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://www.slideshare.net/TomKhunakorn/thunkable

World Happiness Report. (2564). Happiness, trust, and deaths under COVID-19. สืบคน้ 6 มกราคม 2565,
เขา้ ถึงไดจ้ าก https://worldhappiness.report/ed/2021/happiness-trust-and-deaths-under-covid-19/

20


Click to View FlipBook Version