The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by umsook130237, 2022-04-19 01:05:33

เลียงผาPDF

เลียงผาPDF

àÅÕ§¼Ò¤ÁÙ‹ÍסÒÃàÅÕ้§
ã¹ÊÀÒ¾¡Ã§àÅÂÕ้§
Êํҹѡ§Ò¹àªÕ§ãËÁ‹ä¹·«Ò¿ÒÃÕ

ค่มู ือการเลี้ยงเลยี งผา

สถานะทางการอนรุ กั ษเ์ ลยี งผา

โดยธรรมชาติของเลียงผา มีถิ่นท่ีอยู่ตามเขาสูงชันท่ีคนและสัตว์อื่น
ท่ัว ๆไปไมส่ ามารถอยไู่ ด้ ศัตรูของเลียงผาจึงมีน้อยแต่ด้วยนิสัยท่ีชอบออกมายืนน่ิงริม
หน้าผาโล่ง ๆ จึงเป็นเป้าให้ถูกล่าได้ง่ายประกอบกับความเช่ือที่ว่าน้ามันเลียงผามี
สรรพคุณเป็นยารักษากระดูกท้าใหเ้ ลยี งผาถกู ลา่ อยา่ งมาก นอกจากน้ีการระเบิดภูเขา
หนิ ปนู หรือการทา้ เกษตรกรรมตามพ้ืนท่ีลาดเขาท้าให้แหล่งท่ีอยู่อาศัยของเลียงผาลด
นอ้ ยลง ดังนั้น ประเทศไทยจึงไดม้ ีการออกกฎระเบียบในการอนรุ กั ษ์เลียงผาไว้ ดังน้ี

1. พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสตั ว์ป่า พ.ศ. 2535

เลียงผาจดั เปน็ สัตวป์ ่าสงวน 1 ใน 15 ชนิดของประเทศไทย เป็นชนิดสัตว์ป่า
ทีม่ สี ภาพเสีย่ งตอ่ การสญู พันธอุ์ ยา่ งย่งิ โดยห้ามมใิ หผ้ ้ใู ดล่า ครอบครอง เพาะพันธ์ุและ
การค้าซึ่งสัตว์ปา่ รวมถึงซากของสัตวป์ ่า เว้นแตไ่ ดร้ ับอนญุ าตตามแตก่ รณีไป
2. อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศว่าด้วยชนิดสัตว์ป่าและพืชป่า
(The Convention on International Trade in Endanger species of
Wild Fauna and Flora, CITES)

เลียงผา จัดเป็นสัตว์ป่าท่ีอยู่ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix I) ของ
อนุสัญญาท่ีว่าด้วยเรื่อง การค้าสัตว์ป่า พืชป่า และผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ ถูก
ควบคุมโดยระบบใบอนุญาต (Permit) ซึ่งสัตว์ป่าและพืชป่าท่ีอนุสัญญาควบคุม
จะต้องมีใบอนุญาตในการน้าเข้า (Import) ส่งออก (Export) น้าผ่าน (Transit) และ
ส่งกลบั ออกไป (Re-Export)

สถานะทางการอนรุ ักษเ์ ลียงผา

โดยชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาควบคุมจะระบุไว้ในบัญชี
หมายเลข 1, 2, 3 (Appendix I, II, III) ของอนุสัญญา เนื่องจากเป็นสัตว์ป่าที่มีความ
เสี่ยงสูงต่อการสูญพันธุ์ หายากและถูกคุกคามจากหลาย ๆ ปัจจัย CITES ได้ก้าหนด
หลักการของสตั ว์ที่อยู่ในบัญชีหมายเลข 1 ไว้คือ เป็นชนิดพันธ์ุของสัตว์ป่าและพืชป่า
ที่ห้ามค้าโดยเด็ดขาดเนื่องจากใกล้จะสูญพันธุ์ยกเว้นเพื่อการศึกษา วิจัยหรือการ
เพาะพันธุ์ ซ่ึงต้องได้รับความยินยอมจากประเทศท่ีจะน้าเข้าก่อนทั้งน้ีต้องค้านึงถึง
ความอยู่รอดของชนดิ พันธุ์นัน้ ๆ

3. สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ
(International Union of conservation or Nature and Natural
Resources หรอื World Conservative Union: IUCN)

เ ลี ย ง ผ า ถู ก จั ด ใ ห้ อ ยู่ ใ น ก ลุ่ ม ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ท่ี อ ยู่ ใ น ข่ า ย ใ ก ล้ สู ญ พั น ธุ์
(VU–Vulnerable species) เป็นระดับความเสี่ยงขั้นอันตรายจากการสูญพันธุ์จากท่ี
ถิ่นอาศัยตามธรรมชาติในการจัดล้าดับสถานะภาพด้านการอนุรักษ์ ดังกล่าวเพ่ือการ
โน้มน้าว สนับสนุนและส่งเสริมสังคมทั่วโลกให้ร่วมกันสงวนไว้ซ่ึงความสมบูรณ์และ
ความหลากหลายของธรรมชาติ และเป็นการรบั ประกันการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติใดๆ
จะเป็นไปอยา่ งเทยี่ งธรรมและรักษาสภาพเชิงนิเวศไว้ได้

อนกุ รมวธิ านของเลียงผา

เลียงผา หรือเยือง หรือกูรา หรือโครา (Serow) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมใน
อันดับสัตว์กีบคู่ (Order Artiodactyla) อันดับย่อย (Suborder) Ruminantia ได้แก่
สัตว์เคี้ยวเอื้อง วงศ์ (Family) Bovidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับ แพะ แกะ และวัว
เลียงผาพบครั้งแรกบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2342 จึงได้รับ
การต้ังชื่อตามแหล่งที่พบครั้งแรก โดย J.M. Bechstein และถูกจัดรวมไว้สกุล
เดียวกับแอนติโลปของอินเดยี (Antilope sumatraensis) ในทัว่ โลกมเี ลยี งผาท้ังหมด
6 ชนดิ มีถิ่นอาศัยในทวีปเอเชยี ดังน้ี
Class Mammalia
Order Artiodactyla
Family Bovidae (antelopes, cattle, gazelles, goats, sheep and relatives)

Subfamily Caprinae (chamois, goats, serows, sheep, and relative)
Genus Capricornis (Serows)
Species Capricornis crispus (Japanese serow)
Species Capricornis milneedwardsii (Chinese serow)
Species Capricornis rubidus (Red serow)
Species Capricornis sumatraensis (Sumatran serow)
Species Capricornis swinhoei (Formasan serow)
Species Capricornis thar (Himalayan serow)

ลักษณะทวั่ ไปของเลียงผา

เลียงผามีกลิ่นตัวเหมือนแพะ กลิ่นตัวเกิดจากส่วนนอกของผิวหนังโดยขนที่
ปกคลุมตัวของเลียงผาจะหยาบและไม่หนาแน่น มีส่วนที่เป็นขนอ่อนปะปนอยู่บ้าง
ประปราย ขนตามตัวโดยทั่วไปเป็นสีด้าหรือสีเทาเข้ม ขนแผงคอเร่ิมต้ังแต่โคนเขาไป
จนถึงหัวไหล่โคนเป็นสีขาวปลายขนเป็นสีเทาเข้มหรือสีด้า แต่ขนจะมีสีจางกว่าขน
ตามแนวสันหลัง ขนท่ีขาใต้หัวเข่าลงมาจะมีสีแตกต่างกันไปตามสายพันธุ์ ตั้งแต่สีด้า
สีเทา ไปจนถึงสีน้าตาลแดง โคนขนจะมีสีจางกว่า หางมีลักษณะส้ันและปกคลุมไป
ด้วยขนสีเทาเข้มบริเวณสันหาง ด้านข้างมีขนสีน้าตาลแดงด้านในหางไม่มีขนปกคลุม
ขนบรเิ วณรมิ ฝีปากเป็นสขี าว และทีข่ ากรรไกรล่างท้ังสองข้างมีขนสีน้าตาลแดงปะปน
ด้วยขนสีขาว ส่วนมากจะมีขนสีน้าตาลแดงและสีขาวบริเวณใต้คอ หูมีลักษณะบาง
และแคบมักจะช้ีตรงขนด้านหลังหูเป็นสีน้าตาลและปะปนกับขนสีด้าด้านในเป็นขนสี
ขาว และมตี อ่ มนา้ มนั เปดิ ที่อยู่ระหว่างตากับจมูก ต่อมนี้จะอยู่ห่างจากใต้ตาประมาณ
4 เซนติเมตร สามารถสงั เกตเห็นไดอ้ ย่างชัดเจน (Prater., 1965)

ลกั ษณะทว่ั ไปของเลยี งผา

โดยเลยี งผาเปน็ สตั ว์ทมี่ ีเขาท้ังสองเพศ เขาของเลียงผามลี ักษณะสีด้า รูปกรวย
ตรงกลางมีลักษณะกลวง ส่วนโคนของเขาเป็นคล่ืนประมาณ 3 ใน 4 ของความยาว
(Prater,1965) เขาจะยาวประมาณ 25 เซนติเมตร เขาของเพศเมียจะส้ันกว่าเพศผู้
ประมาณ 1 - 2 นิ้ว และค่อนข้างจะเล็กกว่า ประกอบกับส่วนที่เป็นคล่ืนมีน้อยกว่า
โคนเขาของเพศผู้จะอยู่ชิดกันมากกว่าของเพศเมียเมื่อมองจากด้านตรงหน้า เขาของ
เลียงผาตัวผู้และตัวเมียจะเป็น Permanent horn โดยไม่มีการผลัดเขาและจะมีการ
เจริญเติบโตทุกปี โคนเขามีเกลยี วเปน็ วงแหวนอยรู่ อบๆ ซึง่ สามารถใชพ้ ิจารณาอายุได้
เช่นเดียวกับขนาดกะโหลก อีกท้ังเขาของลูกเลียงผาจะปรากฏเป็นตุ่มใต้ผิวหนังเมื่อ
เกิดได้ประมาณ 3 เดือน (Peacock., 1933) เขาจะยาวประมาณคร่ึงหน่ึงของความ
ยาวของหูเมื่ออายุประมาณ 1 ปี และเขาจะยาวประมาณความยาวของหูเมื่ออายุ
ประมาณ 2 ปี เม่ืออายุมากกว่า 2 ปี เขาจะยาวกว่าความยาวของหู โดยมีลักษณะ
ความยาวของล้าตวั ประมาณ 138 - 153 เซนติเมตร ความยาวของโคนหางถึงปลาย
หาง ประมาณ 12 - 15 เซนติเมตร ความสูงหัวไหล่ถึงปลายเท้า ประมาณ 84 - 93
เซนตเิ มตร น้าหนักอยู่ในชว่ ง 55 - 140 กโิ ลกรัม ขนาดของล้าตัวของเลียงผาระหว่าง
เพศผู้และเพศเมียจะแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และเลียงผามีกีบเท้าท่ีเป็น
ลักษณะสัน้ และแข็งแรง บริเวณร่องกีบตอนหน้าของขาท้ัง 4 ข้าง จะมีรูเปิดขนาดเล็ก
รูเปดิ ทร่ี อ่ งขาหนา้ จะอยสู่ งู กวา่ รเู ปดิ ท่รี อ่ งขาหลงั เล็กน้อย (Lekagul and McNeely.,
1977)

อปุ นสิ ยั

เลียงผาชอบอาศัยอยู่บนภูเขาสูงชันหรือหน้าผา มีความว่องไวและปราด
เปรียวมาก สามารถปีนป่ายและกระโดดไปตามโขดหินและหน้าผาสูงชันได้อย่าง
คล่องแคล่ว รวดเร็ว สามารถปีนต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ตามพื้นราบของหน้าผาได้ เวลาตกใจ
หรือถกู รบกวนจะสง่ เสียงร้องหวีดแหลม พร้อมกับวิ่งหนีไปตามทางแคบและสูงชันได้
อย่างรวดเร็ว ชอบลับเขาหรือฝนเขาตามต้นไม้หรือโขดหินบริเวณที่เคยลับอยู่เป็น
ประจา้ มีนสิ ัยชอบถ่ายมูลในท่ีเดิมๆ ซ้าๆ แต่ปัสสาวะไม่ซ้าท่ี ว่ายน้าเก่ง เม่ือพบศัตรู
เลียงผาจะยืนน่ิงสักครู่หน่ึงแล้วกระโจนหนีไปหลบอยู่ในพุ่มไม้ท่ีปลอดภัย มีประสาท
ตา หู และรับกลิ่นดีมาก (กองทุนสัตว์ป่าโลกส้านักงานประเทศไทย, 2543) เลียงผา
ชอบอยู่ตามล้าพังตัวเดียว บางครั้งอาจพบอยู่ด้วยกัน 2 - 3 ตัว หรือเป็นครอบครัว
แต่มักจะแยกกันหากิน ออกหากินเวลาเช้าตรู่ เย็นค่้าจนถึงดึก เวลากลางวันจะหลบ
พักอยู่ตามป่าละเมาะ ป่าทึบ ชอบนอนในเชิงผาใต้ชะง่อนหิน ถ้าบริเวณที่นอนเป็น
ดินจะใช้ขาหน้ากรุยดินเป็นบริเวณเล็กๆบนเนินเขาหรือพื้นป่าใต้ที่ก้าบังของต้นไม้
และหนิ ตามเส้นทางท่ีใช้เดินหากนิ หลังคนื ฝนตกซึ่งมักจะมีแดดในตอนเช้าเลียงผาจะ
ชอบนอนอาบแดดอยู่บนหิน (Lekagul and McNeely., 1977)

ชนดิ ของเลยี งผาทีพ่ บในโลก

เลยี งผาในสกลุ Capricornis พบท้ังหมด 6 ชนดิ ได้แก่

1. เลยี งผาญีป่ ุ่น Japanese Serow

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Capricornis crispus

เปน็ สัตว์จ้าพวกทมี่ เี ขาเปน็ เกลยี ว และเป็นสตั ว์เลยี้ งลูกด้วยนมท่มี ีกีบคู่จ้าพวก
เลียงผาชนิดหน่ึง พบได้ในป่าทึบในประเทศญ่ีปุ่น ส่วนมากกระจายพันธ์ุอยู่บริเวณ
ตอนเหนือและตอนกลางของเกาะฮอนชู เป็นเกาะท่ีใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น พื้นที่
ส่วนใหญ่ของเกาะฮอนชูเป็นท่ีราบสูงและภูเขาสูงชัน โดยมีภูเขาที่สูงที่สุดคือภูเขาฟูจิ
บนเกาะฮอนชูมีพ้ืนท่ีราบทางด้านตะวันออกและทางใต้ ซึ่งเป็นท่ีตั้งของเมืองส้าคัญ
ของญ่ีปุ่น เช่น โตเกียว โยโกฮามะ นาโงยะ เกียวโต โอซากะ โคเบะ และฮิโรชิมะ
โดยเลียงผาญ่ีปุ่นถือเป็นสัญลักษณ์ของประเทศในด้านการปกป้องและอนุรักษ์
ธรรมชาติ ตัวโตเต็มวัยจะมีส่วนสูงราว 81 เซนติเมตร และมีน้าหนัก 30 - 45
กโิ ลกรัม

มีสีตัวต้ังแต่สีด้าไปจนถึงเทาและเมื่อกระทบกับแสงตะวันจะออกสีน้าตาล มี
ขนหนาปุกปุยโดยเฉพาะตรงหาง ท้ังสองเพศต่างมีเขาขนาดเล็กโค้งงอไปด้านหลัง
เหมอื นกันทา้ ให้ยากที่จะจา้ แนกเพศด้วยสายตาได้ พวกมันอาศัยอยู่ในป่าภูเขาโดยจะ
ออกหากินในช่วงเช้าและช่วงเย็นของวัน กินใบไม้ หน่อไม้ และลูกโอ็คเป็นอาหาร
มักจะอาศัยอยู่แบบสันโดษหรือจับคู่กันอยู่หรือรวมกลุ่มกันอยู่ไม่เกินส่ีตัวและแต่ละ
กลุ่มจะไม่มีการปะปนเพศกัน พวกมันแบ่งอาณาเขตโดยปล่อยสารคัดหลั่งท่ีมีกลิ่น
เปร้ียว (Jass et al., 2004)

2. เลียงผาไตห้ วัน Taiwan Serow

ชอื่ วิทยาศาสตร์ Capricornis swinhoei

มีขนาดล้าตัวมีความยาว 80 - 114 เซนติเมตร และน้าหนัก 25 - 35
กิโลกรัม หางสน้ั ซึ่งมขี นาดประมาณ 6.5 เซนตเิ มตร สขี องมันเป็นสีเทาเข้ม มีสีเหลือง
ออกส้มที่กรามคอและต้นคอรวมถึงใต้เข่าถึงปลายขาด้านใน มีเขาท่ีโค้งไปข้างหลัง
เล็กน้อยและมีความยาว 10 – 20 เซนติเมตร โดยทั่วไปจะกินใบไม้ เถาวัลย์ เฟิร์น
หรือสมุนไพรตามพ้ืนดิน สามารถกระโดดได้สูงถึง 2 เมตร และวิ่งได้เร็วถึง 20
กิโลเมตรตอ่ ช่วั โมง

แหลง่ ท่อี ยู่อาศยั ได้แก่ ปา่ สนปา่ ใบกว้าง ทางลาดชนั ของหินเปลือย หน้าผาก
รวด และโขดหิน ฤดูการผสมพันธุ์ช่วงเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายนระยะเวลาเวลา
ต้งั ครรภ์ประมาณ 7 เดอื น โดยจะให้กา้ เนดิ ลกู ครั้งละ 1 ตัว แตบ่ างครั้งสามารถคลอด
ลกู แฝดได้ ต้งั แตอ่ ายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี ลูกจะค่อยๆแยกจากแม่และใช้ชีวิตอย่างอิสระ
ชว่ งอายุ 2 – 3 ปถี ึงจะสามารถสบื พนั ธไ์ุ ด้ และสามารถมีชีวิตอยู่ได้ถึง 15 ปี (Chiang
and Pei., 2008)

3. เลียงผาเหนือ Chinese serow, Southwest china serow, Mainland
serow

ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Capricornis milneedwardsii

เลียงผาเหนือมีขนที่หยาบสีเทาอมด้าเหมือนเลียงผาใต้ มีแผงคอท่ีพาดผ่าน
ระหว่างเขาไปตรงกลางของด้านหลงั เขาโดยเฉพาะในเพศผู้จะโดดเด่น มีสีอ่อน ความ
ยาวประมาณ 15 - 16 เซนติเมตร และมีความยาวโค้ง เลียงผาเหนือมีขนาดล้าตัวท่ี
ใหญ่มาก เมื่อเติบโตเต็มที่มีความยาวกว่า 183 เซนติเมตร และมีส่วนสูงจากกีบเท้า
จนถึงหวั ไหล่ 92 เซนติเมตร และมีน้าหนักประมาณ 150 กิโลกรมั

ขาทั้งสตี่ ั้งแต่หวั เข่าลงไปจนถึงกีบมีสีน้าตาลอมแดง พบอาศัยอยู่ตามภูเขาสูง
และบริเวณท่ีมีหน้าผาสูงชัน สามารถอาศัยและปีนป่ายได้ดีในพ้ืนที่ท่ีมีความขรุขระ
แต่ก็สามารถพบได้ว่าบางครั้งพบในท่ีราบ ว่ายน้าได้ดี และสามารถว่ายน้าข้ามทะเล
ไปยังอาศัยยังเกาะแก่งต่าง ๆ ได้อีกด้วย ปกติแล้วเลียงผาเหนือมักอาศัยอยู่เพียง
ล้าพังตัวเดียวหรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ กินหญ้า หน่อไม้ และใบไม้ต่างๆ เป็นอาหาร เป็น
สตั วท์ ี่คอ่ นข้างหวงถิน่ มกี ารเดินตรวจตราถน่ิ อาศยั เปน็ ประจา้ มีการประกาศอาณาเขต
หากินอย่างชัดเจนด้วยการถ่ายมูล มักออกหากินต้ังแต่ช่วงเวลาเช้าตรู่และเวลา
โพล้เพล้พลบค่า้ มรี ะยะเวลาการตง้ั ท้องนาน 7 - 8 เดือน เลียงผาเหนือเป็นเลียงผาท่ี
พบได้ในประเทศไทย

4. เลยี งผาใต้ Common serow, Sumatran serow, Southern serow

ช่อื วิทยาศาสตร์ Capricornis sumatraensis

มีล้าตัวส้ัน ขายาว ขนมีเส้นเล็กและหยาบ ขนตามล้าตัวมีสีเทาอมด้าบริเวณ
ท้องจะมีสีอ่อนกวา่ สขี องเลยี งผาวัยอ่อนจะมีสีเข้มแต่จะอ่อนลงเร่ือย ๆ เม่ือโตตามวัย
จนดูคล้ายกับสีเทาสีขนบริเวณหน้าแข้งหรือใต้หัวเข่ามีสีด้า ตรงหัวเข่ามีสีน้าตาลอม
แดง มีแผงคอยาวในบางตัวอาจพาดไปถึงหัวไหล่ มีต่อมขนาดใหญ่อยู่ใต้ตาเห็นได้
ชดั เจน รมิ ฝปี ากมสี ีขาว หยู าวคล้ายลา มเี ขาทัง้ ตวั ผู้และตวั เมยี มรี ูปร่างคล้ายเขาของ
แพะ แต่เขาตัวเมียจะส้ันกว่าตัวผู้ โดยทั่วไปมีขนาดเล็กกว่าเลียงผาเหนือ มีขนาด
ความยาวล้าตวั และหัว 140 - 155 เซนติเมตร ความยาวหาง 115 - 160 เซนติเมตร
ความสูงจากหวั ไหล่ถึงเทา้ 85 - 94 เซนติเมตร น้าหนกั 85 - 100 กิโลกรมั

พบแพร่กระจายบริเวณภาคใต้ของไทย ต้ังแต่คาบสมุทรมลายู และเกาะสุ
มาตรา มักอาศัยและหากินตามล้าพังบนภูเขาสูงหรือหน้าผาท่ีมีพุ่มไม้เต้ียขึ้นอยู่ กิน
พืช เช่น ใบไม้และยอดไม้เป็นหลัก ปีนหน้าผาได้อย่างคล่องแคล่ว ออกหากินในเวลา
เช้าตรู่ และพลบค้่า นอนหลับพักผ่อนในเวลากลางวันตามพุ่มไม้ ชอบลับเขาตาม
ต้นไม้หรือโขดหินท่ีเคยท้าอยู่ประจ้า มีนิสัยชอบถ่ายมูลซ้าที่เดิม ว่ายน้าเก่ง เคยมี
รายงานหลายครั้งว่า สามารถว่ายน้าข้ามแม่น้าขนาดใหญ่ได้ หรือบางคร้ังอาจว่ายไป
มาระหว่างเกาะในทะเลได้ด้วย เม่ือพบศัตรูจะยืนอยู่น่ิง ๆ ครู่หนึ่งแล้วจึงกระโจน
หลบหนีไป มีประสาทหูและตาดีเย่ยี ม จมูกรับกลิ่นดีมาก มีฤดูผสมพันธ์ุระหว่างเดือน
ตุลาคม - พฤศจกิ ายน ใชเ้ วลาตั้งทอ้ งประมาณ 7 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว เลียงผา
ใต้เปน็ เลยี งผาที่พบไดใ้ นประเทศไทย

5. เลยี งผาหมิ าลัย Himalayan serow

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Capricornis thar

สายพันธ์ุน้ีเกิดขึ้นในเทือกเขาหิมาลัย รวมถึงทางตอนใต้ของอินเดีย
ตะวันออกเฉยี งเหนอื โดยมีความยาวล้าตัวประมาณ 140 - 170 เซนติเมตร ความสูง
จากหวั ไหล่ถงึ เท้า 90 - 100 เซนติเมตร น้าหนักตัวประมาณ 85 - 140 กิโลกรัม. ขน
มลี กั ษณะสดี ้าจนถึงสดี ้าเข้ม สีแผงคอมีสดี ้า พ้ืนผวิ ดา้ นในของต้นขาเป็นครมี

6. เลยี งผาแดง Red serow

ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Capricornis rubidus

สายพันธุ์น้ีพบในพม่าตอนเหนือและบังกลาเทศ โดยมีความยาวล้าตัว
ประมาณ 140 - 155 เซนติเมตร ความสูงจากหัวไหล่ถึงเท้า 85 - 95 เซนติเมตร สี
ตามตัวเป็นสีน้าตาลแดงบริเวณหลังมีแถบกลางสีเข้ม ขนแผงคอมีสีจาง หัวสีเหมือน
ตัวมีขนสีขาวปนบริเวณหน้า ริมฝีปากมีสีขาวปนเทา (Duckworth and than zaw.,
2008)

ถ่ินทีอ่ ยูอ่ าศัย

เลียงผาอาศัยอย่ตู ามภูเขาท่มี ีหนา้ ผาสูงชัน อยตู่ ามภเู ขาซง่ึ ปกคลุมด้วยป่าทึบ
(Peacock,1933) สามารถอาศัยอยู่ได้ในบรเิ วณที่มีระดบั ความสูงต้ังแต่ 200 ไปจนถึง
ระดับ 3,000 เมตร เลียงผาเป็นสัตว์เค้ียวเอื้องที่มีการครอบครองและป้องกันอาณา
เขตหากินของตัวเองโดยมีพื้นท่ีครอบครองประมาณ 850 ไร่ ในจ้านวนน้ีเป็นพ้ืนที่ท่ี
เลียงผาหากินประจ้าประมาณ 538 ไร่ (ไสว, 2536) เลียงผาใช้ต่อมกล่ินใต้ดวงตาถู
ตามก้อนหินหรือโคนต้นไม้เพ่ือการหมายอาณาเขตครอบครอง เลียงผาสามารถใช้
พนื้ ท่คี อ่ นขา้ งหลากหลายและมคี วามสามารถในการปรับตัวให้อยู่ในสภาพพ้ืนที่หลาย
แบบ โดยปัจจุบันสามารถพบเลียงผาได้ใน ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณ
รวมถึงป่าดิบช้ืนในภาคใต้อีกทั้งยังสามารถพบเลียงผาในป่าเต็งรังบางพื้นท่ี อย่างไรก็
ตามเลียงผามักใช้พ้ืนท่ีภูเขาท่ีมีหน้าผาสูงชันมีป่าปกคุลมเป็นหลัก (กลุ่มงานวิจัยสัตว์
ป่า, 2553) เลียงผาชอบอาศัยอยู่ตามหน้าผาสูงชันจึงปลอดภัยจากศัตรูธรรมชาติ
(Johnson, 1993)

แผนทกี่ ารกระจายและระดับความชกุ ชุมของเลยี งผา
ในประเทศไทย

แหลง่ ท่ีมา: กล่มุ งานวิจยั สัตวป์ า่ ส้านักอนรุ กั ษ์สัตวป์ า่ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า
และพันธพ์ุ ืช, 2553

การสบื พนั ธ์ุ

การสืบพันธุ์ของเลียงผาจะสามารถสืบพันธ์ุและให้ลูกได้เมื่อมีอายุต้ังแต่ 3 ปี
และการสืบพันธุ์จะอยู่ในช่วงเดือน ตุลาคม ถึง พฤศจิกายน ตั้งท้องนานประมาณ
7 - 8 เดือน ออกลูกคร้ังละหน่ึงตัวหรือบางครั้งอาจมีสองตัว ลูกเลียงผาที่อายุได้
2 - 3 วัน จะออกเดินตามแม่ได้ และจะหย่านมเม่ืออายุ 5 - 6 เดือน (กลุ่มงานวิจัย
สัตว์ป่า, 2552) ลูกจะอาศัยอยู่กับแม่จนกระทั่งอายุ 1 ปี ถึงจะแยกตัวออกห่าง
เลยี งผามอี ายุได้มากว่า 10 ปีข้ึนไป (Lekagul and McNeely., 1977)

ระบบทางเดินอาหารของเลียงผา

เลียงผาเป็นสัตว์กินพืช (Herbivorous) มีลักษณะระบบทางเดินอาหาร
เช่นเดียวกับสัตว์ในอันดับ Artiodactyla วงศ์ Bovidae วงศ์ย่อย Caprinae เช่น
แกะและแพะ มีกระเพาะ 4 ส่วน และมีการหมักย่อย (Fermentation) โดยการหมัก
ของกระเพาะอาหารจะอาศัยแบคทีเรียในท่อทางเดินอาหาร (Microflora) โดยส่วน
ใหญ่ pH ในกระเพาะอาหารจะอยทู่ ี่ 6.7+0.5 มีถุงน้าดี (Gall bladder) นอกจากน้ัน
สัตว์ในตระกูลน้ีสามารถส้ารอก (Regurgitation) อาหารออกมาจากกระเพาะรูเมน
(Rumen) เพ่ือท้าการเค้ียวใหม่ได้หรือการเค้ียวเอื้อง (Michael et al., 2004)
โครงสร้างของกระเพาะอาหารส่วนหน้าของเลียงผาจัดอยู่ในกลุ่ม intermediate
selectors คือ เลือกกินได้ทั้งอาหารที่มีเยื่อใยต้่าและอาหารที่มีเยื่อใยสูง
(Yamamoto., 2007)

1

3

24

1. กระเพาะรเู มน (Rumen) 3. กระเพาะสามสบิ กลบี (Omasum)
2. กระเพาะรงั ผ้งึ (Reticulum) 4. กระเพาะ แท้ (Abomasum)

ชนิดของอาหารท่ีใชเ้ ลี้ยงเลียงผา

อาหารน้ันเป็นสิ่งส้าคัญ และสิ่งท่ีต้องค้านึงถึงก็คืออาหารท่ีให้ต้องมีความ
ใกลเ้ คยี งกับธรรมชาตขิ องสตั ว์ ซง่ึ อาหารแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ชนดิ คอื

1. อาหารหยาบ (Roughage)

อาหารหยาบเปน็ อาหารท่มี ีปรมิ าณสารเย่ือใย (Fiber) ในอาหารมากกว่าร้อย
ละ 18 ของนา้ หนกั แห้ง อาหารหยาบท่ีส้าคญั ได้แก่ พวกหญ้าสด หญ้าแห้ง หญ้าหมัก
และเศษวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตร อาหารหยาบจะเป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตชนิด
เย่ือใยและมีความหนาแน่นน้อย อาหารหยาบจะมีส่วนประกอบของ เซลลูโลส เฮมิ
เซลลูโลส และลิกนิน สูงกว่าอาหารข้น ดังนั้นการย่อยได้ของอาหารหยาบจึงต่้ากว่า
อาหารข้น อาหารหยาบจะมีโปรตีนค่อนข้างต่้ากว่าอาหารข้น โปรตีนของอาหาร
หยาบจะแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช เช่น พืชตระกูลถั่วจะมีโปรตีนสูงกว่าพืช
ตระกลู หญา้ แร่ธาตุในอาหารหยาบจะมปี ริมาณแคลเซียม

หญา้ เนเปียร์ปากช่อง1 หญ้าแพงโกลา่ แหง้

ตน้ ขา้ วโพด ฟางขา้ วแหง้ อดั ก้อน

2. อาหารข้น (Concentrate)

อาหารข้นเป็นอาหารท่ีมีสารเยื่อใยรวมในอาหารต่้ากว่าร้อยละ 18 ของ
น้าหนักแห้ง อาหารข้นจึงจัดเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางอาหารค่อนข้างสูง มีพลังงาน
และโปรตีนสูง เพื่อให้สัตว์ได้รับอาหารท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิต
อาหารข้น คือ อาหารสัตว์ที่ใหพ้ ลังงานและโปรตีนเป็นส่วนประกอบอยู่สูง มารวมกัน
ในสัดส่วนท่ีพอเหมาะ เพื่อให้มีโภชนะตรงตามต้องการของสัตว์ สัตว์ป่าท่ีถูกนามา
เล้ียงในสภาพกรงเล้ียงมักจะขาดโปรตีนเน่ืองจากพืชที่น้ามาเลี้ยงส่วนใหญ่จะเป็นพืช
เจริญเติบโตเต็มท่ี ซ่ึงปริมาณการน้าไปใช้ประโยชน์ได้ของโปรตีนจะลดลง ในขณะท่ี
การใช้ประโยชน์จากพืชก้าลังเจริญเติบโตนั้นจะมีปริมาณโปรตีนที่เพียงพอต่อสัตว์
มากกว่า (Minson, 1990)

กากถัว่ เหลอื ง ข้าวโพดบด

ปลาปน่ ราละเอียด

3. พืชผักและผลไม้

การเล้ียงสัตว์ป่าในสภาพกรงเล้ียงน้ัน นอกจากจะให้โภชนะตามความ
ต้องการของสัตว์นั้นๆแล้ว ยังมีการปรับโภชนะตามพฤติกรรมการกินในธรรมชาติ
โดยมีการเสรมิ พืชผักบางชนิดให้เหมาะสม เช่น ผักกาด กล้วย มันเทศ กับพฤติกรรม
การกินและความน่ากินของอาหารที่จะให้สตั ว์ การให้อาหารพวกพืชผกั และผลไม้จะมี
ความชุ่มช่ืนของน้าอยู่ภายในกลุ่มอาหารนี้อยู่แล้ว ท้าให้สัตว์ได้รับน้าจากอาหาร
เหล่าน้ีไปด้วย อีกท้ังในผลไม้มีวิตามินอยู่สูงจะช่วยให้สัตว์มีพฤติกรรมที่เป็นปกติ
เชน่ เดียวกับในธรรมชาติ

กลว้ ยดิบ มันเทศ

ขา้ วโพด ผกั บุง้

ใบตน้ โมกมัน ใบต้นไทรกร่าง

อาหารของเลียงผา

เลียงผาเป็นสัตว์กินพืช ชอบกินหญ้า พืชผักต่างๆ เช่น ใบไม้อ่อนๆ หน่อไม้
อ่อน โดยเฉพาะรากไม้ที่มีกลิ่นหอม ก่ิงไม้และเปลือกไม้ สามารถอดน้าได้นานเป็น
สัปดาห์ (Lekagul and McNeely, 1977) และจากการศึกษาของ Miller (1975)
เกี่ยวกบั อาหารของสตั ว์ป่าทีศ่ ูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าที่เขาเขียว จังหวัดชลบุรี
พบว่าเลียงผาที่อาศัยอยู่กับเนื้อทราย กวางป่า เก้ง ละมั่ง มีการใช้อาหารร่วมกัน คือ
ข่อย โมกมัน หญ้าสองหาง กระดูกอึ่ง มะขามเบ้ีย หญ้าขนหนาม หญ้าตีนกา ได้
ท้าการศึกษาพืชอาหารของเลียงผาโดยการวิเคราะห์ข้อมูล ท่ีรวบรวมได้จากบริเวณ
ป่าภูเขาหินปูนเขาแดง อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
พบว่า ชนิดพืชอาหารเลียงผาที่วินิจฉัยได้ 7 ชนิดได้แก่ ตะกิม มะเดื่อน้า ตับเต่า
มนั หมู น้าขา้ วเขา เถาวัลย์แพน (วจิ กั ขณ.์ , 2533)

ตารางแสดงชื่ออาหารของเลยี งผา

ช่ือ ชอื่ วิทยาศาสตร์
ไทรกร่าง Ficus concinna Miq.
หนอนตายหยาก/กระเพียด Stemona tuberosa Lour.
เถากระไดลิง Bauhinia scandens Linn.
สะแกดิน Combretum quadrangulare Kurz.
เถาสม้ ปูน Tetrastigma obovatum Gagnep.
มะเม่า/มะเมา่ ดง Antidesma bunius
ขอ่ ย Streblus asper Lour.
คนั ทรง Colubrina asiatica (L.) Brongn.
ผีเสอ้ื น้อย/เส้ียวน้อย Bauhinia hirsuta Weinm
ส้มกุ้ง Embelia ribes Burm.f.
เถานมววั Scleropyrum pentandrum (Dennst.) Mabb.
ล้าดวนดง Mitrephora tomentosa Hook.f. & Thomson.
กดั ล้ิน/ล้าไยปา่ Walsura trichostemon Miq
ผักปราบเครือ Streptolirion volubile Edgew.
สม้ ป่อย Acacia concinna (Willd.) DC.
เถาคันเหลก็ Ventilago cristata Pierre

ตารางแสดงชอ่ื อาหารของเลยี งผา

ช่อื ช่อื วิทยาศาสตร์
เถาวัลย์เปรยี ง Derris scandens (Roxb.) Benth
มะกอก Spondias cytherea Sonn.
บอนลิน้ ทิง/ชะงดเขา Aglaonema nitidum (Jack) Kunth.
จิก/จกิ น้า/กระโดนน้า Barringtonia acutangula Gaertn
ลกู ใตใ้ บ/มะขามปอ้ มดิน Phyllanthus amarus Schum & Thonn.
เครือหนามแนแ่ ดง Thunbergia coccinea Wall.
หญา้ หนวดฤาษี Heteropogon contortus
พลับพลา/หมากหอม Microcos tomentosa Sm.
โมกมนั Wrightia arborea (Dennst.) Mabb.
หญ้าข้าวนก Echinochola colonum
หญา้ พริกพราน Cymbopogon cambogiensis Bal.
หญา้ กระดูกอ่งึ Dendrolobium lanceolatum (Dunn.) Schindl.
มะขามเบย้ี Tamarindus indica L.
หญ้าขนหนาม Brachiaria mutica (Forsk) Stapf.
หญ้าตนี กา Dactyloctenium aegyptium
ตบั เตา่ Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don

ตารางแสดงชือ่ อาหารของเลยี งผา

ชอ่ื ชือ่ วทิ ยาศาสตร์
มนั หม/ู มันอียาง Disoscorea membranocea Pierre
หญ้าขน Brachiaria mutica
กล้วยน้าว้าดบิ Scientific name. Musa sapientum L.
ข้าวโพด Zea mays var. rugosa.
ผักบุ้ง Ipomoea aquatica
หนอ่ ไม้ Bambusa vulgaris.
มันเทศ Ipomoea batatas (L.) Lam.

ความต้องการโภชนะของเลยี งผา

จากลักษณะทางสรีรวทิ ยาของระบบทางเดินอาหารมีลักษณะทางเดินอาหาร
เช่นเดียวกับสัตว์ในอันดับ Artiodactyla วงศ์ Bovidae วงศ์ย่อย Caprinae เช่น
แกะ และแพะ อีกทั้งพฤติกรรมการกินด้วย จึงได้มีเปรียบเทียบความต้องการโภชนะ
โดยใช้ตารางความต้องการโภชนะของแพะ

รายการ ความตอ้ งการโภชนะ (DM basis)
DMI, %of BW %โปรตีนรวม %TDN

การดา้ รงชีพ 1.8 - 2.4 7 53

ช่วงแรกของการตัง้ ทอ้ ง 2.4 - 3.0 9 - 10 53

ช่วงปลายของการตง้ั ทอ้ ง 2.4 - 3.0 13 - 14 53

ระยะให้นม 2.8 - 4.6 12 - 17 53 - 56

ท่มี า: Rashid (2008)

พฤตกิ รรมท่ัวไปของเลยี งผา

1. พฤติกรรมการพกั ผอ่ น
การนั่ง หมอบ และหลับ ซ่ึงลักษณะที่พบบ่อยท่ีสุดคือการนั่ง โดยการน่ัง

เลยี งผาจะย่อขาหลงั และคอ่ ยๆหย่อนก้นลงก่อนและจึงพับขาหน้าลง โดยท่ีขาหลังจะ
น่ังในลักษณะพับเพียบขาหน้าพับติดกับอก การหมอบจะคล้ายการนั่งเพียงแต่มีการ
ก้มคอลงและวางคางไว้ที่พ้ืน ส่วนการหลับมีลักษณะเดียวกับการหมอบ และพบได้
น้อยมากในชว่ งกลางวัน สว่ นใหญ่จะพบในชว่ งเชา้ มืด

2. พฤตกิ รรมการกนิ อาหารและน้า
เลยี งผาจะกนิ อาหารบ่อยครัง้ ทง้ั กลางวนั และกลางคืน ก่อนเวลาอาหารจะ

มอี าการกระวนกระวายเล็กนอ้ ย เดนิ วนเวียนเข้าไปในคอกอาหารเสมอ ๆ อาหารที่
เลียงผากินได้แก่ ใบไม้อ่อน หน่อพืชบางชนิดโดยเฉพาะอย่างย่ิงท่ีมีกลิ่นหอม
รวมท้ังกินหญ้า เปลือกไม้ และก่ิงไม้ เลียงผาจะด่ืมน้าเฉลี่ยวันละ 280 ลูกบาศก์
เซนติเมตร โดยใชเ้ วลากนิ น้าประมาณ 50 วนิ าทีถงึ 2 นาที

3. พฤตกิ รรมการขับถ่าย
การขับถ่ายสามารถแบ่งได้เป็น 2 จ้าพวกด้วยกัน คือ การถ่ายอุจจาระ

และปัสสาวะ ซงึ่ การขับถ่ายของแต่ละเพศนั้นมีความแตกต่างกัน โดยในตัวเมียการ
ขับถ่ายปัสสาวะมักจะย่อขาหลังลงจนก้นเกือบติดพื้นดิน แต่ในตัวผู้จะย่อขาหลังลง
เพยี งเล็กน้อยเท่าน้ัน ส่วนการขับถา่ ยอุจจาระน้ันในตวั เมียและตัวผู้จะเหมือนกันคือ
ยอ่ ขาหลงั ลงเล็กน้อยและกระดกหางข้ึน การขับถ่ายอุจจาระของเลียงผาจะขับถ่าย
ในที่เดมิ ซา้ ๆ โดยเฉล่ยี นา้ หนกั มลู ประมาณ 651 กรัม แต่การถ่ายปัสสาวะจะไม่ซ้า
ท่เี ดิม

การขบั ถ่ายปสั สาวะของเลียงผาเพศเมีย

4. พฤติกรรมการเคล่ือนที่

การยืน เดิน และว่ิง โดยปกติแล้วจะพบการยืนและเดินเป็นส่วนใหญ่ ส่วน
การวิ่งน้ันพบได้น้อยมาก และมักจะวิ่งในระยะส้ันๆ ลักษณะการเดินของเลียงผาจะ
กา้ วขาในลกั ษณะขาหน้ากับขาหลังท่ีกันข้ามกันจะก้าวพร้อมกัน เช่น ก้าวขาหน้าข้าง
ซ้ายพร้อมกับขาหลงั ข้างขวา ส่วนการว่ิงจะวิ่งในลักษณะการวิ่งกวด โดย ก้าวขาหน้า
ท้ัง 2 ข้างไปพร้อมกันจากน้ันจึงใช้ขาหลังท้ัง 2 ข้างดันพ้ืนพร้อมๆกันเพื่อกระโจนไป
ขา้ งหนา้

5. พฤติกรรมเพอ่ื ความสบายตวั

การเลีย การเกา และการลับเขา การเลียส่วนใหญ่เลียงผาจะเลียบริเวณขา
และล้าตัว สว่ นการเกาเลียงผาจะใช้ขาหลังข้างใดข้างหนึ่งขึ้นมาเกาในบริเวณท่ีคันซ่ึง
ส่วนใหญจ่ ะเปน็ บรเิ วณทอ้ งและหลงั ใบหู ส่วนการลับเขาจะพบในตัวผู้มากกว่าตัวเมีย
โดยเลียงผาจะย่อขาหน้าลง และก้มหัวเพ่ือใช้เขาถูกับต้นไม้ เสากรง หรือรากของ
ต้นไมท้ ่ีโผล่ขนึ้ มาบนพน้ื ดนิ เปน็ ต้น

6. พฤตกิ รรมทางเพศ

การเก้ียวและการผสมพันธ์ุ การเกี้ยวพบในเฉพาะตวั ผู้โดยท่ีตัวผู้จะเข้าไปเลีย
หรือดมก้นตัวเมีย และใช้ขาหน้าข้างใดข้างหน่ึงสะกิดบริเวณท้องของตัวเมีย หากตัว
เมียพร้อมท่ีจะผสมพันธ์ุจะย่อขาหลังลงเล็กน้อยเพ่ือให้ตัวผู้ขึ้นผสมพันธ์ุ แต่หากตัว
เมียไม่พร้อมท่ีจะผสมพันธุ์ก็จะเดินหนีตัวผู้ไป ส่วนพฤติกรรมการผสมพันธุ์ตัวเมียจะ
ย่อขาหลังลงและตัวผู้จะใช้ขาหน้าท้ัง 2 ข้าง เกาะบริเวณข้างล้าตัวของตัวเมียไว้
จากน้ันจึงสอดใสอวัยวะเพศผู้เข้าไปในอวัยวะเพศเมีย พฤติกรรมการผสมพันธุ์น้ีใช้
เวลาประมาณ 10 วินาทีเท่าน้ัน โดยพฤติกรรมการผสมพันธ์ุน้ีพบมากท่ีสุดในเดือน
พฤศจิกายน

7. พฤติกรรมก้าวรา้ ว

เลียงผาจะก้มหัวโดยหันเขาให้กับส่ิงมีชีวิตตัวอื่นเพ่ือเป็นการข่มขู่ พร้อมกับ
การใชข้ าหนา้ ข้างใดขา้ งหน่ึงตะกุยพื้นดินและพ่นลมหายใจออกทางจมูกอย่างแรง ใน
กรณีที่เกิดความก้าวร้าวอย่างรุนแรง เช่นเกิดการแย่งอาหารกัน จะพบว่าเลียงผาจะ
ยกล้าตัวด้านหน้า และใช้ขาหน้าทั้ง 2 ข้างกระทืบพ้ืนดินอย่างรุนแรง และก้มหัวเพ่ือ
เป็นการข่มขู่ดว้ ย

8. พฤตกิ รรมการวางอาณาเขต

เลียงผาท้ังเพศผู้และเพศเมีย มีต่อมน้ามันอยู่ใต้ตาทั้ง 2 ข้าง เม่ือเลียงผาจะ
วางอาณาเขตเลียงผาจะเดินไปรอบๆกรงและใช้ต่อมน้ามันบริเวณใต้ตาถูกับส่ิงของ
ต่างๆ ภายในกรง เชน่ เสากรง ประตกู รงหรือลา้ ต้นไม้ เปน็ ตน้

การเล้ยี งเลียงผาในสภาพกรงเลีย้ ง
ของสานักงานเชียงใหมไ่ นทซ์ าฟารี

1. การทาความสะอาดโรงเรอื นเลี้ยงเลยี งผา
คอกเล้ียง
คอกสว่ นแสดง


Click to View FlipBook Version