Best Practiceแบบรายงานผปลกเพ่ือขอรับรางวัล วธิ ปี ฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลิศ b
การนาหลกั สูตรสถานศึกษา สู่การจดั กจิ กรรมการเรียนนการสอนท่ีปะสบผลสาเรจ็
กล่มุ การงานอาชีพ ระดับ ม.ตน้
ครูชำนำญกำร กล่มุ สำระกำรเรียนรูก้ ำรงำนอำชีพแบบรายงานผลเพอ่ื ขอรับรางวัลวิธีปฏิบตั ทิ ีเ่ ป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สตู รสถานศึกษา สู่การจดั กิจกรรมการเรียนนการสอน
ทป่ี ะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศึกษา 2564 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรยี นบำ้ นนำ้ อ้อม ต.นำ้ ออ้ โมรงเรียอนบ.า้เนกนษา้ อ้อตมรกวลมุ่ สิสายัระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
ก
คำนำ
นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน เรื่อง การเตรียมอาหารและหลักการประกอบอาหารโดย
ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ Active learning และสือ่ ผสม เปน็ นวัตกรรมที่คดิ ค้นและพัฒนาขน้ึ เพ่ือใช้แก้ปัญหา
ทีพ่ บในการจัดการเรยี นการสอนราย วชิ าการการงานอาชีพ 1 รหสั วชิ า ง 21101 ในนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษา
ปที ี่ 1 โรงเรยี นบา้ นน้าออ้ ม ที่มนี ักเรยี นบางส่วนมาพัฒนาเพือ่ ใหน้ ักเรยี นกลมุ่ ดังกล่าวมีผลสมั ฤทธแิ์ ละมีทักษะ
ความรเู้ รอ่ื งการเตรยี มอาหารและหลักการประกอบอาหารเพิ่มข้นึ
ขอขอบคุณ ผู้บริหาร และบุคลากรโรงเรียนบ้านน้าอ้อม และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ให้ความ
ร่วมมือในการขับเคล่ือนนวัตกรรมจนประสบความสาเร็จ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นวัตกรรมการจัดการเรียนการ
สอน เรื่อง การเตรียมอาหารและหลักการประกอบอาหารโดย ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ Active learning
และส่ือผสม จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนและหน่วยงาน หรือผู้ท่ีสนใจ ในการนาไปประยุกต์ใช้เพ่ือพัฒนาและ
แกป้ ัญหาในด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตอ่ ไป
เพชรรตั น์ ไชยชาญรมย์
แบบรายงานผลเพื่อขอรบั รางวลั วิธปี ฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศึกษา สกู่ ารจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศึกษา 2564 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต 2
โรงเรียนบา้ นนา้ อ้อม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
สำรบัญ ข
เร่อื ง หน้ำ
1
๑. ช่ือผลงาน 1
๒. ความสาคญั ของผลงาน นวตั กรรมหรือวธิ ีปฏบิ ตั ทิ น่ี าเสนอ 6
๓. จุดประสงค์ เป้าหมายและขอบเขตของการดาเนนิ งาน 7
๔. กระบวนการดาเนนิ งาน 12
๕. ผลการดาเนินงาน 13
๖. ปจั จัยความสาเรจ็ 14
๗. บทเรยี นที่ไดร้ บั (Lesson Learned) 14
๘. การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรับ/รางวัลทไ่ี ด้รบั 15
๙. ภาคผนวก 28
๑๐.บทความแรงบนั ดาลใจ 29
๑๑.บรรณานกุ รม
แบบรายงานผลเพื่อขอรบั รางวัลวธิ ปี ฏิบัตทิ ่ีเป็นเลศิ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศกึ ษา สกู่ ารจัดกิจกรรมการเรยี นนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาร้อยเอด็ เขต 2
โรงเรยี นบ้านน้าออ้ ม กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
1
แบบรำยงำนประวตั แิ ละผลงำนเพื่อพจิ ำรณำคัดเลอื กวิธปี ฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice)
กำรนำหลักสตู รสถำนศกึ ษำสกู่ ำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนท่ีประสบผลสำเรจ็
สำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำรอ้ ยเอด็ เขต ๒
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ : การงานอาชีพ .
ชื่อผลงำน : การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เรื่อง การเตรยี มอาหารและหลักการประกอบอาหารโดยการใช้
รูปแบบการเรียนรู้แบบ Active learning และส่ือผสม
ชือ่ ผู้เสนอผลงำน : นางสาวเพชรรัตน์ ไชยชาญรมย์ ตำแหน่ง : ครูชานาญการ โรงเรยี น : บ้านน้าออ้ ม
สังกัด : สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2
โทรศพั ทม์ ือถือ : 0809551879 e-mail: [email protected]
ประเภท : มัธยมศึกษาตอนตน้
ขนาดเลก็
ขนาดกลาง
ขนาดใหญ่
1. ควำมสำคญั ของผลงำน นวัตกรรมหรือวธิ ีปฏบิ ัติทน่ี ำเสนอ
1.1 เหตผุ ล ควำมจำเปน็ ปัญหำหรอื ควำมต้องกำรท่ีจดั ทำผลงำนนวัตกรรม
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านน้าอ้อมได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความรู้
ความสามารถ มที ักษะการเรยี นทสี่ าคญั มกี ระบวนการคดิ อย่างมีเหตุมผี ล มโี อกาสใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ
เทคโนโลยีการส่ือสาร และส่งเสริมจิตใจ เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียน
อยากรู้อยากเห็น สร้างความม่ันใจและให้กาลังใจในการเรียนรู้และเป็นบุคคลที่สามารถเรียนรู้ได้
ตลอดเวลาซ่ึงรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ เป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้
ความ เข้าใจมีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นตอ่ การดารงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนาความรู้
เก่ียวกับการดารงชวี ิต อาชีพ และเทคโนโลยี มาประยุกต์ใชใ้ นการทางานอย่างมีความคิดสรา้ งสรรค์และ
แขง่ ขนั ในสังคมไทยและสากล เป็นแนวทางในการประกอบอาชพี รักการทางาน และมเี จตคติที่ดตี ่อการ
ทางาน สามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียงและมีความสุข (ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
,2551: 1)
การการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปัจจุบัน พบว่านักเรียนบางส่วนยังไม่รู้วิธีและไม่
สามารถ จดั เตรียมอาหารก่อนปรุงทถ่ี ูกวธิ ี อกี ทั้งยงั ขาดพน้ื ฐานในด้านการปรุงและประกอบอาหารท่ีถูก
สุขลักษณะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใน เรื่อง การเตรียมอาหารและหลักการประกอบ
อาหารต่ากว่าเกณฑ์และขาดความเข้าใจในเร่ืองการเตรียมอาหารและหลักการประกอบอาหาร ซึ่งการ
วิจยั ในครั้งนเ้ี ป็นการนาปัญหาที่พบในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการวานอาชีพ 1 ในนกั เรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ที่มีนักเรียนบางส่วนมาพัฒนาเพ่ือให้นักเรียนกลุ่มดังกล่าวมีผลสัมฤทธิ์และมีทักษะ
ความร้เู รื่องการเตรยี มอาหารและหลักการประกอบอาหารเพ่ิมขนึ้
แบบรายงานผลเพอื่ ขอรับรางวลั วธิ ีปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลศิ Best Practice การนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา สูก่ ารจดั กิจกรรมการเรียนนการสอน
ทีป่ ะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาร้อยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบ้านน้าอ้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชพี
2
ด้วยเหตุผลน้ีจึงเป็นท่ีมาของความสาคัญที่ผู้วิจัยสนใจที่จะนารูปแบบการสอนแบบ Active
learning และสือ่ ผสมมาใช้กับการจดั การเรยี นการสอน เรอ่ื ง การเตรียมและวิธกี ารประกอบอาหารซึง่
เปน็ ส่วนหนึง่ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นบ้านนน้าอ้อม
ประจาภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและ
พัฒนาทักษะการคิด ทักษะการลงมือปฏิบัติ ทักษะการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม โดยจัดการเรียนรู้แบบ
Active learning และส่ือผสม เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักการเตรียมและวิธีการประกอบ
อาหารมากขนึ้
1.2 แนวคิดหลักกำรสำคัญที่เกีย่ วข้องกบั ผลงำนหรอื นวตั กรรม
1.2.1 การเรียนรู้แบบใฝ่รู้ (Active Learning)
(Active Learning) เป็นการเรียนร้ทู ี่พัฒนาทักษะความคิดระดับสูงอย่างมีประสทิ ธภิ าพชว่ ยให้
ผู้เรียนวิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินข้อมูลในสถานการณ์ใหม่ได้ดีในท่ีสุดจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
แรงจูงใจจนสามารถช้ีนาตลอดชีวิตในฐานะผู้ฝักใฝ่การเรียนรู้ ธรรมชาติของการเรียนรู้แบบ Active
Learning ประกอบดว้ ยลกั ษณะสาคญั ตอ่ ไปนี้
1. เป็นการเรยี นรู้ทม่ี งุ่ ลดการถา่ ยทอดความรู้จากผ้สู อนส่ผู ู้เรียนใหน้ อ้ ยลงและพฒั นา
ทกั ษะใหเ้ กดิ กบั ผู้เรียน
2. ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในชนั้ เรียนโดยลงมอื กระทามากกว่าน่งั ฟังเพยี งอย่างเดยี ว
3. ผเู้ รียนมสี ่วนในกจิ กรรมเชน่ อ่านอภิปรายและเขียน
4. เน้นการสารวจเจตคติและคุณค่าที่มีอยูใ่ นผูเ้ รียน
5. ผู้เรียนไดพ้ ัฒนาการคดิ ระดับสูงในการวิเคราะหส์ งั เคราะหแ์ ละประเมนิ ผล
การนาไปใช้และ
6. ทง้ั ผ้เู รียนและผู้สอนรบั ขอ้ มลู ปอ้ นกลับจากการสะท้อนความคดิ ได้อยา่ งรวดเร็ว
การเรียนรู้แบบใฝ่รู้ ถือได้ว่าเป็นการเรียนรูท้ ี่ต้องการกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีหลากหลายที่
จะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองผ่านการจัดการตนเองให้ความรู้และช่วยพัฒนาเพ่ือนร่วมชั้นซ่ึงจะ
ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์พัฒนาความรู้ความเข้าใจและทักษะที่หลากหลายเป็นกระบวนการที่ประณีต
รัดกุมและผู้เรียนได้รับประโยชน์มากกว่าการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นฝ่ายรับความรู้อาจนามาขยายความให้
เห็นเป็นลกั ษณะสาคญั ของการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดด้ งั น้ี
1. เป็นการเรยี นการสอนที่พฒั นาศกั ยภาพทางสมองได้แก่การคดิ การแกป้ ัญหาและ
การนาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้
2. เป็นการเรยี นการสอนท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนมีส่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรสู้ งู สุด
3. ผเู้ รียนสรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละจดั ระบบการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง
4. ผ้เู รยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นการสอนท้ังในดา้ นการสรา้ งองคค์ วามรูก้ ารสร้าง
ปฏิสัมพนั ธร์ ่วมกันร่วมมอื กนั มากกวา่ การแขง่ ขัน
5. ผเู้ รยี นเรียนรู้ความรบั ผิดชอบร่วมกนั การมีวนิ ยั ในการทางานการแบ่งหน้าท่ีความ
รับผิดชอบ
6. เปน็ กระบวนการสรา้ งสถานการณใ์ หผ้ เู้ รยี นอา่ นพูดฟังคิดอยา่ งล่มุ ลกึ ผ้เู รยี นจะเป็น
ผู้จัดระบบการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
แบบรายงานผลเพื่อขอรบั รางวลั วธิ ปี ฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา สกู่ ารจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาร้อยเอด็ เขต 2
โรงเรยี นบา้ นนา้ ออ้ ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ
3
7. เปน็ กิจกรรมการเรียนการสอนเน้นทกั ษะการคิดขนั้ สงู
8. เปน็ กิจกรรมทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นบูรณาการขอ้ มลู ข่าวสารหรอื สารสนเทศและ
หลักการความคดิ รวบยอด
9. ผสู้ อนจะเปน็ ผอู้ านวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรเู้ พอ่ื ให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏบิ ัติ
ด้วยตนเอง
10.ความร้เู กดิ จากประสบการณก์ ารสร้างองค์ความรู้และการสรปุ ทบทวนของผเู้ รียน
การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองจากการเรียนรู้ แบบใฝ่รู้ มีส่วนปร ะกอบ
สาคัญ ได้แก่ การมีวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ (Appealing Materials) ผู้เรียนมีโอกาสลงมือปฏิบัติ
(Opportunities for Manipulation) ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การเลือกกิจกรรมและกลวิธีการแก้ปัญหา
ด้วยตนเอง (Choices for Children) ผู้เรียน ได้ส่ือสารเก่ียวกับสิ่งที่กาลังทากับผู้อื่นการเรียนรู้ที่
กระตือรือร้นการประเมินการจัดห้องเรียนกาหนดการประจาวันปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอน ผู้เรียน
เน้ือหา การจัดการเรียนการสอน ซ่ึงการเรียนรู้แบบใฝ่รู้จะมีความยืดหยุ่นสูงสามารถปรับวิธีการใช้
กิจกรรมและแหลง่ เรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย ซ่ึงทาได้มากกว่าการสอนแบบบรรยายนนั่ เอง
1.2.2 สื่อกำรเรียนกำรสอน
สื่อการสอนและประเภทของสื่อการสอน ความหมายของส่ือการสอน ส่ือการสอน
(Instructional Media) หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ท่ี ใช้เป็นเครื่องมือ หรือช่องทางสาหรับทาให้การ
สอนของครูไปถึงผู้เรียน และทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ตาม จุดประสงค์หรือจุดมุ่งหมายท่ีวางไวเป็น
อย่างดีส่ือท่ีใช้ในการสอนน้ีอาจจะเป็นวัตถุสิ่งของที่มี ตัวตน หรือไม่มีตัวตนก็ได้เช่น - วัตถุ
สิ่งของตามธรรมชาติ- ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ - วัตถุ ส่ิงของที่คิดประดิษฐ์หรือสร้างข้ึน
สาหรับการสอน -คาพูดท่าทาง - วัสดุ และเคร่ืองมือสื่อสาร - กิจกรรมหรือกระบวนการ
ถา่ ยทอดความรู้ต่าง ๆ
1. ประเภทของส่ือกำรสอน ในทางเทคโนโลยีการศึกษา สามารถจาแนกประเภท
ของสือ่ การสอนได้ดงั น้ี
1) เครื่องมือหรืออุปกรณ์ (Hardware) ได้แก่ สื่อประเภทท่ีใช้กลไกทาง
อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละไฟฟ้า เช่น เครอื่ งฉายเครือ่ งเสยี งคอมพิวเตอรเ์ ป็นตน้
2) วัสดุ (Software) ได้แกส่ือประเภทที่มีลักษณะ ดังน้ีใช้ควบคู่กับ เคร่ืองมือ
และอุปกรณ์เช่น ฟิล์ม แผ่นโปร่งใส สไลด์เทป ฯลฯ ใช้ตามลาพังของตนเอง
เชน่ กระดาษ รูปภาพ แผนท่ี ลูกโลก หนังสอื ฯลฯ
3) วิธีการ (Techniques or Methods) ได้แก่กระบวนการหรือกรรมวิธีซ่ึงใน
บางครั้งอาจต้องใช้วัสดุและเครื่องมือประกอบกัน เพ่ือให้การเรียนการสอน
บรรลุวัตถุประสงค์ท่ี ต้องการได้แก่การแสดงละครการเชิดหุ่น การสาธิต
การศึกษานอกสถานที่การจัดนิทรรศการ การ ใช้คอมพิวเตอร์ ชุดการสอน
แบบศนู ย์การเรยี น
แบบรายงานผลเพอ่ื ขอรบั รางวัลวิธปี ฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice การนาหลกั สตู รสถานศึกษา สกู่ ารจดั กิจกรรมการเรียนนการสอน
ทีป่ ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบา้ นน้าออ้ ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
4
2. หลกั กำรใช้สือ่ กำรเรียนกำรสอน การใช้สอ่ื การสอน เพอื่ ใหม่ประสิทธิภาพ
ควรปฏิบตั ิตามข้นั ตอน ดังน้ันขนั้ ตอนท่ี1 ขนั้ เลือกสอ่ื การเรยี นการสอน มแี นวทางดังน้ี
1) ความสัมพันธ์กับหลักสูตร/เน้ือหาวิชา โดยพิจารณาจากความสอดคล้องกับ
จดุ ประสงคแ์ ล ผเู้ รยี น เหมาะกบั เวลา สถานท่ีและน่าสนใจ
2) ความสัมพันธ์กับคุณภาพทางเทคนิค โดยคา นึกถึงความทันสมัยราคา
ความปลอดภัย
3) ความสัมพันธก์ บั ครูผโู้ ดยเน้น ในเรื่องความรู้จักทักษะการใช้ความเข้าใจ สื่อท่ี
ใช้เป็นอย่างดี
2.1 ขนั้ เตรียมกำรใช้สอ่ื กำรสอน
2.1.1 เตรียมครูผู้สอน
2.1.2 เตรยี มผู้เรียน
2.1.3 เตรยี มสถานท่ี
2.1.4 เตรยี มสอ่ื
2.2 ขน้ั แสดงสอื่ กำรสอนในชัน้ เรยี น โดยดำเนินกำรในด้ำน
2.2.1 ให้ผู้เรยี นมสี ว่ นรว่ ม
2.2.2 ใช้ในเวลาทเี่ หมาะสม
2.2.3 สังเกตการตอบสนองของผ้เู รยี น ข้ัน ตอนท่ี
2.3 ขั้นติดตำมผล
2.3.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั จากการใช้สือ่
2.3.2 ผลการใช้ส่ือ เพอื่ ปรับปรุงและพฒั นา
2.4 ประโยชนแ์ ละคณุ ค่ำของส่ือกำรเรียนกำรสอน
สือ่ การสอนมีประโยชนต์ อ่ กระบวนการเรียนการสอน ดังนี้
2.4.1 ทาให้เนอ้ื หาความรูท้ ส่ี อนมีความหมายตอ่ ผเู้ รยี น
มากข้ึน
2.4.2 ทาใหผ้ เู้ รียนเรียนร้ไู ด้ในปริมาณทม่ี ากข้นึ ในเวลา
ที่กาหนด
2.4.3 เร้าความสนใจของผ้เู รียน 2.4.4 เปน็ เครอ่ื งชี้แนะ
การตอบสนองของผูเ้ รียนไมว่ า่ จะเป็นการสอน
แบบใด
2.4.5 ทาใหผ้ ูเ้ รยี นไดพ้ ฒั นาทกั ษะและกระบวนการต่าง ๆ
ในการแกป้ ญั หา
2.4.6 เอาชนะขดี จากดั ต่าง ๆ ทางกายภาพ เชน่
- ทาสงิ่ ท่ีซบั ซอ้ นใหง้ า่ ยข้นึ
- ทานามธรรม ให้เป็นรปู ธรรม
- ทาสงิ่ ท่ีเคล่ือนไหวใหเ้ รว็ ขึ้นหรือชา้ ลงได้
แบบรายงานผลเพอื่ ขอรบั รางวลั วิธปี ฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลศิ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศกึ ษา สู่การจัดกิจกรรมการเรียนนการสอน
ทปี่ ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต 2
โรงเรยี นบา้ นนา้ อ้อม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ
5
- ขยาย หรือย่อขนาดของสอ่ื ให้ การศึกษาได้
- นาอดตี มาศึกษาได้
- นาสิ่งที่อู่ไกลหรอื ล้ลี บั มาศึกษาได้
2.4.7 เปน็ เครือ่ งมือของครูในการวนิ ิจฉยั ผลการเรยี นและ
ช่วยการสอนได้
1.2.3 วงจรคณุ ภำพ PDCA
วงจรคุณภาพ PDCA วงจรบริหารสี่ขั้นตอนทป่ี ระกอบไปดว้ ย Plan (การวางแผน)
Do (ปฏิบัติ) Check (ตรวจสอบ) และ Action (การดาเนินการ) วงจรการบริหารงานคุณภาพใช้ในการควบคุม
และพัฒนากระบวนการ PDCA ทง้ั สีข่ นั้ ตอนเปน็ กระบวนการทสี่ ามารถทาซา้ ได้ เพอ่ื ใหส้ ถานศึกษาสามารถริหาร
ความเปลย่ี นแปลงไดอ้ ยา่ งประสบความสาเรจ็ วงจรการควบคุมคณุ ภาพมีรายละเอยี ด ดังน้ี
Plan (วางแผน) หมายถงึ การวางแผ่นการดาเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถงึ การ
กาหนดหัวข้อท่ีต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาส่ิงใหม่ๆ การแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการ
ปฏิบัติงาน อาจประกอบด้วย การกาหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน Plan การจัดอันดับ
ความสาคัญของ เป้าหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน กาหนดผู้รับผิดชอบหรือ
ผู้ดาเนินการและกาหนดงบประมาณท่ีจะใช้ การเขียนแผนดังกล่าวอาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของ
ลักษณะการดาเนินงาน การวางแผนยังช่วยให้เราสามารถคาดการณ์สิ่งท่ีเกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความ
สูญเสียต่าง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ได้
Do (ปฏิบตั ิตามแผน) หมายถงึ การดาเนนิ การตามแผน อาจประกอบด้วยการม
โครงสรา้ งรองรบั การดาเนินการ มวี ิธกี ารดาเนินการและมีผลของการดาเนนิ การ
Check (ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามแผ่น) หมายถึง การประเมนิ แผน อาจประกอบด้วย
การประเมินโครงสร้างที่รองรับ การดาเนินการ การประเมินข้ันตอนการดาเนินงาน และการประเมินผลของ
การดาเนินงานตามแผนท่ีได้ต้ังไว้ โดยในการประเมินดังกล่าวสามารถทาได้เอง โดยคณะกรรมการท่ีรับผิดชอบ
แผนการดาเนินงานน้ัน ๆ ซ่ึงเป็นลักษณะของการประเมินตนเอง โดยไม่จาเป็นต้องตั้งคณะกรรมการ อีกชุดมา
ประเมินแผน หรอื ไม่จาเป็นตอ้ งคิดเครือ่ งมอื หรือแบบประเมินทย่ี งุ่ ยากซบั ซ้อน
Act (ปรับปรงุ แก้ไข) หมายถึง การนาผลการประเมนิ มาพฒั นาแผน อาจประกอบด้วย
การนาผลการ ประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้าง หรือขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งทีด่ ี
อยูแ่ ลว้ ใหด้ ีย่งิ ข้นึ ไปอีก และสงั เคราะห์รปู แบบ การดาเนินการใหมท่ เี่ หมาะสม สาหรบั การดาเนินการ ในปตี ่อไป
ดังน้ันการจัดเรียนการสอนแบบ Active learning และส่ือผสมจึงเหมาะกับการฟเปิดโอกาสให้นักเรยี น
ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและพัฒนาทักษะการคิด ทักษะการลงมือปฏิบัติ ทักษะการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม
เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักการเตรียมและวิธีการประกอบอาหารมากขึ้นและใช้วงจรตรวจสอบ
คุณภาพ PDCA มาพัฒนาคุณภาพของงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
พัฒนาการเรียนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน พร้อมท้ังยังเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑
นี้อกี ดว้ ย
แบบรายงานผลเพอ่ื ขอรับรางวลั วธิ ีปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สตู รสถานศึกษา สูก่ ารจดั กิจกรรมการเรียนนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศกึ ษา 2564 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน้ สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอ็ด เขต 2
โรงเรยี นบา้ นนา้ อ้อม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
6
กรอบแนวคดิ กำรวิจัย ตวั แปรตำม
ตัวแปรต้น - ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี นเรื่อง การ
การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรอ่ื ง การ เตรยี มอาหารและหลักการประกอบอาหาร ใน
เตรียมอาหารและหลักการประกอบอาหารโดยการ รายวชิ า การงานอาชีพ 1
ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ Active learning และ
สื่อผสม - ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนดว้ ยรปู แบบ Active learning และส่อื ผสม
2. จดุ ประสงค์ เปำ้ หมำยและขอบเขตของกำรดำเนนิ งำน
ชื่อผลงาน : การเตรียมอาหารและหลักการประกอบอาหารโดยการใชร้ ปู แบบการเรยี นรแู้ บบ Active
learning และสอ่ื ผสม
2.1 จุดประสงค์
2.1.1. เพื่อสรา้ งและออกแบบกิจกรรมการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยรปู แบบ Active learning
และสื่อผสม ในหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอื่ ง การเตรียมอาหารและหลักการประกอบอาหาร
2.1.2 เพือ่ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรู้ เร่ืองการเตรยี มอาหารและหลักการประกอบ
อาหาร รายวิชา การงานอาชีพ 1 รหัสวิชา ง 21101 ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านน้าอ้อม
โดยการจัดการเรียนแบบ Active Learning และสอ่ื ผสม ก่อนและหลังการจดั เรียนรู้
2.1.3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อรูปแบบการสอนแบบ Active learning
และการใชส้ อ่ื ผสม
2.2 เป้ำหมำย
ดำ้ นปริมำณ
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านน้าอ้อม มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง
การเตรียมอาหารและหลักการประกอบอาหาร รายวิชา การงานอาชีพ 1 รหัสวิชา ง 21101 หลังเรียนเพ่มิ ขน้ึ
คิดเป็นร้อยละ 80
ด้ำนคณุ ภำพ
1. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง การเตรียมอาหารและหลักการ
ประกอบอาหารด้วยรูปแบบการสอนแบบ Active learning และการใช้ส่ือผสม ในรายวิชา การงานอาชีพ 1
รหัสวิชา ง 21101 อยใู่ นระดับคณุ ภาพ มาก
แบบรายงานผลเพอื่ ขอรบั รางวัลวธิ ีปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา สู่การจดั กิจกรรมการเรียนนการสอน
ทป่ี ะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศึกษา 2564 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบ้านนา้ ออ้ ม กล่มุ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ
7
2.3 ขอบเขตของกำรดำเนนิ งำน
1. ประชากรท่ีศึกษา คือ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนการงานอาชีพ 1
รหสั วชิ า ง 21101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ โรงเรยี นบา้ นนา้ อ้อม ประจาปีการศกึ ษา 2563
2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive
sampling) นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านน้าอ้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน เร่ือง การเตรียมอาหารและหลักการประกอบอาหาร รายวิชา
การงานอาชีพ 1 รหัสวิชา ง 21101 โดยการจัดการเรียนแบบ Active Learning และสื่อผสม ปีการศึกษา
2563 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 21 คน
3. กระบวนกำรดำเนินงำน
โรงเรียนบ้านน้าอ้อม เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ขนาดกลาง นักเรียนมีระดับผลการเรียน
ค่อนข้างต่าและปานกลาง บริบทสภาพครอบครัวยากจน ขาดแคลน นักเรีนส่วนใหญ่สามารถอ่านออกเขียนได้
ตามวัยและพัฒนาการ ซึ่งการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปัจจุบัน พบว่านักเรียนบางส่วนยังไม่รู้วิธีและ
ไม่สามารถ จัดเตรียมอาหารก่อนปรุงที่ถูกวิธี อีกท้ังยังขาดพ้ืนฐานในด้านการปรุงและประกอบอาหารที่ถูก
สขุ ลักษณะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน เรื่อง การเตรยี มอาหารและหลักการประกอบอาหารต่า
กวา่ เกณฑแ์ ละขาดความเข้าใจในเร่ืองการเตรยี มอาหารและหลักการประกอบอาหาร ซึ่งการวจิ ยั ในครง้ั น้ีเป็นการ
นาปัญหาที่พบในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการวานอาชีพ 1 ในนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1
ที่มีนักเรียนเพียงบางส่วน มาพัฒนาเพ่ือให้นักเรียนกลุ่มดังกล่าวมีผลสัมฤทธ์ิและมีทักษะ ความรู้เร่ืองการเตรียม
อาหารและหลักการประกอบอาหารเพ่ิมข้นึ โดยมีกระบวนการผลิตนวตั กรรมดงั น้ี
กลุ่มตัวอย่ำง
นกั เรียนกลุม่ ตวั อย่างคือ นักเรยี นระดบั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นน้าอ้อม ปีการศกึ ษา 2563
ภาคเรียนที่ 1 จานวน 21 คน
เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นกำรสร้ำงผลงำนนวตั กรรม
เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวิจัยจาแนกได้ 2 ประเภทคือ เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการปฏบิ ัตแิ ละเครอื่ งมือที่ใช้
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล มรี ายละเอยี ดดังนี้
เครอ่ื งมือที่ใช้ในกำรปฏิบัติ
1.) แผนการจดั การเรยี นรู้ เรอื่ งการเตรยี มและวธิ ีการประกอบอาหาร
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นกำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1.) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิการทางการเรียนรู้ เร่ือง การเตรียมและวิธกี ารประกอบ
อาหาร เป็นแบบทดสอบก่อนเรียนปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ กาหนดค่า คือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน
ตอบผดิ หรือไมต่ อบได้ 0 คะแนน
แบบรายงานผลเพอ่ื ขอรับรางวัลวิธปี ฏิบัตทิ เี่ ป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ส่กู ารจัดกิจกรรมการเรียนนการสอน
ท่ีปะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาร้อยเอด็ เขต 2
โรงเรยี นบา้ นน้าออ้ ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
8
2.) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้เรื่อง
การเตรียมและวิธีการประกอบอาหาร โดยการใช้ส่ือผสม มีลักษณะเป็นแบบมาตรประเมินค่า 5 ระดับ คือ 5
หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด 4 หมายถึง พึงพอใจมาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง พึงพอใจน้อย 1
หมายถึง พึงพอใจน้อยมาก โดยพิจารณาความคิดเห็นของนักเรียน 3 ด้านคือ (1) ด้านบรรยายกาศการเรียนรู้
(2) ดา้ นการจัดการเรียนรูแ้ ละ (3) ด้านประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการเรยี นรู้
3.1. กำรสร้ำงและหำคณุ ภำพเครือ่ งมือในกำรวิจยั
การสรา้ งออกแบบแผนการจัดการเรียนการสอน เร่อื ง การเตรียมและวธิ ีการประกอบอาหารและการใช้
สอื่ ผสม ผวู้ จิ ัยได้ดาเนนิ การดงั นี้
3.3.1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดการเรียนรู้เร่ือง การเตรียมและวิธีการประกอบอาหาร มี
ข้นั ตอนการสร้างและตรวจสอบคุณภาพ ดงั นี้
1.) ศึกษาเอกสารตาราและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
การจัดกจิ กรรมการเตรยี มและวธิ กี ารประกอบอาหาร และกระบวนการเรียนการสอน (P)
2.) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนบา้ นน้าออ้ ม : กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเอกสารประกอบการเรียน (P)
3.) วิเคราะห์และเลือกเน้ือหาสาระ เพื่อนามาสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีข้ันตอนการ
จัดการเรียนรู้ เรื่องการเตรียมและวิธีการประกอบอาหารโดยการใช้สื่อผสมที่มีความหลากหลายและ
มากกว่า 1 ชัน้ (D)
4.) สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดการเรียนรู้แบบ Active learning โดยการใช้สื่อผสมท่ีมี
ความหลากหลาย (D)
5.) นาแผนการจดั การเรียนรู้ท่จี ัดการเรียนรูแ้ บบ Active learning โดยการใชส้ อ่ื ผสมเสนอต่อ
ผ้เู ช่ยี วชาญจานวน 5 คน ไดแ้ ก่ ผ้เู ชยี่ วชาญดา้ นเนื้อหา 2 คน ด้านการจดั การเรียนรู้ 2 คน และดา้ นการวัดและ
ประเมนิ ผล 1 คน เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องทางภาษาและความเทีย่ งตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) แล้ว
นาผลการประเมินของผู้เช่ียวชาญมาคานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective
Congruence : IOC ) ซ่ึงค่าคานวณได้ต้ังแต่ 0.80 ขึ้นไปถือว่ามีความสอดคล้องอยู่ในเกณฑ์ท่ียอมรับได้ มี
เกณฑพ์ จิ ารณาดังนี้ (มาเรยี ม นลิ พันธุ์ 2549 : 177 ) (C)
+ 1 หมายถึง แน่ใจวา่ แผนการจดั การเรยี นรู้สอดคลอ้ งกบั ตัวชวี้ ดั
0 หมายถึง ไมแ่ นใ่ จว่าแผนการจดั การเรยี นรูส้ อดคลอ้ งกบั ตัวชวี้ ัด
- 1 หมายถึง แนใ่ จว่าแผนการจดั การเรียนรไู้ ม่สอดคลอ้ งกบั ตัวชี้วัด
แบบรายงานผลเพื่อขอรบั รางวัลวิธปี ฏิบัตทิ ่ีเป็นเลศิ Best Practice การนาหลกั สูตรสถานศึกษา ส่กู ารจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ทป่ี ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรยี นบ้านนา้ อ้อม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
9
จากสตู ร
IOC = ∑ R
N
IOC แทน ดชั นคี วามสอดคล้องของแผนการจัดการเรยี นรกู้ บั ตัวชีว้ ัด
∑ R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเหน็ ของผู้เชยี่ วชาญ
N แทน จานวนผู้เชย่ี วชาญ
จากการตรวจสอบคา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ งของผ้เู ชยี่ วชาญได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.80 ผวู้ จิ ยั นาข้อเสนอแนะ
ของผู้เช่ียวชาญมาปรับปรุงแก้ไขก่อนนาไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ (1) ระบุกิจกรรมท่ีครูและนักเรียน
ต้องปฏิบัติในข้ันตอนการสอนให้ชัดเจน (2) กาหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลการประเมินการเรียนรู้ใน
แผนการจัดการเรียนรใู้ ห้ชดั เจน
6.) นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดการเรียนรู้ เร่ือง การเตรียมและวิธีการประกอบอาหาร
ท่ีปรับปรุงแล้วไปใช้เป็นเคร่ืองมือในการวิจัยโดยใช้ทดลองกับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน
บ้านน้าอ้อม จานวน 16 คน ท่เี ป็นนักเรยี นกล่มุ ทดลอง (A)
3.3.2 การสร้างแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้เรื่อง การเตรียมและวิธีการประกอบอาหารเพื่อใช้
เป็นแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน มีข้นั ตอนการสรา้ ง ดงั น้ี
1.) ศึกษาหลักสตู รแกนกลางกรศึกษาขัน้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้การ
งานอาชีพ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านน้าอ้อม เกี่ยวกับเน้ือหาสาระการเตรียมและการประกอบอาหาร
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ และเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั วธิ ีการสรา้ งแบบทดสอบปรนัย (P)
2.) วิเคราะห์เน้ือหาสาระ ตัวช้ีวัด จุดประสงค์การเรียนรู้ เพ่ือพิจารณาระดับพฤติกรรมและ
ทักษะท่ีสัมพันธ์กับเนื้อหาและกิจกรรมแล้วสร้างตารางวิเคราะห์ข้อสอบ ( Test Blueprint) ที่วัดพฤติกรรมการ
เรียนรู้ 5 ระดบั คอื วัดความรคู้ วามจา ความเขา้ ใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ และการประเมนิ ค่า (P)
3.) สร้างแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้เรื่องการเตรียมและวิธีการประกอบอาหารจานวน
40 ข้อ ให้ครอบคลุมตามตัวชี้วัดโดยคาถามในแต่ละข้อมี 4 ตัวเลือกและมีตัวที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1
ตวั เลือกเทา่ นัน้ กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนคอื ตอบถกู ได้ 1 คะแนน คอื ตอบผดิ หรอื ไมต่ อบได้ 0 คะแนน (D)
4.) นาแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ เรื่อง การเตรียมและวิธีการประกอบอาหาร เสนอต่อ
ผูเ้ ช่ียวชาญจานวน 5 คน ไดแ้ ก่ ผู้เช่ียวชาญด้านเน้ือหา 2 คน ด้านการจดั การเรียนรู้ 2 คน และดา้ นการวัดและ
ประเมินผล 1 คน เพ่ือตรวจสอบแล้วนาผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาคานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง
(Index of Item Objective Congruence : IOC) เป็นรายข้อ ข้อสอบท่ีมีค่าดัชนีความสอดคล้องต้ังแต่ 0.80
ขนึ้ ไปถอื วา่ มีความสอดคล้องอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (มาเรยี ม นลิ พนั ธ์ุ 2549 : 177) ใช้เกณฑ์ในการพจิ ารณา
ดังน้ี (C)
+ 1 หมายถึง แนใ่ จวา่ แผนการจดั การเรยี นรู้สอดคลอ้ งกบั ตัวชวี้ ดั
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าแผนการจัดการเรยี นร้สู อดคลอ้ งกับตวั ชวี้ ัด
-1 หมายถงึ แนใ่ จว่าแผนการจดั การเรียนรูไ้ ม่สอดคลอ้ งกบั ตัวชี้วัด
แบบรายงานผลเพ่ือขอรับรางวลั วธิ ปี ฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice การนาหลักสูตรสถานศึกษา ส่กู ารจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ท่ปี ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2
โรงเรียนบา้ นน้าออ้ ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี
10
จากการตรวจสอบค่าดชั นีความสอดคล้องของผู้เชีย่ วชาญได้คา่ เฉล่ยี เท่ากับ 0.80 ซง่ึ ถอื ว่าแบบทดสอบ
มคี วามสอดคลอ้ งอยใู่ นเกณฑ์ ซง่ึ ผูว้ จิ ยั ได้นาขอ้ เสนอแนะของผู้เชยี่ วชาญมาปรบั ปรงุ แก้ไขก่อนนาไปทดลองใช้กับ
นักเรียนท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างซึ่งเคยเรียนเน้ือหานี้ผ่านไปแล้ว โดยปรับดังนี้ 1. ปรับภาษาท่ีใช้ในข้อสอบ
2. ปรบั ตวั เลอื กโดยจดั เลยี งลาดับความยางของตัวเลือก จากส้นั ไปยาว หรอื ยาวไปส้นั
5.) นาแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ เรือ่ ง การเตรียมและวธิ ีการประกอบอาหารไปทดลองใช้
(Tryout) กับนักเรียนซึ่งไม่ใช่นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จานวน 16 คน เพื่อให้ทาแบบทดสอบท่ีผ่านการหาค่าดัชนี
ความสอดคล้องต้ังแต่ 0.08 ขึ้นไปเพ่ือนาผลมาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) ระหว่าง ค่าอานาจจาแนก (r)
เพื่อเลือกข้อสอบที่มีความยากง่ายระหว่าง 0.23 - 0.80 ค่าอานาจจาแนกต้ังแต่ 0.30 ข้ึนใช้และค่าความ
เชอื่ ม่ันต้ังแต่ 0.70 ขึน้ ไป เพอื่ นาขอ้ สอบไปใชเ้ ป็นขอ้ สอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน (C)
6.) นาแบบทดสอบวดั ผลการเรยี นรเู้ รอื่ ง การเตรยี มและวิธีการประกอบอาหารทป่ี รับปรงุ แก้ไข
แล้วไปทดลองใชจ้ รงิ กับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 กล่มุ ตัวอยา่ งจานวน 21 คน (A)
3.3.3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เรื่องการเตรียมและ
วิธีการประกอบอาหารโดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning และส่ือผสม เพ่ือใช้สอบถามความ
คดิ เห็นของนักเรียนหลังจบการทดลองมีข้ันตอนการสรา้ งดงั นี้
1.) ศกึ ษาแนวคดิ หลกั การ ทฤษฎี รูปแบบวธิ กี ารสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจจากหนังสือ
เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้อง (P)
2.) ข้อมลู ท่ไี ด้จากการศึกษามาสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ
เรียนรู้ เรื่องการเตรียมและวิธีการประกอบอาหารโดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning และ
ส่ือผสม มีลักษณะเป็นแบบมาตรประเมินค่า 5 ระดับ หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด 4 หมายถึง พึงพอใจมาก 3
หมายถึง พึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง พึงพอใจน้อย 1 หมายถึง พึงพอใจน้อยที่สุด ซึ่งสอบถามความพึง
พอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานในด้าน (1) บรรยากาศการเรียนรู้ (2) ด้านการจัดการ
เรียนรู้และ (3) ด้านประโยชน์ท่ีได้รับจากการเรียนรู้ โดยใช้เกณฑ์การแปลระดับความพึงพอใจของเบส (Best
1981 : 147 อ้างถึงใน ดวงพร อม่ิ แสงจนั ทร์ 2554 : 111) ดังนี้ (D)
คา่ เฉล่ีย 4.50 – 5.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจระดับมากทีส่ ุด
คา่ เฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจระดับมาก
ค่าเฉล่ีย 2.50 – 3. 49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจระดบั ปานกลาง
ค่าเฉล่ีย 1.50 – 2. 49 หมายถึง มีความพงึ พอใจระดับนอ้ ย
คา่ เฉลี่ย 0.00 – 1.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจระดบั น้อยมาก
3.) นาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้ต่อการจัดการเรียนรู้
เรื่องการเตรียมและวิธีการประกอบอาหารโดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning และสื่อผสม
เสนอต่อผู้เชีย่ วชาญจานวน 5 คน ไดแ้ ก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนอ้ื หา 2 คน ดา้ นการจดั กาเรียนรู้ 2 คน และด้านการ
วัดและประเมินผล 1 คน เพ่ือตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (Content Validity) ภาษาและเกณฑ์การให้
คะแนนของรายการประเมินแล้วนาผลการประเมินของผเู้ ชี่ยวชาญมาคานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index
of Item Objective Congruence : IOC ) ซ่ึงค่าท่ีคานวณได้ต้ังแต่ 0.80 ขึ้นไปถือว่ามีความสอดคล้องอยู่ใน
เกณฑท์ ่ียอมรับได้ ใช้เกณฑก์ ารพจิ ารณาดงั น้ี (A)
แบบรายงานผลเพ่อื ขอรบั รางวัลวธิ ปี ฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ Best Practice การนาหลักสูตรสถานศกึ ษา สู่การจัดกจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ทปี่ ะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต 2
โรงเรยี นบา้ นนา้ อ้อม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี
11
+ 1 หมายถึง แน่ใจว่าแผนการจดั การเรยี นรู้สอดคลอ้ งกบั ตวั ช้ีวัด
0 หมายถงึ ไมแ่ นใ่ จว่าแผนการจดั การเรียนร้สู อดคลอ้ งกับตัวช้ีวัด
-1 หมายถงึ แน่ใจว่าแผนการจดั การเรยี นรู้ไม่สอดคล้องกบั ตัวชี้วดั
4.) นาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเตรียมและ
วิธีการประกอบอาหารโดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning และส่ือผสม ไปจัดทาเป็นฉบับ
สมบูรณ์นาไปใช้จริงกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนในรายวิชาการงานงานอาชีพ 1 โรงเรียน
บ้านนา้ อ้อม จานวน 21 คน (A)
3.4 กำรดำเนนิ กำรทดลอง /กำรวเิ ครำะห์ข้อมูล
3.4.1 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมอื สาหรับการวจิ ยั มรี ายละเอยี ดดังนี้
1.) ตรวจสอบคณุ ภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเตรียมและวิธีการประกอบ
อาหารโดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning และสื่อผสม ได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
(Validity) ค่าดัชนีความสอดคลอ้ ง (Index of Item Objective Congruence : IOC )โดยใชผ้ ้เู ชีย่ วชาญ
2.) ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน
เรื่องการเตรียมและวิธีการประกอบอาหารโดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning และส่ือผสม
ไดแ้ ก่ ความเทยี่ งตรงเชงิ เนอ้ื หา (Validity) ค่าดชั นคี วามสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence :
IOC ) โดยใชผ้ ู้เชี่ยวชาญ หาค่าความยากง่าย (p) และคา่ อานาจจาแนก (r)
3.) ตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาตามข้ันตอน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ได้แก่ ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Validity) ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of
Item Objective Congruence : IOC ) โดยใชผ้ ู้เช่ยี วชาญ
4.) ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามความพึงพอใจ ของนกั เรยี นทีมีต่อการจัดการ
เรียนรู้ เรื่อง การเตรียมและวิธีการประกอบอาหารโดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning และ
สื่อผสม ได้แก่ ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Validity) ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective
Congruence : IOC ) โดยใชผ้ ู้เชี่ยวชาญ
3.4.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป มรี ายละเอยี ดดงั นี้
1.) การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เร่ือง การเตรียมและวิธีการประกอบอาหาร ก่อน
และหลังเรียนโดยการวเิ คราะห์ค่าเฉลีย่ (̅X) คา่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบ ค่าที (t – test) แบบ
ไม่เป็นอิสระตอ่ กนั (Dependent)
2.) การวเิ คราะหข์ ้อมลู ความสามารถในการทาโครงงานโดยการวิเคราะห์ค่าเฉล่ีย (X̅)
และคา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
3.) การวิเคราะห์ข้อมูลจากการทาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการ
จดั การเรียนรู้แบบโครงงานโดยวเิ คราะห์ ค่าเฉลยี่ (X̅) คา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
แบบรายงานผลเพ่ือขอรับรางวลั วิธีปฏิบัติทเี่ ป็นเลิศ Best Practice การนาหลักสูตรสถานศึกษา สกู่ ารจัดกิจกรรมการเรยี นนการสอน
ท่ีปะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต 2
โรงเรยี นบ้านน้าออ้ ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ
12
4. ผลกำรดำเนินงำน
4.1 สำหรบั ครู
4.1.1 ครูได้ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียน
โรงเรยี นบ้านนา้ ออ้ ม ใหม้ ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรือ่ ง การเตรยี มและหลกั การประกอบอาหาร สูงขน้ึ
4.1.2 มีการจัดทาสื่อการสอนท่ีหลากหลาย เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนสอนเพ่ือให้
ผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติและเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ Active learning และส่ือผสม ที่เหมาะกับการ
เรียนการสอนชว่ งศตวรรษท่ี 21 น้ี
4.1.3 เป็นรปู แบบการจดั การเรียนการสอนที่สอดคล้องกบั วสิ ัยทัศน์และจดุ หมายของหลักสูตร
แกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ที่มุ้งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
และมาตรฐาน ตัวช้วี ัด ท่นี าไปสู่การปฏิบัติโดยเฉพาะสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นท่ีมุ่งให้เกิดความสามารถในการ
ใชท้ ักษะชวี ิต
4.1.4 เป็นการกระตุ้นครูผู้สอนให้สนใจใฝ่รู้ ส่ือเสาะหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาตนเองอย่าง
ตอ่ เน่ืองและนาส่ิงใหม่ ๆ มาใชเ้ พ่ือพัฒนาการเรียนการสอนวชิ าการงานอาชพี ใหม้ ีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล
4.2 สำหรับนกั เรียน
4.2.1 นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติและมีส่วนร่วมในการเรียนร้จู ากการเรียนรู้เรื่อง การเตรียมและ
หลกั การประกอบอาหาร โดยรูปแบบการเรยี นรแู้ บบ Active Learning และสือ่ ผสม
4.2.2 นักเรยี นมที กั ษะด้าน การเตรียมและเข้าใจหลกั การประกอบอาหารอย่างถูกสุขอนามยั
4.2.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านน้าอ้อม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการ
เตรียมและหลักการประกอบอาหาร ทผี่ ่านเกณฑแ์ ละสูงข้ึน
4.2.4 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้เรื่อง การเตรียมและหลักการประกอบ
อาหาร โดยรปู แบบการเรียนรู้แบบ Active Learning และสอื่ ผสม ระดับ คณุ ภาพ มาก ด้วยคะแนนเฉลี่ย 4.19
ผลการวิเคราะห์ผลการสารวจความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมแบบ
Active learning และสื่อผสม เรื่อง การเตรียมอาหารและวิธีการประกอบอาหาร ในนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
ปที ี่ 1 โรงเรียนบ้านนา้ ออ้ ม ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
รายการประเมิน X̅ S.D. แปลผล
1. ดำ้ นบรรยำกำศกำรเรยี นรู้ มาก
1.1 การจดั การเรียนรู้แบบ Active learning และการใชส้ ือ่ ผสม น่าสนใจทา 4.04 0.73 มาก
มาก
ให้นักเรียนอยากเข้ารว่ มกิจกรรม มาก
1.2 การจดั การเรียนรู้แบบแบบ Active learning และการใช้สอื่ ผสมช่วยให้ 3.76 0.66 มาก
บรรยากาศในการเรยี นรสู้ นุกสนานเปน็ กันเองระหวา่ งเพือ่ นในห้องเรยี น
1.3 การจดั การเรยี นรู้แบบ Active learning และการใชส้ อ่ื ผสม ช่วยให้ 4.08 0.57
นกั เรยี นมี อิสระในการเรยี นรู้
1.4 การจดั การเรียนรูแ้ บบ Active learning และการใชส้ อื่ ผสม ช่วยให้ 4.04 0.73
นกั เรยี นเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ
1.5 การจดั การเรียนรแู้ บบ Active learning และการใช้สอ่ื ผสม ช่วยให้ 3.92 0.70
นกั เรยี นกลา้ แลกเปลี่ยนความร/ู้ ความคิดเหน็ กับเพอ่ื น
คา่ เฉลีย่ รวม 3.97 0.07 มาก
แบบรายงานผลเพ่ือขอรับรางวลั วิธีปฏบิ ัติทีเ่ ป็นเลศิ Best Practice การนาหลักสูตรสถานศกึ ษา สูก่ ารจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศึกษา 2564 ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2
โรงเรียนบ้านนา้ ออ้ ม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
13
รายการประเมิน X̅ S.D. แปลผล
2. ดำ้ นกำรจดั กำรเรยี นรู้ มาก
มาก
2.1 การจดั การเรยี นร้แู บบ Active learning และการใชส้ อื่ ผสม มกี จิ กรรม 4.4 0.71 มาก
0.69 มาก
การเรยี นการสอนท่ฝี ึกการทางานเปน็ กลุ่ม 0.60 มาก
0.71
2.2 การจดั การเรียนร้แู บบ Active learning และการใช้สื่อผสม ชว่ ยให้ 4.16 0.63 มาก
นกั เรียนกลา้ คดิ กล้าตอบคาถามและกลา้ แสดงความคดิ เห็น มาก
มาก
2.3 การจดั การเรยี นรู้แบบ Active learning และการใช้สอ่ื ผสม ให้ 4.12 มาก
มาก
นกั เรยี นไดค้ ้นพบความรดู้ ้วยตนเองจากแหล่งเรยี นรูต้ ่าง ๆ มาก
2.4 การจัดการเรยี นรแู้ บบ Active learning และการใช้สือ่ ผสม ช่วยใหฝ้ ึก 4.2
ปฏิบตั ิกิจกรรมทต่ี นเองไมถ่ นัดไปพรอ้ มกับการเรียนเน้อื หาสาระได้
2.5 นกั เรยี นตอ้ งการให้ครูจดั การเรยี นรู้ด้วยวธิ กี ารเรียนรู้ แบบแบบ 4.32
Active learning และการใช้ส่ือผสม อกี ในเน้ือหาสาระอน่ื ๆ
ค่าเฉลย่ี รวม 4.24 0.05
3. ดำ้ นประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จำกกำรเรียนรู้ 4.40 0.71
3.1 การจดั การเรยี นร้แู บบแบบ Active learning และการใชส้ อื่ ผสม 4.16 0.69
4.12 0.60
ช่วยให้นักเรียนสามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ ับไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั 4.20 0.71
3.2 การจัดการเรยี นร้แู บบแบบ Active learning และการใชส้ อ่ื ผสม 4.32 0.63
ช่วยใหน้ ักเรยี นเกดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรูก้ ับเพื่อน
3.3 นักเรียนมคี วามรแู้ บบ Active learning และการใช้สื่อผสม ช่วย
ให้นกั เรยี นชว่ ยเหลือผ้อู ่ืนมากขน้ึ
3.4 นักเรียนมคี วามรสู้ ึกว่าการจัดการเรยี นรู้แบบ Active learning
และการใชส้ ่อื ผสมช่วยใหน้ ักเรียนทางานได้อยา่ งเปน็ ระบบและรอบคอบ
3.5 การจัดการเรยี นรู้แบบ Active learning และการใช้ส่อื ผสม ชว่ ย
ให้นกั เรยี นเข้าใจ เนอื้ หาไดง้ า่ ยและชดั เจน
ค่ำเฉล่ียรวม 4.37 0.03 มำก
4.19 0.02 มำก
คำ่ เฉล่ยี รวมทงั้ 3 ด้ำน
n*= 21
5. ปจั จัยควำมสำเรจ็
๕.๑ บุคลากรที่มีส่วนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประสบผลสาเร็จ คือผู้บริหารและคณะครู
นักเรยี น โรงเรียนบ้านนา้ อ้อม ท่ีใหก้ าลังใจ ความรว่ มมอื การสนับสนนุ และส่งเสริมให้การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ที่หลากหลายตามศักยภาพของผู้เรียนส่งเสริมสนับสนุนให้ ครู ผู้จัดทาส่ือ /นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการ
เรยี นรู้และยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการศึกษาของนักเรียนโรงเรียนบา้ นน้าอ้อมต่อไป
๕.๒ ใช้หลักการจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมโดยอาศัยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู นักเรียนโรงเรียน
บ้านน้าอ้อม และ ชุมชนหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ร่วมกันวางแผนเตรียมความพร้อมในการเรียนออกแบบ
หลกั สูตรสถานศกึ ษาและจัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายให้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านนา้ อ้อม
แบบรายงานผลเพอื่ ขอรับรางวัลวิธปี ฏิบตั ิท่เี ป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สูตรสถานศึกษา สกู่ ารจดั กจิ กรรมการเรียนนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาร้อยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบา้ นน้าอ้อม กล่มุ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี
14
6. บทเรยี นทไี่ ดร้ บั (Lesson Learned)
6.1 การจัดการเรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ Active learningและส่ือผสม ผู้สอนควร
สรา้ งส่ือการสอนทีม่ คี วามหลากหลาย ทันสมยั และออกแบบกจิ กรรมพร้อมทง้ั ลาดับขั้นตอนไวเ้ ป็นยา่ งดี
6.2 ในการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ Active learning ครูควรจัดหาวสั ดุอุปกรณ์ให้และสื่อต่าง ๆ
ใหเ้ พียงพอต่อการจดั กิจกรรมกลมุ่ เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินการจัดกิจกรรมไม่ตดิ ขดั
6.3 การเรียนรู้เร่ืองการเตรียมและวิธีการประกอบอาหาร ควรให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยการ
ทางานเป็นกลุ่ม พร้อมทั้งได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยการใช้ส่ือการเรียนการสอนที่ทันสมัย หลากหลาย และเป็นการ
ใช้เทคโนโลยีที่อยู่ใกล้ตัวนักเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพ่ือให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้รับไปเชื่อมโยงสู่การใช้
ประโยชนใ์ นชีวิตจรงิ อยา่ งเหมาะสมและรเู้ ทา่ ทนั การใช้เทคโนโลยตี ่อไป
6.4 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ Active
learning และสอื่ ผสม ที่สูงข้นึ
6.5 ควรมีการศึกษาในรายวิชาอื่น ๆ โดยใช้นวัตกรรมอ่ืน ๆ เพื่อเปรียบเทียบกับการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ Active learning และการใช้ส่ือผสมที่มีความหลากหลาย ว่าได้ผลที่เหมือนหรือ
แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร เพื่อเป็นข้อมูลในการนาไปใช้ในการพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ในอ่ืน ๆ ให้มี
ประสทิ ธิภาพต่อไป
6.6 ควรมกี ารศกึ ษาเกยี่ วกับกระบวนการคิดของนักเรยี น ซึ่งอาจเป็นการคิดวิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ หรือความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เน้ือหาสาระตามหลักสูตรและได้
พัฒนากระบวนการคิดควบคไู่ ปดว้ ย
7. กำรเผยแพร/่ กำรไดร้ ับกำรยอมรับ/รำงวัลทไี่ ดร้ บั
กำรเผยแพร่ผลงำน
7.1 การเผยแพร่ผลงานผา่ นเวบ็ ไซต์ ครบู า้ นนอก.คอม ที่อยูอ่ า้ งองิ ในการเผยแพร่ /ภาคผนวก A
หน้า 16 :http://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=179707
7.2 การเผยแพร่ผลงานให้ผา่ นเวบ็ ไซต์ google form / ภาคผนวก B หน้า 17
:
กำรไดร้ บั กำรยอมรับและรำงวัลทไี่ ดร้ ับ
7.3 ได้รบั รางวลั เหรยี ญทอง OBEC AWORDS ประเภทครูผ้สู อนยอดเยี่ยม ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
ชั้นเรยี นยอดเยย่ี ม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ณ วันที่ 18 กนั ยายน 2562 ภาคผนวก C หนา้ 18
7.4 ได้รางวัลเหรียญเงนิ ครผู ้สู อนนกั เรยี น การประกวดแปรรูปอาหาร ระดบั ม.1-ม.3
งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 69 ปีการศึกษา 2562 ภาคผนวก D หน้า 19
7.6 ไดร้ างวลั เหรยี ญเงิน ครผู ู้สอนนกั เรยี น การประกวดแปรรูปอาหาร ระดบั ม.4-ม.6
งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 69 ปีการศกึ ษา 2562 ภาคผนวก D หน้า 19
7.7 ไดร้ างวลั เหรียญเงิน ครผู ู้สอนนกั เรยี น การประกวดแปรรปู อาหาร ระดับ ม.4-ม.6
งานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น ระดบั ชาติ คร้ังที่ 68 ปีการศึกษา 2561 ภาคผนวก E หน้า 20
7.8 ได้รางวัลเหรียญทองแดง ครูผสู้ อนนกั เรียน การประกวดแปรรูปอาหาร ระดับ ม.1-ม.3
งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 68 ปกี ารศึกษา 2561 ภาคผนวก E หน้า 20
แบบรายงานผลเพอ่ื ขอรบั รางวัลวิธีปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลศิ Best Practice การนาหลักสูตรสถานศึกษา ส่กู ารจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ท่ีปะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศึกษา 2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้ สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอ็ด เขต 2
โรงเรียนบา้ นน้าออ้ ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
15
ภำคผนวก
แบบรายงานผลเพอ่ื ขอรบั รางวัลวิธีปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลศิ Best Practice การนาหลักสูตรสถานศกึ ษา สู่การจดั กจิ กรรมการเรียนนการสอน
ทีป่ ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2
โรงเรียนบ้านน้าออ้ ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
16
ภำคผนวก A
กำรเผยแพร่ผลงำน
7.1 การเผยแพร่ผลงานผ่านเวบ็ ไซต์ ครูบ้านนอก.คอม ท่ีอยอู่ า้ งอิงในการเผยแพร่
:http://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=179707
แบบรายงานผลเพอ่ื ขอรบั รางวลั วธิ ปี ฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา สกู่ ารจดั กิจกรรมการเรยี นนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศึกษา 2564 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาร้อยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบ้านนา้ อ้อม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
17
ภำคผนวก B
แบบรายงานผลเพอ่ื ขอรบั รางวัลวิธีปฏิบตั ิทีเ่ ป็นเลิศ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศกึ ษา ส่กู ารจัดกจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ทีป่ ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาร้อยเอ็ด เขต 2
โรงเรียนบา้ นน้าออ้ ม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
18
ภำคผนวก C
ได้รับรางวลั เหรียญทอง OBEC AWORDS ประเภทครผู ูส้ อนยอดเย่ียม ด้านการบรหิ ารจัดการ
ชนั้ เรยี นยอดเย่ียม ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ณ วนั ที่ 18 กนั ยายน 2562
แบบรายงานผลเพ่ือขอรับรางวัลวธิ ีปฏบิ ัติท่ีเป็นเลิศ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศกึ ษา สูก่ ารจัดกิจกรรมการเรยี นนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศกึ ษา 2564 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาร้อยเอ็ด เขต 2
โรงเรียนบา้ นน้าอ้อม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
19
ภำคผนวก D
ไดร้ างวัลเหรยี ญเงนิ ครผู ูส้ อนนกั เรยี น การประกวดแปรรปู อาหาร ระดบั ม.1-ม.3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น
ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 69 ปกี ารศึกษา 2562
ได้รางวัลเหรยี ญเงนิ ครูผสู้ อนนักเรยี น การประกวดแปรรปู อาหาร ระดบั ม.4-ม.6 งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน
ระดับชาติ คร้ังท่ี 69 ปีการศึกษา 2562
แบบรายงานผลเพ่อื ขอรบั รางวัลวธิ ีปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลิศ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศึกษา สู่การจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ท่ีปะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต 2
โรงเรยี นบ้านนา้ อ้อม กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
20
ภำคผนวก E
ได้รางวลั เหรยี ญเงนิ ครผู ู้สอนนักเรยี น การประกวดแปรรูปอาหาร ระดับ ม.4-ม.6 งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน
ระดับชาติ ครั้งท่ี 68 ปกี ารศึกษา 2561
ได้รางวัลเหรยี ญทองแดง ครูผสู้ อนนกั เรยี น การประกวดแปรรปู อาหาร ระดับ ม.1-ม.3
งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ระดับชาติ คร้ังที่ 68 ปีการศกึ ษา 2561
แบบรายงานผลเพอื่ ขอรับรางวลั วธิ ีปฏบิ ตั ิทเี่ ป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา สูก่ ารจัดกจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ทปี่ ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบา้ นนา้ ออ้ ม กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ
21
ภาคผนวกตาราง
1. ตารางเปรียบเทยี บคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียน เรื่อง การเตรียมอาหารและหลักการประกอบ
อาหารโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ Active learning และสอื่ ผสม
2. ค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการจดั การเรียนรโู้ ดยผเู้ ชยี่ วชาญ
3. คา่ ดัชนคี วามสอดคล้องของแบบสารวจความพึงพอใจของนักเรยี นทมี่ ีต่อการจัดการเรยี นร้เู ร่อื ง การ
เตรียมและการประกอบอาหารโดยการเรยี นแบบ Active learning และ การใช้สอื่ ผสม โดย
ผูเ้ ช่ียวชาญ
4. คา่ ความยากงา่ ย (p) คา่ อานาจจาแนก (r) รายข้อของของแบบวดั ผลสมั ฤทธิ์
แบบรายงานผลเพอ่ื ขอรับรางวลั วธิ ีปฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ Best Practice การนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา สูก่ ารจัดกจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ทป่ี ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนต้น สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรยี นบ้านน้าอ้อม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
22
1. ตำรำงเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น เร่ือง กำรเตรยี มอำหำรและหลักกำรประกอบอำหำร
โดยใชร้ ูปแบบกำรเรยี นรู้แบบ Active learning และส่อื ผสม
แบบทดสอบผลสมั ฤทธิ์ 20 คะแนน
เลขที่ ชอ่ื -สกุ ล ก่อน หลงั เพมิ่ ขน้ึ
1. เด็กชายธนกฤติ ฮวดศรี คะแนน คะแนน คะแนน
2. เด็กชายณฐั ภมู ิ คาหอมรนื่
3. เดก็ ชายราเชน แวงธารงค์ 6 12 6
4. เดก็ ชายประวทิ ย์ ไชยพมิ พ์
5. เดก็ ชายเกยี รติศกั ดิ์ ชุนทร 8 14 6
6. เด็กชายธรี ะพงษ์ ผลนา้ อ้อม
7. เด็กชายสิทธิพงษ์ วงษห์ มนั่ 10 15 5
8. เดก็ ชายกลุ ธร ขอพารา
9. เด็กชายพิตตินันท์ แสนภกั ดี 5 12 8
10. เดก็ ชายวิรยิ ะ ม้วนสงู เนิน
11. เด็กชายอนุสิษฐ์ หนองสูง 5 12 8
12. เดก็ ชายวฒั ธนะโชติ กะตะโท
13. เด็กชายสพุ ศิน ดวงจันทร์ 16 19 3
14. เด็กชายระพภี ทั ร์ ปตั ถามงั
15. เด็กชายสมโชค เยรมั น์ 5 10 5
16. เด็กหญงิ นงลกั ษณ์ กระนูน
17. เด็กหญิงอรสิ า มวี ิธี 5 11 6
18. เด็กหญงิ วริศรา กงทพั
19. เดก็ หญงิ ก่งิ พลอย ดวนขันธ์ 6 13 7
20. เดก็ หญงิ นนั ทพร ม่ังมี
21. เด็กหญิงวิภาวดี ไผครบรุ ี 12 18 6
10 15 5
8 14 6
5 11 6
6 12 6
10 14 4
14 19 5
13 18 5
14 19 5
15 20 5
12 18 6
16 20 4
จำกตำรำงสำมำรถสรปุ ผลได้ว่ำ นกั เรียนมีคะแนนหลงั เรียน จากการเรยี นเร่ือง การเตรยี มอาหารและหลักการ
ประกอบอาหารโดยใช้รูปแบบการเรยี นรู้แบบ Active learning และสอ่ื ผสม มากกวา่ ก่อนเรยี น อยู่ในระดับผ่าน
เกณฑ์ที่ต้งั ไว้ คิดเป็นรอ้ ยละ 100
แบบรายงานผลเพ่อื ขอรับรางวลั วิธีปฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ Best Practice การนาหลักสูตรสถานศึกษา สูก่ ารจดั กิจกรรมการเรียนนการสอน
ทป่ี ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบ้านน้าอ้อม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
23
ตาราง 2.ค่าดัชนคี วามสอดคล้องของแผนการจัดการเรยี นรทู้ จ่ี ดั การเรยี นร้เู รือ่ ง การเตรยี มและการประกอบอาหาร โดยใช้
รูปแบบการเรียนรู้แบบ Active learning และสอ่ื ผสม
ความคิดเห็นของผ้เู ชยี่ วชาญ
รายการประเมิน คนท่ี คนที่ คนที่ คนท่ี คนที่ ∑ IOC
12345
1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรยี นร(ู้ ภาพรวม)
1.1 การกาหนดองค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรูค้ รบ +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
ตามรูปแบบแผนการจดั การเรยี นรู้
1.2 แผนการจดั การเรยี นรมู้ ลี าดบั ข้ันตอนอย่างเป็น +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
ระบบ
2. ความคดิ รวบยอด
2.1 แสดงความคดิ รวบยอดของเน้อื หาหรอื แกน่ ของเรอื่ ง +1 0 +1 +1 +1 4 .80
2.2 สอดคล้องสมั พันธ์กบั จุดประสงคก์ ารเรียนรแู้ ละสาระ +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
การเรยี นรู้
.80
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.00
1.00
3.1 สอดคลอ้ งกบั ตัวชี้วัด +1 0 +1 +1 +1 4
.80
3.2 มีความถกู ตอ้ งตามหลกั การเขียน +1 +1 +1 +1 +1 5 .80
1.00
3.3 มคี วามชัดเจนสามารถวดั พฤตกิ รรมได้ +1 +1 +1 +1 +1 5
.80
4. สาระการเรียนรู้
.80
4.1 สอดคล้องกับตวั ชวี้ ัด +1 0 +1 +1 +1 4 .80
1.00
4.2 ถูกตอ้ งตามหลักวชิ าและทันสมยั +1 0 +1 +1 +1 4
4.3 ครบถว้ นเพยี งพอทีจ่ ะเป็นพื้นฐานในการสรา้ งองคค์ วามรู้ +1 +1 +1 +1 +1 5
ใหม่หรอื พฤติกรรมหรอื ทกั ษะทต่ี ้องการ
5. การวดั และประเมินผล
5.1 วิธวี ัดและเคร่ืองมือวัดสอดคล้องกับพฤตกิ รรมที่กาหนด +1 0 +1 +1 +1 4
ในจดุ ประสงค์การเรียนรู้
5.2 วิธีวดั และเรอ่ื งมือวัดสอดคล้องกบั ขั้นตอนและ +1 +1 +1 +1 0 4
กระบวนการในกิจกรรมการเรยี นรู้
5.3 ใช้วธิ ีวัดและประเมนิ ผลหลาย ๆ วิธีตามสภาพความเปน็ จริง +1 0 +1 +1 +1 4
5.4 เกณฑ์การประเมินมคี วามสอดคล้องกบั ระดับความสามารถ +1 +1 +1 +1 +1 5
ของนักเรยี น
แบบรายงานผลเพอื่ ขอรับรางวัลวธิ ปี ฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศกึ ษา สู่การจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบ้านน้าอ้อม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
6. กิจกรรมการเรยี นรู้ 24
6.1 สอดคลอ้ งกบั ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรู้ 0 +1 +1 +1 +1 4 .80
1.00
6.2 สอดคลอ้ งกบั ความต้องการ ความสามารถและวัยของ +1 +1 +1 +1 +1 5
.80
นักเรยี น .80
6.3 ขั้นตอนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรมู้ คี วามชัดเจน +1 0 +1 +1 +1 4 .80
6.4 ข้นั ตอนการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ หมาะสมกบั เวลาสถานที่ +1 0 +1 +1 +1 4 1.00
1.00
และสภาพแวดล้อมของห้องเรยี นและแหล่งเรยี นรู้
1.00
6.5 ขั้นตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูน้ า่ สนใจ จงู ใจให้ +1 0 +1 +1 +1 4
1.00
กระตอื รือรน้ ทีจ่ ะเรียนและเขา้ ร่วมกจิ กรรม 1.00
1.00
6.6 ขนั้ ตอนการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
6.7 ขน้ั ตอนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ใช้วิธกี ารสืบค้นความรไู้ ด้ +1 +1 +1 +1 +1 5 0.91
หลายวิธี
6.8 ขน้ั ตอนการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู ปน็ ไปตามหลักวธิ สี อน +1 +1 +1 +1 +1 5
แบบโครงงาน
7. สื่อการเรยี นรู้
7.1 สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรยี นรู้ +1 +1 +1 +1 +1 5
7.2 สอดคลอ้ งกับสาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 +1 +1 5
7.3 สอดคล้องกบั กิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 +1 +1 5
7.4 เหมาะสมกบั วยั ความสนใจ ความสามารถ ของนักเรียน +1 +1 +1 +1 +1 5
คา่ เฉลยี่ 0. 96 0.65 1.00 1.00 0. 96 5
แบบรายงานผลเพอื่ ขอรบั รางวัลวิธีปฏิบัตทิ ่ีเป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา สูก่ ารจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนต้น สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบา้ นน้าออ้ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
25
ตาราง 3.คา่ ดัชนีความสอดคลอ้ งของแบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาศกึ ษาตอนต้น ทีม่ ีตอ่ การ
จัดการเรยี นรแู้ บบ Active learning และสือ่ ผสม
ความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญ
รายการประเมิน คนท่ี คนท่ี คนท่ี คนที่ คนที่ ∑ IOC
12345
1. ดา้ นบรรยากาศการเรยี นรู้
1.1 การจัดการเรยี นรูแ้ บบ Active learning และสอื่ ผสม +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
นา่ สนใจทาใหน้ กั เรยี นอยากเขา้ ร่วมกจิ กรรม
1.2 การจดั การเรยี นรูแ้ บบ Active learning และส่ือผสม
ช่วยใหบ้ รรยากาศในการเรยี นรสู้ นกุ สนานเป็นกนั เอง +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
ระหวา่ งเพอ่ื นในหอ้ งเรียน
1.3 การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active learning และสอ่ื ผสมให้ +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
นักเรียนมี อสิ ระในการเรยี นรู้
1.4 การจัดการเรยี นรแู้ บบ Active learning และ +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
สอื่ ผสมชว่ ยใหน้ กั เรยี นเรยี นรอู้ ย่างมคี วามสุข
1.5 การจัดการเรยี นรูแ้ บบ Active learning และ
สื่อผสมช่วยให้นักเรยี นกล้าแลกเปล่ียนความร้/ู ความคิดเหน็ +1 0 +1 +1 +1 5 1.00
กับเพือ่ น
2. ดา้ นการจดั การเรียนรู้
2.1 การจัดการเรียนร้แู บบ Active learning และส่อื ผสมมี +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ฝี กึ การทางานเป็นกล่มุ
2.2 การจัดการเรยี นรู้แบบ Active learning และส่ือผสม
ชว่ ยให้นกั เรยี นกล้าคดิ กลา้ ตอบคาถามและกล้าแสดงความ +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
คดิ เห็น
2.3 การจัดการเรียนรู้แบบ Active learning และสื่อผสม
ช่วยให้นักเรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
ตา่ ง ๆ
2.4 การจัดการเรียนรู้แบบ Active learning และสื่อผสม
ช่วยให้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมที่ตนเองไม่ถนัดไปพร้อมกับการ +1 0 +1 +1 +1 5 1.00
เรียนเนือ้ หาสาระ
2.5 นักเรียนต้องการให้ครูจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนรู้
แบบ Active learning และสอ่ื ผสมอกี ในเนอ้ื หาสาระอนื่ ๆ +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
แบบรายงานผลเพ่ือขอรับรางวัลวธิ ีปฏิบตั ิทีเ่ ป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สูตรสถานศึกษา สูก่ ารจดั กจิ กรรมการเรียนนการสอน
ท่ปี ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาร้อยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบา้ นนา้ ออ้ ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
3. ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จากการเรียนรู้ 26
3.1 การจัดการเรียนรู้แบบ Active learning และส่ือผสม +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
ช่วยให้นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ใน
5 1.00
ชวี ติ ประจาวนั 5 1.00
5 1.00
3.2 การจัดการเรียนรู้แบบActive learning และส่ือผสม +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00
ชว่ ยให้นกั เรยี นเกดิ การแลกเปล่ียนเรยี นรูก้ บั เพือ่ น 5 0.97
3.3 นกั เรียนมีความรูแ้ บบActive learning และสื่อผสมช่วย +1 +1 +1 +1 +1
ให้นักเรยี นชว่ ยเหลอื ผูอ้ นื่ มากขนึ้
3.4 นักเรียนมคี วามรสู้ ึกวา่ การจดั การเรยี นร้แู บบ
Active learning และสอื่ ผสมช่วยให้นกั เรียนทางานได้อย่าง +1 +1 +1 +1 +1
เป็นระบบและรอบคอบ
3.5 การจัดการเรียนรู้แบบActive learning และส่ือผสม +1 +1 +1 +1 +1
ช่วยใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเนือ้ หาไดง้ ่ายและชดั เจน
คา่ เฉลยี่ รวม 1.00 0.86 1.00 1.00 1.00
ตำรำง 4. ค่าความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (r) รายขอ้ ของของแบบวดั ผลสัมฤทธิ์
ขอ้ PH PL p r สรปุ ผล
ใช้
1. 11 5 0.53 0.40 ใช้
ใช้
2. 11 5 0.53 0.40 ใช้
ใช้
3. 12 6 0.60 0.40
ตดั ออก
4. 10 5 0.50 0.33 ตัดออก
ตดั ออก
5. 8 3 0.37 0.33
ใช้
6. 10 6 0.53 0.27 ตัดออก
7. 9 5 0.47 0.27 ใช้
ใช้
8. 12 8 0.67 0.27 ใชไ้ มไ่ ด้
ใช้
9. 11 5 0.53 0.40
10. 12 9 0.70 0.20
11. 11 6 0.57 0.33
12. 9 0 0.30 0.60
13. 11 9 0.67 0.13
14. 9 4 0.43 0.33
แบบรายงานผลเพ่อื ขอรับรางวัลวิธีปฏิบตั ิที่เป็นเลิศ Best Practice การนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา ส่กู ารจดั กิจกรรมการเรียนนการสอน
ท่ปี ะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาร้อยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบา้ นน้าออ้ ม กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ
ข้อ PH PL p r 27
15. 11 4 0.50 0.47 สรุปผล
ใช้
16. 10 4 0.47 0.40 ใช้
ใช้
17. 11 6 0.57 0.33 ใช้
ใช้
18. 10 4 0.47 0.40 ใช้
ใช้
19. 8 2 0.33 0.40 ใช้
ใช้
20. 9 3 0.40 0.40 ใช้
ใช้
21. 7 2 0.30 0.33
22. 9 1 0.33 0.53
23. 9 4 0.43 0.33
24. 7 2 0.30 0.33
25. 8 1 0.30 0.47
1. ขอ้ สอบทัง้ หมด 20 ข้อ มีคา่ ความยากง่าย (p) ตามเกณฑ์ระหวา่ ง 0.30-0.80
คา่ (r) ตามเกณฑต์ ้งั แต่ 0.30 ขน้ึ ไป
2. ข้อสอบมคี วามยากงา่ ย (p) ระหว่าง 0.30 – 0.60 และคา่ อานาจจาแนก (r)
ระหวา่ ง 0.33 – 0.60
แบบรายงานผลเพ่ือขอรบั รางวัลวธิ ปี ฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice การนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา สู่การจดั กจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ทป่ี ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาร้อยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบ้านน้าอ้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชพี
28
บทควำมแรงบันดำลใจ
ปัจจุบันโลกของเราได้พัฒนาข้ึนอย่างรวดเร็วในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษท่ี
21 เปน็ เรอ่ื งสาคัญของกระแสการปรบั เปลี่ยนทางสังคมทีเ่ กดิ ขน้ึ ในเวลานี้ ส่งิ ทเ่ี ปน็ แรงบนั ดาลใจ ในการทาวิจัย
ในช้ันเรียนหัวข้อนี้ ข้าพเจ้าคิดว่าครูผู้สอนควรต้องมคี วามตื่นตัวและเตรยี มพร้อมในการจัดการเรียนร้เู พ่ือเตรยี ม
ความพร้อมให้นกั เรยี นไดม้ ที กั ษะสาหรับการออกไปดารงชวี ิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ทเ่ี ปลยี่ นไปจากเดมิ
ข้าพเจ้าจึงคิดว่าการจัดการเรียนรู้ที่สามารถตอบโจทย์และเข้ากับธรรมชาติของรายวิชาการงานอาชีพ
คอื การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active learning และการใชส้ ่อื ผสม เพ่ือเป็นการเพิ่มทักษะด้านต่าง ๆ ใหก้ ับ
นักเรียนได้มีความรับผิดชอบและพ่ึงพาตนเองได้ ทักษะในการทางานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ ทักษะในการคิด และทักษะการใช้เทคโนโลยี จึงได้คิดออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และ
พฒั นานักเรียนกล่มุ ที่มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนที่ไมผ่ า่ นเกณฑ์ เร่อื งการเตรียมและการประกอบอาหาร ซ่งึ เปน็ 1
หน่วยในราวิชาการงานอาชีพ 1 รหัสวิชา ง 21101 เพ่ือให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงข้ึน
พรอ้ มทงั้ มีทักษะ ความรู้ทคี่ งทน อีกท้ังมเี จตคติทีด่ ีตอ่ การเรยี นในรายวิชาการงานอาชีพ
เพราะครู คอื ผูท้ ่ที าหน้าท่สี อนให้ศษิ ย์เกิดความรู้ ความสามารถ มคี ุณธรรมจริยธรรม ดว้ ยความก้าวไกล
ทางเทคโนโลยีทาให้เกดิ นวัตกรรมใหม่ ๆ ข้ึนมามากมายอย่างรวดเรว็ สังคมการศึกษาก็ต้องพัฒนากา้ วตามให้ทัน
โลกท่ีกาลังเปลี่ยนแปลงไป ครูผู้สอนจะยังคงสอนในรูปแบบเดิม ๆ ก็คงไม่ได้อีกต่อไป จะต้องปรับการเรียน
เปลีย่ นการสอนจากเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางในการสอน มาเปน็ นักเรยี นเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ โดยครตู ้องทา
หน้าท่ีในการช้ีแนะ ให้คาปรึกษา ช่วยแก้ปัญหาให้กับผู้เรียน ครูต้องแสวงหาส่ือและวิธีการสอนที่แตกต่าง
หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องสอดคล้องกับนโยบาย
ของรฐั บาลแตล่ ะยุคสมยั อกี ดว้ ย
แบบรายงานผลเพื่อขอรบั รางวัลวิธีปฏิบัติทีเ่ ป็นเลศิ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศกึ ษา สูก่ ารจัดกจิ กรรมการเรยี นนการสอน
ที่ปะสบผลสาเร็จ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนตน้ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบ้านน้าออ้ ม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
29
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี กไ้ ข
เพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับสง่ สินค้าและพัสดภุ ณั ฑ์.
เขมณฏั ฐ์ มงิ่ ศริ ิธรรม. (2552). การพฒั นารปู แบบการเรยี นบนเวบ็ เชงิ บูรณาการระหวา่ ง
การเรยี นแบบรว่ มมือกบั การเรยี นรว่ มกนั เพื่อสง่ เสริมการเรียนดว้ ยการนาตนเอง
ของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาบณั ฑิต คณะศึกษาศาสตร.์ วิทยานพิ นธป์ ริญญา
ครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสอื่ สารการศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ดวงพร อิ่มแสงจนั ทร์. (2554). การพฒั นาผลการเรยี นรเู้ รอ่ื งหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกนั การ
พัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศและความสามารถใน การแก้ปญั หา ตามขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้
แบบโครงงานของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5. นครปฐม : มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.
ทศิ นา แขมณ.ี (2551) ศาสตร์การสอน องคค์ วามรู้เพื่อการจดั กระบวนการเรยี นรู้ทีม่ ี
ประสิทธิภาพ.กรุงเทพฯ :สานักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั
ธนู ฤทธกิ ลุ . (2542). การจัดประสบการณ์การเรียนรูท้ ี่เน้นผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง. วารสารวิชาการกรม
วิชาการ.2/6 (มิถนุ ายน 2542), 42 - 49.
นวลจติ ต์ เชาวกีรตพิ งศ.์ (2545). การจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ.กรงุ เทพฯ :
สานกั งานปฏริ ูปการศึกษา
พจนา ทรพั ย์สมาน. 2549.การจัดการเรียนรูโ้ ดยให้นกั เรยี นแสวงหาและค้นพบความรู้ ดว้ ยตนเอง.
กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2549
ไพศาล ม่งุ สมคั ร, (2547). การพัฒนาแบบฝึกการทาโครงงานภมู ปิ ัญญาไทยทางวิทยาศาสตร์ชัน้
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3. การศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระการศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลักสูตรและ
การสอน, มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.
มะลวิ รรณ ทองคา. (2551). การศึกษาความรเู้ ร่ืองการแก้ปัญหาสง่ิ แวดล้อมโดยใช้กิจกรรมActive learning
ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนโนนหันวิทยายน. วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญา
ศึกษาศาสตรหาบัณฑิต สาขาวิชาสงิ่ แวดลอ้ มศึกษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
ลดั ดา ภเู่ กยี รติ. (2544). การจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบบรู ณาการในวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมธั ยมศึกษาเพื่อ
พฒั นาคุณลักษณะ เกง่ ดี มีสุข. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒประสานมิตร.
วิจารณ์ พาณชิ . การเรยี นรู้เพอ่ื ศิยษใ์ นศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพ ฯ : ตถาตาพับลเิ คชัน่ จากัด
กรงุ เทพ (2555)
แบบรายงานผลเพ่อื ขอรับรางวลั วิธีปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศึกษา สูก่ ารจดั กจิ กรรมการเรียนนการสอน
ทป่ี ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2
โรงเรียนบ้านนา้ ออ้ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
30
แบบรายงานผลเพือ่ ขอรบั รางวัลวิธีปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ Best Practice การนาหลักสตู รสถานศกึ ษา ส่กู ารจัดกจิ กรรมการเรียนนการสอน
ทีป่ ะสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา 2564 ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน้ สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต 2
โรงเรียนบา้ นน้าออ้ ม กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ