The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความหมายและประเภทของสื่อสังคมออนไลน์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kigunonzaza, 2021-03-22 00:43:42

ความหมายและประเภทของสื่อสังคมออนไลน์

ความหมายและประเภทของสื่อสังคมออนไลน์

ความหมายและประเภทของ
ส่ือสังคมออนไลน์

สื่อดิจทิ ลั ท่ีเป็นเครอื่ งมือในการปฏิบัติการทางสังคมเพ่ือใชส้ ือ่ สารระหวา่ งกันใน
เครือข่ายทางสังคมผ่านทางเวบ็ ไซตแ์ ละโปรแกรมประยุกตบ์ นส่ือใดๆ

ความหมายของสือ่ สงั คมออนไลน์

ส่ือสังคมออนไลน์ หมายถึง สื่อดิจิทัลท่ีเป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติการทางสังคม (Social
Tool) เพ่ือใช้สื่อสารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และ
โปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยเน้นให้ผู้ใช้ทั้งที่เป็นผู้ส่งสารและ
ผู้รับสารมีส่วนร่วม(Collaborative)อย่างสร้างสรรค์ ในการผลิตเน้ือหาข้ึนเอง (User-
GenerateContent: UGC) ในรูปของข้อมลู ภาพ และเสยี ง

ประเภทของสอื่ สังคม
ออนไลน์

ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ มีดว้ ยกนั หลายชนิด ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะของการนามาใชโ้ ดย
สามารถแบ่งเป็นกลมุ่ หลกั ดงั น้ี

1. Weblogs หรอื Blogs

คือ สื่อส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว
โดยสามารถแบ่งปันให้บคุ คลอืน่ ๆ โดยผู้รับสารสามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมได้ ซึ่ง
การแสดงเนื้อหาของบล็อกน้ันจะเรียงลาดับจากเน้ือหาใหม่ไปสู่เน้ือหาเก่า ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถ
ค้นหาเนื้อหาย้อนหลังเพ่ืออ่านและแก้ไขเพ่ิมเติมได้ตลอดเวลา เช่น Exteen, Bloggang,
Wordpress,Blogger, Okanation

2. Social Networking หรอื เครอื ข่ายทางสงั คม

ในอนิ เทอร์เนต็

เป็นเครือข่ายทางสังคมที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดเป็น
กลุ่มสังคม (Social Community) เพ่ือร่วมกันแลกเปล่ียนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันท้ัง
ด้านธุรกิจ การเมือง การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning, Linked in,MySpace,
Youmeo, Friendste

3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือท่ี
เรียกกนั ว่า “บล็อกจว๋ิ ”

เป็นเว็บเซอร์วิสหรือเว็บไซต์ท่ีให้บริการแก่บุคคลท่ัวไป สาหรับให้ผู้ใช้บริการเขียน
ข้อความส้ันๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ท่ีเรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพ่ือแสดง
สถานะของตัวเองว่ากาลังทาอะไรอยู่ หรือแจ้งข่าวสารต่างๆ แก่กลุ่มเพ่ือนในสังคมออนไลน์
(Online Social Network) (Wikipedia,2010) ท้ังนี้การกาหนดใหใ้ ช้ข้อมูลในรูปข้อความ
สั้นๆ ก็เพื่อให้ผู้ใช้ที่เป็นทั้งผู้เขียนและผู้อ่านเข้าใจง่าย ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ
Twitter

4. Online Video

เป็นเว็บไซต์ท่ีให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยมอย่าง
แพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เน่ืองจากเน้ือหาท่ีนาเสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจากัดโดยผัง
รายการทแ่ี น่นอนและตายตัว ทาใหผ้ ูใ้ ชบ้ รกิ ารสามารถติดตามชมได้อย่างต่อเน่ือง เพราะไม่มีโฆษณาคั่น
รวมท้ังผู้ใช้สามารถเลือกชมเน้ือหาได้ตามความต้องการและยังสามารถเช่ือมโยงไปยังเว็บวิดีโออื่นๆ ที่
เก่ยี วข้องไดจ้ านวนมากอกี ดว้ ย เช่น Youtube, MSN, Yahoo

5. Photo Sharing

เปน็ เว็บไซต์ที่เนน้ ใหบ้ ริการฝากรปู ภาพโดยผ้ใู ช้บรกิ ารสามารถอพั โหลดและดาวน์โหลดรูปภาพเพื่อ
นามาใชง้ านได้ ทีส่ าคญั นอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพ้ืนท่ี
เพื่อเสนอขายภาพท่ีตนเองนาเข้าไปฝากได้อีกด้วย เช่น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express,
Zooom

6. Wikis

เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซงึ่ ผู้เขียนส่วนใหญ่อาจจะ
เป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรือผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ซง่ึ ผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites
Online

7. Virtual Worlds

คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจาลองส่วนหน่ึงของชีวิตลงไป จัดเป็นสื่อสังคมออนไลน์ท่ีบรรดาผู้
ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพ่ือสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ตในลักษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality)
ซ่งึ ผู้ที่จะเข้าไปใชบ้ รกิ ารอาจจะบรษิ ทั หรอื องคก์ ารด้านธรุ กิจ ด้านการศกึ ษา รวมถงึ องค์การด้านส่ือ เช่น
สานักข่าวรอยเตอร์ สานักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อพ้ืนท่ีเพ่ือให้บุคคลในบริษัทหรือ
องคก์ รไดม้ ชี ่องทางในการนาเสนอเรอ่ื งราวต่างๆ ไปยงั กลุ่มเครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ ซ่ึงอาจจะเป็นกลุ่ม
ลูกค้าทง้ั หลัก และรองหรือ ผ้ทู เ่ี กีย่ วข้องกับธุรกิจ ของบริษัท หรือองค์การก็ได้ ปัจจุบันเว็บไซต์ท่ีใช้หลัก
Virtual Worlds ทีป่ ระสบผลสาเรจ็ และมชี ่อื เสยี ง คือ Second life

8. Crowd Sourcing

มาจากการรวมของคาสองคาคือCrowdและOutsourcing เป็นหลักการขอความร่วมมือจาก
บุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทาในรูปของเว็บไซต์ท่ีมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหา
คาตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆทั้งทางธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการส่ือสาร โดยอาจจะเป็นการดึง
ความร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ
กลุ่มคนที่เข้ามาให้ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านท่ีอยู่ในภาคธุรกิจ
หรือแม้แต่ในสังคมนักข่าว ข้อดีของการใช้หลัก Crowd souring คือ ทาให้เกิดความหลากหลายทาง
ความคิดเพอื่ นา ไปสกู่ ารแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรือคัดกรองข้อมูลซง่ึ เป็น
ปญั หา

9. Podcasting หรือ Podcast

มาจากการรวมตวั ของสองคา คือ “Pod”กับ “Broadcasting” ซ่งึ “POD” หรือ
PersonalOn - Demand คอื อุปสงค์หรอื ความตอ้ งการส่วนบุคคล สว่ น“Broadcasting” เป็นการนา
สื่อต่างๆ มารวมกนั ในรูปของภาพและเสียง หรอื อาจกล่าวง่ายๆ Podcast คอื การบนั ทกึ ภาพและเสยี ง
แล้วนามาไวใ้ นเว็บเพจ (Web Page) เพอื่ เผยแพรใ่ หบ้ คุ คลภายนอก (The public in general) ทสี่ นใจ
ดาวนโ์ หลดเพือ่ นาไปใชง้ าน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast

10. Discuss / Review/ Opinion

เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็น โดยอาจจะเก่ียวกับ สินค้า
หรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เช่น Epinions, Moutshut,
Yahoo!Answer, Pantip,Yelp

อุปกรณเ์ ครื่องมอื ทางสื่อ
สังคมออนไลน์

คอมพิวเตอร์

คือ เคร่ืองคานวณ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบค่าตาม
ชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ.2525 ได้ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์
แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งท่ีง่ายและซบั ซ้อน โดย
วิธีทางคณิตศาสตร์ หรืออาจกล่าวได้ว่า เคร่ืองคอมพิวเตอร์หมายถึง เคร่ืองมือท่ีช่วยในการ
คานวณและการประมวลผลข้อมลู

สมารท์ โฟน (SmartPhone)

คือ โทรศัพท์มือถือที่นอกเหนือจากใช้โทรออก-รับสายแล้วยังมีแอพพลิเคชั่นให้ใช้งาน
มากมาย สามารถรองรับการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน 3G,Wi-Fiและสามารถใช้งานโซเชียล
เน็ตเวิร์คและแอพพลิเคช่ันสนทนาช้ันนา เช่น LINE,Youtube, Facebook, Twitter ฯลฯ
โดยท่ีผู้ใช้สามารถปรับแต่งลูกเล่นการใช้งานสมาร์ทโฟนให้ตรงกับความต้องการได้มากกว่า
มือถือธรรมดา ผู้ผลิตสมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ๆ นิยมผลิตสมาร์ทโฟนท่ีมีหน้าจอระบบสัมผัส, ใส่
กล้องถ่ายรูปที่มีความละเอียดสูง, ออกแบบดีไซน์ให้สวยงามทันสมัย, มีแอพพลิเคชั่นและ
ลกู เลน่ ที่น่าสนใจ

แท็บเล็ต (Tablet)

คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ีมีหน้าจอระบบสัมผัสขนาดใหญ่ มีขนาดหน้าจอต้ังแต่ 7 นิ้ว
ข้ึนไป พกพาได้สะดวก สามารถใช้งานหน้าจอผ่านการสัมผัสผ่านปลายน้ิวได้โดยตรง มี
แอพพลิเคชั่นมากมายให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะรับ-ส่งอีเมล์, เล่นอินเทอร์เน็ต, ดูหนัง, ฟังเพลง,
เลน่ เกม หรอื แม้กระทั่งใช้ทางานเอกสารออฟฟิต ข้อดีของแท็บเล็ตคือมีหน้าจอท่ีกว้าง ทาให้
มีพ้ืนที่การใช้งานเยอะ มีน้าหนักเบา พกพาได้สะดวกกว่าโน๊ตบุ๊คหรือ คอมพิวเตอร์ สามารถ
จดบันทึกหรือใชเ้ ปน็ อปุ กรณ์เพอ่ื การศึกษาได้เปน็ อยา่ งดี

อุปกรณเ์ ครือขา่ ย

เซริ ์ฟเวอร์ (Server)

หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทา
หน้าท่ีจัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอ่ืนๆ กับคอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืน ๆ ใน
เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นามาใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์มักจะเป็นเคร่ืองที่มีสมรรถนะสูง
และมีฮารด์ ดิสกค์ วามจาสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครอ่ื งอ่นื ๆ ในเครอื ข่าย

ไคลเอนต์ (Client)

หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการ
และเขา้ ถึงไฟล์ข้อมลู ทจี่ ัดเกบ็ ในเซริ ์ฟเวอร์ หรอื พูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์
ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือขา่ ย

ฮบั (HUB) หรือ เรยี ก รพี ีตเตอร์
(Repeater)

คืออุปกรณ์ท่ีใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าท่ีรับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมท่ี
ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหน่ึง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมตอ่ เข้ากับฮับจะแชร์
แบนดว์ ธิ หรอื อัตราข้อมลู ของเครือข่าย เพราะฉะน้ันถ้ามีคอมพิวเตอร์เชอื่ มต่อมากจะทาให้
อตั ราการส่งขอ้ มลู ลดลง

เนทเวิรค์ สวติ ช์ (Switch)

คืออุปกรณ์เครือข่ายท่ีทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 2 และทาหน้าท่ีส่งข้อมูลท่ีได้รับมาจาก
พอร์ตหน่ึงไปยังพอร์ตเฉพาะท่ีเป็นปลายทางเท่านั้น และทาให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับ
พอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังน้ัน อัตราการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึง
ไม่ข้ึนอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยมเช่ือมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชน
กนั ของขอ้ มลู

เราต์เตอร์ (Router)

เป็นอุปรณ์ที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานี
ปลายทางที่ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อท่ีจะกาหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป
เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรียกวา่ เราติ้งเทเบ้ิล (Routing Table) หรือตาราง
จัดเส้นทางนอกจากน้ียังส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายท่ีให้ โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น IP
(Internet Protocol) IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากน้ียัง
เชื่อมต่อกบั เครือขา่ ยอ่นื ได้ เชน่ เครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต

บริดจ์ (Bridge)

เป็นอุปกรณ์ท่ีมักจะใช้ในการเช่ือมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทาให้
สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่
ลดลงมากนัก เน่ืองจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไป
รบกวนการจราจรของเซกเมนต์อ่ืน และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทาให้สามารถใช้ในการเช่ือมต่อเครือข่ายท่ีแตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เชน่ ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นตน้ บริดจ์ มักจะถูก
ใช้ในการเช่ือมเครือข่ายย่อยๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว
เพ่อื ให้เครือขา่ ยยอ่ ยๆ เหล่านนั้ สามารถติดตอ่ กับเครือขา่ ยย่อยอน่ื ๆได้

เกตเวย์ (Gateway)

เป็นอปุ กรณ์ฮารด์ แวร์ทเ่ี ช่ือมต่อเครือข่ายตา่ งประเภทเข้าด้วยกัน เชน่ การใช้เกตเวย์ใน
การเช่อื มต่อเครอื ขา่ ย ท่ีเปน็ คอมพิวเตอรป์ ระเภทพซี ี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมค
อนิ ทอช (MAC) เปน็ ต้น

ประโยชน์และข้อจากดั ของสงั คมออนไลน์

แมล้ ักษณะของเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ จะเป็นสอ่ื ใหข้ ้อมูลข่าวสารสามารถกระจายออกไป
อยา่ งรวดเร็วและกว้างขวางมีคณุ ประโยชน์มากมายในดา้ นการติดต่อสือ่ สาร แตก่ ็เปรยี บเสมอื นดาบ
สองคมหากผู้ใช้ขาดคุณธรรมจริยธรรม สามัญสานกึ การรู้จกั เคารพสิทธิ ของผอู้ ่นื และความ
ระมัดระวงั ในการใช้แลว้ สังคมออนไลนเ์ หล่านก้ี ็จะเป็น"สังคมอนั ตราย"ทจี่ ะเปน็ ด้านมืดของ
สังคมไทย

ประโยชน์ของ Social networks เครอื ข่ายสงั คมออนไลน์

1. สามารถแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ความรู้ในสิ่งทส่ี นใจร่วมกนั ได้
2. เป็นคลงั ข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคดิ เห็น แลกเปลยี่ นความรู้ หรอื ต้งั
คาถามในเร่ืองต่างๆ เพ่ือใหบ้ คุ คลอื่นทส่ี นใจหรอื มีคาตอบได้ชว่ ยกันตอบ
3. ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั คนอน่ื สะดวกและรวดเรว็
4. เป็นสือ่ ในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขยี น รปู ภาพ วดี ิโอต่างๆ เพ่อื ให้ผู้อนื่ ได้เข้ามารบั ชม
และแสดงความคิดเหน็
5. ใช้เป็นส่อื ในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรอื บริการลกู ค้าสาหรบั บริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสร้างความ
เชือ่ มัน่ ใหล้ ูกค้า
6. ช่วยสรา้ งผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกดิ การจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึน้
7. คลายเครียดไดส้ าหรับผูใ้ ชท้ ี่ตอ้ งการหาเพ่อื นคยุ เลน่ สนุกๆ
9. สร้างความสัมพันธท์ ่ีดีจากเพอ่ื นสู่เพ่อื นได้

ขอ้ จากัดของSocial networks เครือข่ายสงั คมออนไลน์

1. เว็บไซตใ์ ห้บริการบางแหง่ อาจจะเปิดเผยขอ้ มลู สว่ นตัวมากเกินไป หากผูใ้ ช้บริการไม่ระมดั ระวงั ในการกรอกข้อมูล อาจถูก
ผไู้ ม่หวังดีนามาใช้ในทางเสียหาย หรอื ละเมดิ สทิ ธิสว่ นบุคคลได้

2. Social Network เปน็ สังคมออนไลนท์ ี่กวา้ ง หากผ้ใู ช้รเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณห์ รอื ขาดวจิ ารณญาณ อาจโดนหลอกลวงผ่าน
อินเทอร์เน็ต หรือการนัดเจอกันเพ่อื จุดประสงคร์ ้าย ตามท่เี ป็นข่าวตามหน้าหนังสอื พิมพ์

3. เป็นชอ่ งทางในการถูกละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ ขโมยผลงาน หรือถกู แอบอ้าง เพราะ Social Network Service เปน็ สอื่ ในการเผยแพร่
ผลงาน รูปภาพต่างๆ ของเราใหบ้ คุ คลอ่นื ได้ดูและแสดงความคิดเห็น

4. ขอ้ มูลทตี่ อ้ งกรอกเพอ่ื สมัครสมาชิกและแสดงบนเวบ็ ไซต์ในรูปแบบ Social Network ยากแกก่ ารตรวจสอบวา่ จริงหรอื ไม่
ดงั นนั้ อาจเกดิ ปญั หาเกย่ี วกับเวบ็ ไซต์ท่ีกาหนดอายุการสมัครสมาชกิ หรอื การถกู หลอกโดยบุคคลทไ่ี มม่ ีตัวตนได้

5. ผู้ใชท้ ี่เล่น socialnetwork และอยู่กับหนา้ จอคอมพวิ เตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียไดห้ รือบางคนอาจตาบอดได้
6. ถ้าผู้ใชห้ มกหมนุ่ อยูก่ บั socialnetwork มากเกินไปอาจทาให้เสยี การเรยี นหรอื ผลการเรียนตกต่าลงได้
7. จะทาใหเ้ สียเวลาถ้าผู้ใช้ใช้อย่างไร้ประโยชน์

ยกตัวอย่างประโยชน์และขอ้ จากดั การใช้เฟซบุ๊ก เปน็ ศนู ย์แหง่ การ
เรียนรใู้ นสถานศึกษา

ในกรณีที่ยกเลกิ การเรยี นการสอนในห้องเรียนเพราะสภาพอากาศไมเ่ อ้อื อานวย ครูผสู้ อนสามารถใช้ เฟชบกุ๊ เป็นศนู ยแ์ หง่
การเรยี นรูร้ ่วมกับผู้เรียนโดยการกาหนดหัวข้อเกยี่ วกบั วชิ าท่สี อนเพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น

ไม่ควรใช้ข้อความทีร่ นุ แรงในการแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ผู้เรยี นและสถานศกึ ษา หลีกเลยี่ งการแสดงขอ้ ความทีก่ อ่ ให้เกิดขอ้
โตแ้ ย้งที่รุนแรง

ควรต้งั คา่ การแสดงความคดิ เห็นตา่ งๆ ที่ผเู้ รียนทกุ คนสามารถเข้าไปอา่ นได้
ควรแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับผู้เรียนในเชิงบวกเท่าน้นั
จะเห็นได้วา่ เฟซบุ๊กเป็นศูนยแ์ ห่งการเรียนรูแ้ ละเปน็ ห่วงโซ่การศึกษาขนาดใหญท่ ่ีทรงประสทิ ธิภาพในการเรียนรู้แบบไร้
ขีดจากัด ซงึ่ ครผู ูส้ อนและผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทกุ เวลา ตลอดวนั ละ24 ชว่ั โมง สปั ดาหล์ ะ 7 วัน ฉะน้ัน ผบู้ รหิ าร
การศกึ ษาจึงควรกาหนดแนวปฏบิ ตั ิในการใช้ เฟซบกุ๊ อย่างเหมาะสมเพือ่ ชว่ ยลดความเส่ียงดา้ นการใช้เฟซบกุ๊ ไปในทางท่ผี ิด
หรือดา้ นการกอ่ ให้เกดิ ความเส่อื มเสยี ช่ือเสียงแกส่ ถานศกึ ษา ยิง่ กวา่ น้นั ผบู้ ริหารการศกึ ษาจาเปน็ ต้องพฒั นานโยบายการใช้ เฟ
ซบ๊กุ ทีม่ อี ย่เู ปน็ ระยะๆ เพอื่ ให้เขา้ กับสถานการณ์และยุคสมยั ท่เี ปล่ียนแปลงไปดว้ ย

ประโยชนข์ องการใช้เฟซบุ๊กเพ่ือการเรียนการสอน

1.ส่อื สารถึงนกั ศกึ ษาได้อย่างรวดเรว็ กวา่ การใชอ้ เี มลลห์ รอื
อเี ลิร์นนงิ่

2.ส่งเสริมการกระตุน้ ให้นกั ศกึ ษาได้แบง่ ปันความรู้
แลกเปลยี่ นความคดิ ไดอ้ ย่างทัว่ ถงึ และรวดเรว็

3.นกั ศกึ ษามคี วามสะดวกในการรับร้ขู อ้ มลู ขา่ วสาร

ข้อจากัดของการใช้เฟซบุก๊ เพ่ือการเรยี นการสอน

1.อาจละเมิดสทิ ธสิ ่วนบคุ คลได้
2.อาจารยห์ รือนักศึกษาไมเ่ ป็นส่วนตัวในการขอ้ ความหรือรปู ภาพต่างๆ

ประโยชนแ์ ละข้อจากดั การประยกุ ต์ใชง้ าน Youtubeเพื่อการเรียน
การสอน

Youtube เปน็ เวบ็ ไซต์ทใ่ี ห้บรกิ ารแลกเปลยี่ นภาพวิดโี อระหวา่ งผูใ้ ช้ไดฟ้ รี โดยนาเทคโนโลยีของAdobe Flashมาใช้ในการ
แสดงภาพวิดีโอ ซง่ึ ยูทบู มีนโนบายไมใ่ ห้อปั โหลดคลิปท่มี ภี าพโปเ๊ ปลอื ยและคลิปที่มีลิขสทิ ธิ์ นอกเสียจากเจา้ ของลขิ สทิ ธิ์ไดอ้ ปั โหลดเอง
เมอ่ื สมคั รสมาชิกแล้วผู้ ใชจ้ ะสามารถใส่ภาพวิดโี อเข้าไป แบง่ ปนั ภาพวดิ โี อใหค้ นอนื่ ดดู ว้ ยแต่หากไม่ได้สมคั รสมาชกิ กส็ ามารถเขา้ ไปเปิดดู
ภาพวิดีโอทผี่ ้ใู ชค้ นอื่น ๆ ใส่ไว้ในYoutubeไดแ้ ม้จะกอ่ ตง้ั ได้เพยี งไมน่ าน (youtubeกอ่ ต้งั ขน้ึ เมื่อเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ.2005) Youtube
เตบิ โตอย่างรวดเร็วมาก เป็นทรี่ ้จู กั กันแพรห่ ลายและไดร้ บั ความนยิ มทั่วโลก ตอ่ มาปี ค.ศ.2006กเู ก้ลิ ซอ้ื ยทู ูบ ตอนนี้ยูทูบจงึ กลายเป็น
ส่วนหน่งึ ของกเู ก้ลิ แลว้ แตด่ ้วยตัวยูทบู เองทมี่ เี นอ้ื หามากมายเป็นแสนช้ิน ท้งั สอ่ื และเครอื่ งมือการเรยี นรดู้ ๆี ที่สามารถใช้เปน็ สอ่ื การเรยี น
การสอนในหอ้ งเรยี นได้ แต่ในขณะเดียวกันกม็ สี ือ่ ประเภททสี่ ่มุ เส่ียง และทาใหเ้ ด็กและเยาวชนไขว้เขวไปได้ ท้งั จากมิวสิควดี โี อ การต์ ูน
และไม่ไดใ้ ชเ้ ปน็ ช่องทางเพื่อการเรยี นรสู้ ักทเี ดียว จงึ เปน็ ทีม่ าของการเปิดหนา้ การศึกษาลา่ สดุ เของยทู บู ขน้ึ ทเ่ี รยี กวา่ “ยทู ูบสาหรบั
โรงเรยี น”หรือ (Youtube for Schools) เปน็ ชอ่ งทางการเรยี นรทู้ จ่ี ัดต้งั ขึน้ โดยจะมเี นอ้ื แตเ่ ร่ืองการศึกษาแต่เพยี งอย่างเดยี ว โดยได้
ร่วมมอื กับภาคีดา้ นการศกึ ษากวา่ 600แหง่ เช่น TED,Smithsonian เว็บไซดช์ อ่ื ดังเรื่องท่ีได้รวบรวมแหลง่ เรยี นรแู้ ละนทิ รรศการต่างๆ
เอาไว,้ Steve Spangler แหลง่ ผลติ เกมและของเล่นเพอื่ การพฒั นาทกั ษะดา้ นวิทยาศาสตร์ หรือNumberphile ท่ีสอนคณติ ศาสตร์
ออนไลน์ เป็นต้น นอกจากนีเ้ พอื่ ใหง้ ่ายตอ่ การคน้ หา ยทู ูบได้ทางานร่วมกบั ครูในการจัดแบ่งเนอื้ หากวา่ 300ชิ้น ออกเป็นรายวชิ า และ
ระดบั ช้นั โดยส่ือเหล่าน้ียทู บู เช่ือว่าจะชว่ ยเสริมการเรียนรใู้ นหอ้ งเรยี นได้เป็นอย่างดี ทาใหห้ ้องเรยี นสนุกสนานขึ้น และเด็กๆกจ็ ะต้งั ใจ
เรยี นมากย่งิ ขึ้น

ประโยชนข์ อง YouTube สาหรบั โรงเรยี น

1. กว้างขวางครอบคลุมYouTubeสาหรบั โรงเรียนเปิดโอกาสให้โรงเรียนตา่ งๆ เข้าถึงวดิ โี อเพื่อการศกึ ษาฟรนี ับแสน
รายการจาก YouTube EDU วิดีโอเหล่านมี้ าจากองคก์ รท่ีมชี ือ่ เสียงต่างๆ เชน่ Stanford,PBS และ TED รวมท้งั จากพันธมติ รที่
กาลังได้รับความนิยมของYouTubeซง่ึ มียอดผ้ชู มนับลา้ นๆ คน เชน่ Khan Academy,Steve Spangler Science และ Numberphile

2. ปรบั แกไ้ ดส้ ามารถกาหนดคา่ เนอื้ หาท่ีดูไดใ้ นโรงเรียนของคณุ โรงเรียนทง้ั หมดจะไดร้ บั สิทธเ์ิ ข้าถงึ เน้อื หาYouTube
EDUทง้ั หมด แต่ครูและผดู้ แู ลระบบอาจสรา้ งเพลย์ลสิ ตว์ ดิ โี อท่ีดไู ดเ้ ฉพาะในเครือขา่ ยของโรงเรียนเทา่ นัน้ ได้เช่นกนั

3. เหมาะสมสาหรับโรงเรียนผบู้ รหิ ารโรงเรียนและครสู ามารถลงชื่อเข้าใช้และดูวดิ โี อใดๆ กไ็ ด้ แตน่ กั เรยี นจะไม่สามารถ
ลงชื่อเข้าใช้และจะดไู ดเ้ ฉพาะวิดีโอYouTube EDUและวิดโี อท่ีโรงเรียนไดเ้ พม่ิ เขา้ ไปเท่านน้ั ความคิดเหน็ และวิดีโอทเี่ ก่ียวขอ้ ง
ทงั้ หมดจะถกู ปดิ ใช้งานและการคน้ หาจะจากดั เฉพาะวดิ โี อ YouTube EDU เท่านัน้

4. เป็นมิตรกับครู YouTube.com/Teachers มีเพลย์ลิสต์วดิ โี อนับร้อยรายการทไ่ี ดม้ าตรฐานการศึกษาทว่ั ไป และจดั
ระเบียบตามหัวเรอื่ งและระดับชั้น เพลย์ลิสตเ์ หลา่ น้ีสร้างข้ึนโดยครูเพอื่ เพื่อนครูดว้ ยกัน ดงั นน้ั คุณจึงมีเวลาในการสอนมากข้นึ
และใชเ้ วลาคน้ หาน้อยลง

ขอ้ จากดั

1.อาจมีการละเมิดลิขสิทธิ์
2.อาจมกี ารกระทาทีไ่ ม่ดี

THE END


Click to View FlipBook Version