The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การรวมกลุ่มอนุภูมิภาคที่ประเทศไทยมีบทบาทสำคัญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kamonwan Thaprom, 2024-02-19 09:48:27

การรวมกลุ่มอนุภูมิภาคที่ประเทศไทยมีบทบาทสำคัญ

การรวมกลุ่มอนุภูมิภาคที่ประเทศไทยมีบทบาทสำคัญ

องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ สำ คัญในภูมิภาคต่างๆของโลก องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ สำ คัญในภูมิภาคต่างๆของโลก การรวมกลุ่มอนุภูมิภาคที่ ประเทศไทยมีบทบาทสำ คัญ การรวมกลุ่มอนุภูมิภาคที่ ประเทศไทยมีบทบาทสำ คัญ จัจัจัดจัทำทำทำทำโดย นางสาวภูษิตา นิ่มขุนทด เลขที่5 นางสาววิภาพร โนนรุ่งเรือง เลขที่6 นางสาวกมลวรรณ ถาพรม เลขที่28 นางสาวณัชชา มณีภาชน์ เลขที่29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 นางสาวภูษิตา นิ่มขุนทด เลขที่5 นางสาววิภาพร โนนรุ่งเรือง เลขที่6 นางสาวกมลวรรณ ถาพรม เลขที่28 นางสาวณัชชา มณีภาชน์ เลขที่29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เสนอ คุคุคุ ณ คุ ณครูรู รู จั รู จัจันจัทิทิทิมทิา เจีจี จี ย จี ยมมาลา โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครราชสีมา ปีการศึกษา 2/2566 สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครราชสีมา ปีการศึกษา 2/2566 สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา


คือ ต้องการให้ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ คือ สปป. ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ และเวียดนาม มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน และลดช่องว่างด้านการพัฒนา ในบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ความเป็ป็ป็ น ป็ นมา ความร่วมมือที่ริเริ่มจากรัฐบาลไทยที่ต้องการ ผลักดันให้การพัฒนาเศรษฐกิจที่ก้าวตามกันของประเทศใน ACMECS คือ กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ เวียดนามและไทย ที่ยังมีความแตกต่างในด้านเศรษฐกิจกับประเทศไทย ที่ต้องอาศัยการพัฒนา วัวัวัตวัถุถุ ถุ ป ถุ ประสงค์ค์ ค์ใค์ นการดำดำดำดำเนินินินิการ


เป็นการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างภาคใต้ของไทย ภาคเหนือของมาเลเซีย เเละพื้นที่บนเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย ด้วยวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งเพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ของ3 ประเทศโดยใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจร่วมกันให้เกิด ประโยชน์สูงสุด โดยเน้นความร่วมมือด้านการผลิต การส่งเสริม การ ลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังส่งเสริมด้าน การลงทุนและ เป็นฐานการผลิตร่วมกัน ตลอดจนพัฒนาการเชื่อมโยงด้านโครงสร้าง พื้นฐาน โดยเฉพาะด้านการ คมนาคมขนส่งและระบบ สาธารณูปโภคระหว่างประเทศเพ่ือลดต้นทุนการขนส่งระหว่างสาม ประเทศ พื้นที่ให้ความร่วมมือประกอบด้วย พื้นทีเกือบทั้งหมดของเกาะสุมาตราของ อินโดนีเซีย ทางตอนเหนือและทางตะวันตก ของมาเลเซีย เเละพื้นที่8จังหวัดชายแดน ภาคใต้ของไทย ได้แก่ สงขลา ปัตตานี นราธิวาสยะลาสตูล ตรัง พัทลุง นครศรีธรรมราช เขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle:IMT-GT) เขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle:IMT-GT)


คือ โครงการความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน้ำ โขงตอนบน เป็นความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างแม่น้ำ โขงตอนบน ประกอบด้วย มณฑลยูนนานของจีน เมียนมา ลาวโดยมีเป้าหมายร่วมมือกัน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเส้นทาง คมนาคมการพัฒนาการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนร่วมกัน ประเทศสมาชิกมีการประชุมร่วมกันเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้ตกลงร่วมกันพัฒนาเส้นทางคมนาคมและร่วมกันส่งเสริมการท่อง เที่ยวโดยขอรับความช่วยเหลือจากธนาคารพัฒนาเอเชีย เกิด ประโยชน์คือ จะช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัว มีการค้าและการลงทุน เพิ่มขึ้น การพัฒนาโครงข่ายระบบคมนาคมเชื่อมโยงในอนุภูมิภาค โดยเฉพาะ ๕ เมืองหลัก ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย เชียงตุง (เมีย นมา) เชียงรุ้ง (จีน) และเชียงทอง (หลวงพระบาง) ทำ ให้เกิดความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวห้าเชียงขึ้นประเทศไทยจะ ได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยว ขณะเดียวกันคนไทยก็จะไปท่อง เที่ยวในอนุภูมิภาคมากขึ้น ทำ ให้เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรม (Quadrangle Economic Cooperation) โครงการสี่สี่ สี่ เ สี่ เหลี่ลี่ ลี่ ย ลี่ ยมเศรษฐกิกิกิจกิ


(Greater Mekong Subregion Economic Cooperation: GMSEC) เป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ ที่มีแม่น้ำ โขง ไหลผ่านหรือที่ เรียกว่า หกเหลี่ยมเศรษฐกิจ ได้แก่ ลาว กัมพูชา เมียนมา จีน (มณฑลยูนนาน) เวียดนาม และไทย โดยมีธนาคารเพื่อการพัฒนา เอเชียเป็นผู้สนับสนุนหลัก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดการ ขยายตัวทางการค้า การลงทุน อุตสาหกรรม การเกษตร และบริการ สนับสนุน การจ้างงานและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือ ทางเทคโนโลยีและการศึกษาระหว่าง กัน ตลอดจนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ส่งเสริมกันอย่าง มี ประสิทธิภาพ ส่งเสริมและเพิ่มขีดความสามารถรวมทั้งโอกาสทาง เศรษฐกิจในเวทีการค้าโลก การดำ เนินงานที่สำ คัญ เช่น การเชื่อม ต่อเส้นทางคมนาคมทางบกระหว่างประเทศสมาชิก เป็นต้น ความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำ โขง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำ โขง


คำ ถาม 1.มีกี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ในไทยที่ ให้ความร่วมมือ ได้แก่จังหวัดใดบ้าง ? 1.มีกี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ในไทยที่ ให้ความร่วมมือ ได้แก่จังหวัดใดบ้าง ? 3.การร่วมมือของ 6 ประเทศ ที่มีแม่น้ำ โขงไหลผ่าน เรียกว่าอะไร ? 3.การร่วมมือของ 6 ประเทศ ที่มีแม่น้ำ โขงไหลผ่าน เรียกว่าอะไร ? 2.โครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ เป็นความ ร่วมมือระหว่างเศรษฐกิจของประเทศลุ่ม เเม่น้ำ โขงตอนบนประเทศใดบ้าง ? 2.โครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ เป็นความ ร่วมมือระหว่างเศรษฐกิจของประเทศลุ่ม เเม่น้ำ โขงตอนบนประเทศใดบ้าง ?


Click to View FlipBook Version