มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชี้วดั
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 18 คลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า
คาอธิบายรายวชิ า
รายวิชาฟิสกิ ส์ ๕ รหสั วชิ า ว๓๐๒๐๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๖
๑.๕ หน่วยกิต
ภาคเรียนที่ ๒ จานวน ๖๐ ชัว่ โมง
สาระฟสิ กิ ส์ 3. เขา้ ใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า
และกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็น
พลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การเหน่ียวนา
แม่เหล็กไฟฟ้าและกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการสื่อสาร รวมทั้งนาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
สาระฟิสิกส์ 4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปล่ียนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพ
ยืดหยุ่นของวัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส ความตึงผิวและแรง
หนดื ของของเหลว ของไหลอุดมคติและสมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอุดมคติและพลังงาน
ในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคล่ืนและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี
แรงนวิ เคลียร์ ปฏกิ ริ ยิ านิวเคลยี ร์ พลังงานนิวเคลียร์ ฟิสิกสอ์ นภุ าค รวมท้งั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์
สงั เกต และอธิบาย และคานวณ สนามแม่เหล็ก ฟลกั ซ์แม่เหล็ก โซเลนอยด์ แรงแม่เหล็ก การเคลื่อนท่ี
ประจุในสนามแม่เหล็ก แรงระหว่างตัวนาคู่ขนานท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่าน แกลแวนอมิเตอร์ มอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรง อีเอ็มเอฟเหน่ียวนา กฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ ความต่างศักย์อาร์เอ็มเอส กระแสไฟฟ้าอาร์
เอ็มเอส เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ๓ เฟส หม้อแปลง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โพลาไรส์ของแสง แผ่นโพลา
รอยด์ การสอ่ื สารโดยอาศัยคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า สัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล ความร้อน สสารเปล่ียน
อุณหภูมิ เปล่ียนสถานะ การถ่ายโอนตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน สภาพยืดหยุ่น ความเค้น ความเครียด
ตามยาว และมอดุลัสของยัง ความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดันบรรยากาศ แมนอมิเตอร์
บารอมเิ ตอร์ และเครื่องอัดไฮดรอลิก แรงพยุงจากของไหล ความตึงผิวของของเหลว แรงหนืดของของเหลว
สมการความตอ่ เน่อื ง สมการแบร์นลู ลี แกส๊ อดุ มคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุล
ของแก๊ส งานท่ีทาโดยแก๊สในภาชนะปิด พลังงานภายในระบบ และนาความรู้ไปอธิบายหลักการทางานของ
เคร่อื งใช้ในชวี ติ ประจาวัน
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างถูกต้องเหมาะสม เกิดความ
ตระหนักและจิตอาสาในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม เกิดความสามารถในการคิดความสามารถ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม ในการส่ือสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและ
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ผลการเรยี นรู้
1. สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณท่ีกาหนด รวมท้ัง
สงั เกต และอธบิ ายสนามแม่เหล็กทีเ่ กิดจากกระแสไฟฟา้ ในลวดตัวนาเส้นตรง และโซเลนอยด์
2. อธิบาย และคานวณแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อ อนุภาคท่ีมีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก แรง
แม่เหล็กทกี่ ระทาต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้า ผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของ การเคลื่อนท่ีเมื่อ
ประจุเคลื่อนทตี่ ้ังฉากกับสนามแม่เหล็ก รวมทง้ั อธบิ ายแรงระหว่างเสน้ ลวด ตัวนาคูข่ นานทีม่ กี ระแสไฟฟา้ ผ่าน
3. อธิบายหลักการทางานของแกลแวนอมิเตอร์ และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งคานวณ ปริมาณ
ต่างๆท่ีเกย่ี วข้อง
4. สังเกต และอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนา กฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ และคานวณ ปริมาณ
ตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง รวมท้ังนาความร้เู รอื่ งอเี อม็ เอฟเหนีย่ วนาไปอธิบายการทางาน ของเครื่องใช้ไฟฟ้า
5. อธิบาย และคานวณความต่างศกั ย์อาร์เอม็ เอส และกระแสไฟฟา้ อาร์เอ็มเอส
6. อธิบายหลกั การทางานและประโยชน์ของเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ๓ เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟ
ของหม้อแปลง และคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
7. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเส้น
และแผ่นโพลารอยด์ รวมท้ังอธิบายการนาคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และหลักการ
ทางานของอุปกรณท์ ีเ่ กีย่ วข้อง
8. สืบค้น และอธิบายการส่ือสารโดยอาศัยคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศ และ
เปรยี บเทียบการสอ่ื สารดว้ ยสญั ญาณแอนะลอ็ กกับสญั ญาณดิจทิ ัล
9. อธิบายและคานวณความร้อนที่ทาให้สสารเปล่ียนอุณหภูมิ ความร้อนท่ีทาให้สสารเปลี่ยนสถานะ
และความรอ้ นทเี่ กดิ จากการถ่ายโอนตามกฎการอนรุ ักษ์พลังงาน
10. อธบิ ายสภาพยดื หยุ่นและลักษณะการยดื และหดตัวของวัสดุท่ีเป็นแท่งเมื่อถูกกระทาด้วยแรงค่าต่าง
ๆ รวมทง้ั ทดลอง อธิบายและคานวณความเค้นตามยาว ความเครยี ดตามยาว และมอดุลัสของยัง และนาความรู้
เร่ืองสภาพยดื หยุ่น ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
11. อธิบายและคานวณความดนั เกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดนั บรรยากาศ รวมท้ังอธิบายหลักการ
ทางานของแมนอมิเตอร์ บารอมเิ ตอร์ และเคร่ืองอดั ไฮดรอลกิ
12. ทดลอง อธบิ ายและคานวณขนาดแรงพยุงจากของไหล
13. ทดลอง อธิบายและคานวณความตึงผิวของของเหลว รวมทั้งสังเกตและอธิบายแรงหนืดของ
ของเหลว
14. อธิบายสมบัติของของไหลอุดมคติ สมการความต่อเน่ือง และสมการแบร์นูลลี รวมท้ังคานวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง และนาความรู้เก่ียวกับสมการความต่อเนื่องและสมการแบร์นูลลีไปอธิบายหลักการ
ทางานของอุปกรณ์ตา่ งๆ
15. อธิบายกฎของแก๊สอดุ มคตแิ ละคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง
16. อธิบายแบบจาลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของ
แก๊ส รวมทั้งคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้อง
17. อธิบายและคานวณงานท่ีทาโดยแก๊สในภาชนะปิดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างความร้อน พลังงานภายในระบบและงาน รวมท้ังคานวณปริมาณต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง และนาความรู้เร่ือง
พลงั งานภายในระบบไปอธิบายหลกั การทางานของเครอ่ื งใช้ในชีวิตประจาวนั
รวมทั้งหมด 17 ผลการเรยี นรู้
หน่วยการเรยี นรู้ ตารางกาหนดการสอน จานวนช่วั โมง
หน่วยที่ 18 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 18 คล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า 10
5
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1 เรือ่ ง 5
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้
คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า สเปกตรัมคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า
พลังงานของคลน่ื แม่เหล็กฟ้า
บนั ทึกขอ้ ความ
สว่ นราชการ โรงเรยี นศรีสโมสรวิทยา อาเภอหนองมะโมง จงั หวัดชยั นาท
ท.่ี .........../๒๕๖๓ วันที่ ๑๖ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
เร่อื ง ขออนมุ ัติใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าฟิสกิ ส์เพ่มิ เติม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ ว๓๐๒๐๖
เรยี น ผู้อานวยการโรงเรียนศรสี โมสรวิทยา
เนอื่ งดว้ ยข้าพเจา้ นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ ตาแหน่งครู ได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอนวิชา
ฟิสกิ สเ์ พ่มิ เตมิ รหสั วชิ า ว๓๐๒๐๖ ซึ่งข้าพเจ้าได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ในเทอมที่ ๒ โดยบูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จงึ ขออนุมัติในการดาเนินการต่อไป
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และพจิ ารณา
ลงช่อื …………………………………………….
(นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ)
ตาแหนง่ ครู
ความคดิ เห็นของหวั หน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอื่ …………………………………………
(นายนฤเบศร์ จันทะเดช)
หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ
ความคิดเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรยี นศรีสโมสรวิทยา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ…………………………………………
(นายเมธี วัฒนสงิ ห)์
ผูอ้ านวยการโรงเรียนศรสี โมสรวิทยา
แผนการจัดการเรยี นรู้
รายวชิ าฟิสกิ สเ์ พมิ่ เติม รหัสวิชา ว30206
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
โดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
จดั ทาโดย
นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ
โรงเรยี นศรีสโมสรวทิ ยา
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 5
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาฟิสกิ ส์เพม่ิ เติม ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 18 เร่ือง คล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้
จดั ทาโดย
นางสาวกนกวรรณ บญุ เกตุ
โรงเรยี นศรสี โมสรวิทยา
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 5
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6
รายวชิ าฟิสิกส์เพม่ิ เติม (ว30206) เวลา 10 ชัว่ โมง
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เวลา 5 ช่วั โมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16 คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้
เรือ่ ง คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า สเปกตรัมคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้
สาระสาคัญ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ เกดิ จากการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagneticdisturbance) โดยการ
ทาให้สนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กมีการเปล่ียนแปลงเมื่อสนามไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะเหน่ียวนาให้เกิด
สนามแมเ่ หล็ก หรือถา้ สนามแม่เหลก็ มกี ารเปล่ยี นแปลงก็จะเหนีย่ วนาใหเ้ กิดสนามไฟฟ้าคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าเป็น
คล่ืนตามขวาง ประกอบด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กท่ีมีการส่ันในแนวตั้งฉากกันและอยู่บนระนาบต้ัง
ฉากกับทศิ การเคลื่อนท่ีของคลน่ื คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ เปน็ คลนื่ ทีเ่ คลื่อนท่ีโดยไมอ่ าศยั ตวั กลาง จึงสามารถเคลื่อนท่ี
ในสุญญากาศได้
สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า คือแถบแสดงความถ่ี หรือความยาวคลื่นต่างๆของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า
เรียงตามลาดับความถ่ี เรียงจากความถ่ีนอ้ ยทีส่ ดุ ถงึ ความถมี่ ากท่ีสดุ
สาระการเรียนรู้
- คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้
- สเปกตรมั คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี นิ ยั
2. ใฝ่เรียนรู้
3. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
4. มุ่งม่นั ในการทางาน
5. มีจติ สาธารณะ
แนวทางในการบูรณาการ
บรู ณาการกับกลุ่มสาระสังคมศกึ ษาเร่ืองทรพั ยากรธรรมชาติ
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
สารวจตรวจสอบและอภิปรายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า และนาไปแก้ปัญหา
ได้
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ขั้นเรา้ ความสนใจ
1. สนทนาทบทวนเก่ียวกับของไหลที่เรียนผ่านมาแล้วและสนทนาถึงการเรียนเก่ียวกับอะตอมและ
โครงสร้างอะตอมท่ีนักเรยี นเรยี นผา่ นมาในวชิ าเคมีสามารถนามาเช่ือมโยงกับวิชาฟิสิกส์ได้
2. สเปกตรัมคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ ในแต่ละแบบมลี ักษณะเป็นอย่างไร มีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
2. ขนั้ สารวจและค้นหา
2.1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับ สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ใบความรู้
เรือ่ ง สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวบรวมขอ้ มลู จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ใหไ้ ด้มากท่ีสุด และต้องมีการแบ่งหน้าที่
กันทางาน โดยไม่ใหซ้ า้ กบั หน้าทเ่ี ดมิ ทีเ่ คยปฏิบตั ิมาแล้ว ครซู า้ เก่ียวกับการประเมินนักเรียนในระหว่างการเรียน
และการทางาน
3. ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ
3.1. นาข้อมูลท่ีได้มาร่วมกันวิเคราะห์ แปลความหมาย จัดกระทา ลงข้อสรุปในรูปของแผนผัง
ความคิด นาเสนอในรูปแบบท่ีน่าสนใจและตกแต่งให้สวยงาม แล้วอธิบายซักถามกันภายในกลุ่มจนเข้าใจ
ตรงกัน
3.2. ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มนาผลงานไปตดิ ท่ีผนังห้อง ส่มุ ตวั แทนนักเรียนจากกลุ่มต่างๆ ประมาณ 1
- 2 กลมุ่ นาเสนอผลงาน จากนั้นร่วมกันอภิปรายซักถามเพื่อให้ได้ข้อสรุปท่ีสมบูรณ์ท่ีสุด
3.3. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มผลดั เปล่ยี นกันประเมินผลงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับจุดเด่นจุดด้อยของ
ผลงานของเพ่อื น
4. ขน้ั ขยายความรู้
4.1. ครูใหค้ วามรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้ส่ือ power point และสื่อ
animation
5. ข้ันประเมนิ
5.1. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนซักถามขอ้ สงสยั ทน่ี ักเรยี นยงั ไมเ่ ขา้ ใจเก่ยี วกับเรือ่ งทเ่ี รียน
5.2. สมุ่ นักเรยี นอภิปรายสรุปเก่ียวกับความรู้ท่ีไดร้ บั ในการศึกษาในครงั้ น้ี
5.3. นักเรยี นบนั ทกึ ผลการเรียนรู้ในสมุดบนั ทึกผลการเรียนรู้รายชว่ั โมง
ส่ือการเรยี นรแู้ ละแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาฟสิ กิ ส์เพิม่ เตมิ เลม่ 6 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
2. ใบงานที่ 1
3. ใบงานรู้ เรอ่ื ง สเปกตรัมคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า
การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
1. วิธีการวัดและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านท่ีมอบหมาย
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมในการฝกึ ปฏบิ ตั ิงานกลมุ่
1.3 การทาแบบฝึกระหวา่ งเรยี น
1.4 การทาแบบทดสอบหลงั เรียน
2. เครื่องมอื การวดั และประเมินผล
2.1 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิงานทม่ี อบหมาย
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมในการฝกึ ปฏบิ ตั งิ านกลุม่
2.3 แบบบนั ทกึ ผลการทาแบบทดสอบหลงั เรียน
3. เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
3.1 กาหนดเกณฑ์ผ่านการประเมนิ 70 %
การบรู ณาการหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ผู้สอนใช้หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
หลกั พอเพยี ง พอประมาณ มเี หตุผลท่ีดี มภี ูมิคุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี
ประเดน็
- มีการวางแผนการจัดกิจกรรม - จัดการเรียนรู้ตรงตาม - มีการวางแผนการจัดกิจ
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ด้านต่างๆชัดเจน มีลาดับขั้น มาตรฐานตวั ช้ีวดั กรรมอย่างชัดเจนเปน็ ลาดับ
เวลา
ตอน มีการกาหนดเน้ือหาสาระ
สอ่ื
แหลง่ เรียนรู้ จัดกิจกรรมผ่านกระบวนการ
ความรทู้ ่ใี ช้ในการจดั กลมุ่
กิจกรรมการเรยี นรู้
- กาหนดเนื้อหาสาระเหมาะสม - เพื่อให้กิจกรรมการ - มกี ารเผื่อเวลาในการทากิจ
คุณธรรม
กับเวลา กิจกรรมการเรียนรู้ใช้ เรียนการสอนบรรลุตัว ช้ี กรรมแต่ละข้ันเพื่อให้นัก
กระบว นการกลุ่มนักเรียน วัดไดต้ ามเวลาทก่ี าหนด เรียนท่ีมีความสามารถต่าง
ทางานไดท้ นั ตามเวลาทีก่ าหนด กันสามารถทางานให้เสร็จ
ทันเวลา
- จัดเตรียมและใช้ส่ือในการจัด - ใช้เครื่องมือเพื่อให้นัก - มีลาดับขั้นตอนในการใช้
กิจกรรมการเรียนการสอน เรียนได้ร่วมอภิปรายใน สือ่ ตา่ งๆอย่างค้มุ คา่
เหมาะสมกบั จานวนกล่มุ แบบฝึกกิจกรรม
- กาหนดเนื้อหาสาระและกิจ - เพ่ือให้การจัดการเรียน - มีการสืบค้นทางอินเทอร์
กรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับ รู้สอดคล้องกับวิถีชีวิตทา เน็ต การค้นคว้าในห้องสมุด
แหลง่ เรียนรู้ ให้สามารถนาความรู้มา ก่อนจะออกแบบกิจกรรม
ใช้ในชีวิตประจาวันได้ การเรียนร้ตู า่ งๆ
- สืบคน้ เทคนิควิธีการสอน,รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
- ศกึ ษาเนือ้ หาดา้ นต่างๆใหช้ ดั เจน
- ศึกษาคน้ ควา้ และบูรณาการหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การจดั การเรียนรู้
- มคี วามรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัตหิ น้าที่การสอน ตรงตอ่ เวลา เตรียมการสอนลว่ งหน้า
- มีความเมตตา ให้ความเสมอภาค และยุติธรรมกับนักเรียนทกุ คน
- มีความเสียสละ อดทน และใฝร่ ู้
2. ผ้เู รยี นมีคุณลกั ษณะ “ อยอู่ ย่างพอเพียง”
พอประมาณ มีเหตุผลทีด่ ี มีภมู คิ ุม้ กนั ที่ดี
- แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าท่ีในกลุ่ม - มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเนื้อหา - ฝึกการมีส่วนร่วมในการทางาน
เหมาะสมกับความสามารถและพอ ในเรื่องที่ศึกษา สามารถวิเคราะห์ข้อ สร้างความสามัคคใี นการทางาน
เพยี งกับจานวนสมาชกิ มลู ต่างๆไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
- วางแผนการทางานอย่างรอบคอบ - รู้จักทางานร่วมกับผู้อื่นโดยใช้กระ
โดยกาหนดเวลาในการทากิจกรรม บวนการกลุ่ม
อย่างเหมาะสม
ความรู้ (วิธกี าร) - สืบคน้ ข้อมูล เพอ่ื เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ
คณุ ธรรมทีเ่ กดิ กับนักเรยี น - ศกึ ษา ค้นคว้าวิธกี ารทาแบบฝกึ หดั กจิ กรรม และใบงาน
- วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใชท้ ักษะกระบวนการคดิ
- มีความรับผิดชอบในหน้าที่ ท่ีได้รับมอบหมาย ทางานด้วยความเรียบร้อยถูก
ตอ้ ง และเสร็จทันเวลา
- มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีวินับเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดีขณะปฏิบัติงาน
ร่วมกัน
- รว่ มกจิ กรรมการเรียนรดู้ ้วยความกระตอื รือร้น สนใจ ตง้ั ใจ และใฝ่เรียนรู้
3. ผลลพั ธ์ KPA 4 มิติ ทีเ่ กยี่ วข้องกับการอยู่อย่างพอเพียง
ผลลพั ธ์ สมดุลพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในดา้ นต่างๆ
ด้านวตั ถุ ด้านสังคม ด้านสิง่ แวดล้อม ดา้ นวฒั นธรรม
ดา้ นความรู้ - มีความรู้ความเข้าใจ - มีความรู้เกี่ยวกับการทา - มีความรู้ความเข้า -
เกี่ยวกับ คลื่นแม่เหล็ก งานเป็นกลุ่มและการวาง ใ จ ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง
ไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่น แผนร่วมกบั ผู้อื่น ฟสิ ิกส์
แม่เหล็กไฟฟ้า
ดา้ นทักษะ - มีความสามารถในการ - สามารถทางานร่วมกับผู้ - -
อภิปราย ทาแบบฝึก/ใบ อ่ืนในรูปแบบกลุ่มและมี
งาน ทักษะในการสร้างปฏิสัม
พนั ธ์กับผู้อน่ื
กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนทบทวนโดยค้นคว้าด้วยตนเองและฝึกปฏิบัติเพ่ิมเติม พร้อมท้ังแบบฝึกหัดเพ่ิมเติมจากหนัง
สือแบบเรยี น
บนั ทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
ปญั หาและอปุ สรรค
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
ลงชือ่ ......................................................ผูส้ อน
(นางสาวกนกวรรณ บญุ เกตุ)
ความคดิ เหน็ ของผู้อานวยการโรงเรยี นศรีสโมสรวทิ ยา
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื …………………………………………
(นายเมธี วัฒนสิงห)์
ผอู้ านวยการโรงเรยี นศรีสโมสรวิทยา
ใบความรู้
เร่อื ง สเปกตรัมคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า
คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Radiation (EM radiation หรือ EMR)) เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่
ไมต่ อ้ งใชต้ ัวกลางในการเคล่อื นท่ี เชน่ คลน่ื วิทยุ (Radio waves) คล่ืนไมโครเวฟ (Microwaves)
ปัจจุบันมีการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในหลาย ๆ ด้าน เช่น การติดต่อสื่อสาร (มือถือ โทรทัศน์ วิทยุ
เรดาร์ ใยแก้วนาแสง) ทางการแพทย์ (รังสีเอกซ์) การทาอาหาร (คลื่นไมโครเวฟ) การควบคุมรีโมท (รังสี
อินฟราเรด)
คุณสมบัติของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าคือเป็นคล่ืนที่เกิดจากคล่ืนไฟฟ้าและคล่ืนแม่เหล็กต้ังฉากกันและ
เคล่ือนท่ีไปยังทิศทางเดียวกัน คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถเดินทางได้ด้วยความเร็ว 299,792,458 เมตร/วินาที
หรือเทียบเท่ากบั ความเรว็ แสง
คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ เกิดจากการรบกวนทางแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า (Electromagnetic disturbance) โดยการ
ทาให้สนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลง เม่ือสนามไฟฟ้ามีการเปล่ียนแปลงจะเหน่ียวนาให้เกิด
สนามแมเ่ หลก็ หรือถ้าสนามแม่เหลก็ มีการเปลีย่ นแปลงกจ็ ะเหนย่ี วนาใหเ้ กิดสนามไฟฟา้
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง ประกอบด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่มีการส่ันใน
แนวต้งั ฉากกัน และอยบู่ นระนาบตั้งฉากกบั ทิศการเคลอ่ื นทข่ี องคลนื่ คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคล่ืนที่เคลื่อนที่โดย
ไมอ่ าศัยตวั กลาง จงึ สามารถเคล่ือนทใ่ี นสญุ ญากาศได้
สเปกตรัม (Spectrum) ของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าจะประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถ่ีและ
ความยาวคล่ืนแตกต่างกัน ซึ่งครอบคลุมต้ังแต่คลื่นแสงที่ตามองเห็น อัลตราไวโอเลต อินฟราเรด คล่ืนวิทยุ
โทรทัศน์ ไมโครเวฟ รังสีเอกซ์ รงั สแี กมมา เป็นต้น
ดงั นน้ั คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จึงมปี ระโยชนม์ ากในการสอ่ื สารและโทรคมนาคม และทางการแพทย์และนัก
ดาราศาสตรท์ าการศกึ ษาวัตถทุ ้องฟ้า โดยการศกึ ษาคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้าที่วัตถุแผ่รังสีออกมา สเปคตรัมของคลื่น
แม่เหลก็ ไฟฟา้ ทาให้เราทราบถงึ คุณสมบตั ิทางกายภาพของดวงดาว อันได้แก่ อณุ หภมู ิ และพลังงาน
ทฤษฎคี ลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์
คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากการเปล่ียนแปลงของสนามไฟฟ้าตลอดเวลาเหน่ียวนา ทาให้เกิด
สนามแม่เหล็ก พอเกิดสนามแม่เหล็กจะเหน่ียวนา ทาให้เกิดสนามไฟฟ้าเกิดต่อเนื่องกันตลอดเวลาและ
สนามแมเ่ หล็กกับสนาม ไฟฟ้าตง้ั ฉากกนั ตลอดเวลาหาทิศของความเร็วโดยใช้กฎมือขวา และเกิดคลื่นแม่เหล็ก
ในทุกที่ไม่ว่าจะเป็นที่ว่าง ตัวนาหรือฉนวน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดจะมีความเร็วเท่ากัน คือเท่ากับ 3 x
108 m/s แต่ความถไ่ี มเ่ ท่ากัน
การแผ่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ จากสายอากาศ
สเปกตรมั ของคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้
สเปกตรมั คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า คือ แถบแสดงความถ่ี หรือความยาวคลื่นต่าง ๆ ของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า
เรยี งตามลาดับความถี่ เรียงจากความถ่ีน้อยทีส่ ุดถึงความถมี่ ากที่สุด
ประเภทของคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟา้
แสงที่ตามองเห็น (Visible light) เป็นเพียงส่วนหน่ึงของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ในช่วงซ่ึงประสาทตาของ
มนษุ ย์สามารถสัมผัสได้ ซึ่งมีความยาวคล่ืนอยู่ระหว่าง 400 – 700 นาโนเมตร (1 เมตร = 1,000,000,000 นา
โนเมตร) หากนาแท่งแก้วปริซึม (Prism) มาหักเหแสงอาทิตย์ เราจะเห็นว่าแสงสีขาวถูกหักเหออกเป็นสีม่วง
คราม น้าเงนิ เขียว เหลอื ง แสด แดง คล้ายกับสีของรุ้งกินน้า เรียกว่า “สเปคตรัม” (Spectrum) แสงแต่ละสี
มีความยาวคลืน่ แตกตา่ งกนั สมี ่วงมีความยาวคลื่นน้อยที่สุด สีแดงมีความยาวคล่ืนมากที่สุด นอกจากแสงที่ตา
มองเห็นแล้วยังมีคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดอื่นๆ ได้แก่ รังสีท่ีมีความยาวคลื่นถัดจากสีแดงออกไป เราเรียกว่า
“รังสีอินฟราเรด” หรือ “รังสีความร้อน” เรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้ สัตว์บาง
ชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด มันสามารถทราบตาแหน่งของเหย่ือได้ โดยการสัมผัสรังสี
อินฟราเรดซ่งึ แผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ รังสีท่ีมีความยาวคล่ืนน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า “รังสีอุลตราไว
โอเลต็ ” แมว้ า่ เราจะมองไม่เห็น แต่เมื่อเราตากแดดนานๆ ผิวหนังจะไหม้ด้วยรังสีชนิดนี้ นอกจากรังสีอุลตราไว
โอเลต็ และรังสีอินฟราเรดแล้ว ยังมคี ลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าประเภทอ่ืนๆ ซง่ึ เรียงลาดบั ตามความยาวคลน่ื ได้ดงั น้ี
รังสีแกมมา (Gamma ray) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคล่ืนน้อยกว่า 0.01 นาโน
เมตร โฟตอนของรังสีแกมมามีพลังงานสูงมาก กาเนิดจากแหล่งพลังงานนิวเคลียร์ เช่น ดาวระเบิด หรือ
ระเบิดปรมาณู เป็นอันตรายมากต่อสง่ิ มีชีวติ
รังสีเอ็กซ์ (X-ray) มีความยาวคล่ืน 0.01 - 1 นาโนเมตร มีแหล่งกาเนิดในธรรมชาติมาจาก
ดวงอาทติ ย์ เราใชร้ งั สเี อ็กซ์ในทางการแพทย์ เพื่อส่องผ่านเซลล์เน้ือเยื่อ แต่ถ้าได้ร่างกายได้รับรังสีนี้มากๆ ก็จะ
เปน็ อันตราย
รังสีอลุ ตราไวโอเล็ต (Ultraviolet radiation) มีความยาวคลื่น 1 - 400 นาโนเมตร รังสีอุล
ตราไวโอเล็ตมีอยู่ในแสงอาทิตย์ เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย แต่หากได้รับมากเกินไปก็จะทาให้ผิวไหม้ และอาจ
ทาใหเ้ กดิ มะเร็งผิวหนัง
แสงที่ตามองเห็น (Visible light) มีความยาวคล่ืน 400 – 700 นาโนเมตร พลังงานที่แผ่
ออกมาจากดวงอาทิตย์ ส่วนมากเป็นรังสีในช่วงนี้ แสงแดดเป็นแหล่งพลังงานที่สาคัญของโลก และยังช่วยใน
การสงั เคราะหแ์ สงของพืช
รังสอี นิ ฟราเรด (Infrared radiation) มีความยาวคลน่ื 700 นาโนเมตร – 1 มิลลิเมตร โลก
และสิง่ ชีวิตแผ่รงั สีอนิ ฟราเรดออกมา กา๊ ซเรอื นกระจก เชน่ คารบ์ อนไดออกไซด์ และไอน้า ในบรรยากาศดูดซับ
รงั สีนีไ้ ว้ ทาใหโ้ ลกมีความอบอ่นุ เหมาะกบั การดารงชีวิ
คล่ืนไมโครเวฟ (Microwave) มีความยาวคลื่น 1 มิลลิเมตร – 10 เซนติเมตร ใช้ประโยชน์
ในด้านโทรคมนาคมระยะไกล นอกจากน้ันยังนามาประยุกตส์ รา้ งพลงั งานในเตาอบอาหาร
คล่ืนวิทยุ (Radio wave) เป็นคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นมากที่สุด คล่ืนวิทยุ
สามารถเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศได้ จึงถกู นามาใช้ประโยชน์ในดา้ นการสื่อสาร โทรคมนาคม
สเปกตรมั ของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรมั คลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า คอื แถบแสดงความถี่ หรือความยาวคลื่นต่าง ๆ ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรียงตามลาดับความถี่ เรยี งจากความถ่ีนอ้ ยทสี่ ดุ ถึงความถมี่ ากท่สี ุด
ประเภทของคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้
แสงท่ีตามองเห็น (Visible light) เป็นเพียงส่วนหน่ึงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในช่วงซ่ึงประสาทตาของ
มนุษยส์ ามารถสมั ผัสได้ ซงึ่ มคี วามยาวคล่ืนอยู่ระหว่าง 400 – 700 นาโนเมตร (1 เมตร = 1,000,000,000 นา
โนเมตร) หากนาแท่งแก้วปริซึม (Prism) มาหักเหแสงอาทิตย์ เราจะเห็นว่าแสงสีขาวถูกหักเหออกเป็นสีม่วง
คราม น้าเงิน เขียว เหลือง แสด แดง คล้ายกับสขี องรุ้งกินน้า เรียกว่า “สเปคตรัม” (Spectrum) แสงแต่ละสี
มีความยาวคลน่ื แตกตา่ งกัน สมี ่วงมคี วามยาวคลนื่ น้อยท่สี ดุ สีแดงมีความยาวคล่ืนมากท่ีสุด นอกจากแสงที่ตา
มองเห็นแล้วยังมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดอ่ืนๆ ได้แก่ รังสีท่ีมีความยาวคลื่นถัดจากสีแดงออกไป เราเรียกว่า
“รังสีอินฟราเรด” หรือ “รังสีความร้อน” เรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้ สัตว์บาง
ชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด มันสามารถทราบตาแหน่งของเหย่ือได้ โดยการสัมผัสรังสี
อินฟราเรดซงึ่ แผอ่ อกมาจากร่างกายของเหยื่อ รังสีท่ีมีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า “รังสีอุลตราไว
โอเล็ต” แมว้ า่ เราจะมองไมเ่ ห็น แต่เม่ือเราตากแดดนานๆ ผิวหนังจะไหม้ด้วยรังสีชนิดนี้ นอกจากรังสีอุลตราไว
โอเลต็ และรังสอี นิ ฟราเรดแลว้ ยงั มีคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้าประเภทอน่ื ๆ ซ่งึ เรียงลาดบั ตามความยาวคลื่นได้ดงั นี้
รังสีแกมมา (Gamma ray) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 0.01 นาโน
เมตร โฟตอนของรังสีแกมมามีพลังงานสูงมาก กาเนิดจากแหล่งพลังงานนิวเคลียร์ เช่น ดาวระเบิด หรือ
ระเบิดปรมาณู เป็นอันตรายมากตอ่ สิง่ มีชวี ิต
รังสีเอ็กซ์ (X-ray) มีความยาวคล่ืน 0.01 - 1 นาโนเมตร มีแหล่งกาเนิดในธรรมชาติมาจาก
ดวงอาทิตย์ เราใชร้ ังสีเอ็กซใ์ นทางการแพทย์ เพ่ือส่องผ่านเซลล์เน้ือเยื่อ แต่ถ้าได้ร่างกายได้รับรังสีน้ีมากๆ ก็จะ
เปน็ อันตราย
รังสีอุลตราไวโอเล็ต (Ultraviolet radiation) มีความยาวคลื่น 1 - 400 นาโนเมตร รังสีอุล
ตราไวโอเล็ตมีอยู่ในแสงอาทิตย์ เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย แต่หากได้รับมากเกินไปก็จะทาให้ผิวไหม้ และอาจ
ทาใหเ้ กิดมะเรง็ ผิวหนงั
แสงที่ตามองเห็น (Visible light) มีความยาวคล่ืน 400 – 700 นาโนเมตร พลังงานที่แผ่
ออกมาจากดวงอาทิตย์ ส่วนมากเป็นรังสีในช่วงน้ี แสงแดดเป็นแหล่งพลังงานท่ีสาคัญของโลก และยังช่วยใน
การสังเคราะห์แสงของพชื
รงั สีอินฟราเรด (Infrared radiation) มีความยาวคลน่ื 700 นาโนเมตร – 1 มิลลิเมตร โลก
และสง่ิ ชีวิตแผร่ งั สีอนิ ฟราเรดออกมา กา๊ ซเรอื นกระจก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้า ในบรรยากาศดูดซับ
รงั สีน้ีไว้ ทาใหโ้ ลกมีความอบอนุ่ เหมาะกบั การดารงชวี ติ
คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) มีความยาวคล่ืน 1 มิลลิเมตร – 10 เซนติเมตร ใช้ประโยชน์
ในดา้ นโทรคมนาคมระยะไกล นอกจากน้นั ยังนามาประยุกตส์ ร้างพลังงานในเตาอบอาหาร
คล่ืนวิทยุ (Radio wave) เป็นคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีความยาวคล่ืนมากท่ีสุด คล่ืนวิทยุ
สามารถเดนิ ทางผา่ นชัน้ บรรยากาศได้ จึงถูกนามาใชป้ ระโยชนใ์ นด้านการสื่อสาร โทรคมนาคม
ประโยชน์ของคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า
1.ประโยชนข์ องคลน่ื วทิ ยุ
การส่ือสารถือว่าเป็นสิ่งสาคัญมากสาหรับมนุษย์เรา เรามีการติดต่อสื่อสารกันหลายลักษณะ
นอกเหนอื จากการพูดคุยกัน การใช้วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ เป็นปัจจัยสาคัญสาหรับมนุษย์ท่ีจะรับทราบ
ความเป็นไปต่างๆซ่งึ อปุ กรณเ์ หล่านจ้ี ะทางานไดต้ อ้ งอาศยั คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ท่ีเรยี กวา่ คลนื่ วทิ ยุ
2.ประโยชน์ของคล่นื ไมโครเวฟ
ได้มีการนาคลื่นไมโครเวฟมาใช้เพ่ือตรวจหาตาแหน่ง โดยในช่วงความยาวคล่ืนประมาณ 0.5 cm.- 1
m. เปน็ เรดาร์จบั วตั ถุทเ่ี คลอื่ นไหว เชน่ วัตถุหรือเครอ่ื งบนิ ในอากาศ เป็นตน้ ใชเ้ ปน็ แหล่งกาเนิดความร้อน เช่น
ทาให้อาหารสุกโดยใชเ้ ตาไมโครเวฟ เปน็ ต้น
3.ประโยชนข์ องรงั สีอินฟาเรต
มีการนาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงรังสีอินฟาเรต มาใช้ประโยชน์ในการค้นหาสัตว์ป่าในที่มืดเพ่ือ
การศึกษา ใช้ในการถ่ายรูปในช่วงท่ีมีเมฆ หมอก หนาทึบหรือทัศนวิสัยไม่ดี ใช้อบอาหารในเตาที่ใช้รังสีอิน
ฟาเรต ใช้ในอุตสาหกรรมอบสี ใช้ในการรักษาโรคผวิ หนังบางชนดิ
4.ประโยชน์ของรังสอี ลั ตาไวโอเลต
การรับรังสีอัลตาไวโอเลตในปริมาณที่ไม่มากจนเป็นอันตราย จะทาให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายมนุษย์
ในการชว่ ยสรา้ งวติ ามินดี แต่การรบั ในปริมาณท่ีมากเกินไปจะเป็นสาเหตุของการเกิดมะเร็งท่ีผิวหนังได้ การนา
รังสีอัลตาไวโอเลตมาใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ มีหลายประการ เช่น การใช้รังสีอัลตาไวโอเลตในการแพทย์โดย
ใช้ฆ่าเช้ือโรค ทาความสะอาดเครื่องมือแพทย์ ใช้รักษาอาการตัวเหลืองในเด็กทารก ใช้ในอุตสาหกรรมผลิต
อาหารโดยนารังสอี ลั ตาไวโอเลตมาใช้ฆ่าเช้อื โรค
5.ประโยชนข์ องรังสีเอกซ์
รังสเี อกซ์เป็นคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าทม่ี ีอานาจทะลุผ่านสูงจึงสามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ด้หลายด้าน
- ใช้ตรวจสอบรอยร้าวของส่วนประกอบสง่ิ ก่อสรา้ ง
- ใชต้ รวจหาอาวธุ หรอื ระเบิดในกระเป๋าเดนิ ทางบรเิ วณดา่ นตรวจคนเข้าเมอื ง
- ใชต้ รวจดูอวยั วะภายในและใช้รักษาโรคมะเร็งหรือใช้ในการศึกษาการจัดเรียงตัวของอะตอมใน
ผลกึ
6.ประโยชน์ของรังสีแกมมา่
คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีอันตรายมากที่สุดคือรังสีแกมม่า เน่ืองจากเป็นคลื่นท่ีมีพลังงานมากท่ีสุดจึง
สามารถทาลุทะลวงสิ่งต่างๆไดด้ แี ตเ่ ราก็สามารถนามาใชป้ ระโยชนใ์ นทางการแพทย์ได้ เชน่
- การใชร้ งั สีแกมมา่ จากการสลายตัวของโคบอลต์ - 60 เพื่อรักษาโรคมะเรง็
- การใช้รังสีแกมม่าจากการสลายตวของไอโอดนี -1-3-1 เพ่อื รกั ษาโรคคอพอก
- นาไปใชใ้ นการตรวจสอบรอยร่ัวและรอยร้าวของเคร่อื งใช้ทที่ าจากโลหะ
- ใชใ้ นการศกึ ษาการดูดซึมของแร่ธาตุของรากพชื และการสงั เคราะหแ์ สง
- ใชใ้ นการรักษาโรคพชื บางชนดิ
- ใชเ้ ปลยี่ นแปลงพันธ์ุพืช
- ใชฉ้ ายลงบนผลการเกษตรบางชนดิ เพ่อื ให้เก็บรักษาผลผลิตไว้ได้เปน็ เวลานาน
ใบงานที่ 1
1. คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ชนดิ หนง่ึ มีความถ่ี 1x1014 Hz คล่นื น้จี ะมีพลังงานกีจ่ ลู
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
2. จงหาพลังงานของคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ซง่ึ มคี วามยาวคลืน่ 600 nm ในหน่วยจลู
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
3. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทม่ี พี ลงั งาน 1.324 x 10–20 จลู จะมคี วามถี่เทา่ ใด
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
4. จงหาความถีใ่ นหน่วยเฮิรตซ์ของแสงที่โฟตอนมพี ลงั งานเทา่ กับ 1.5 ev
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
5. คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าเกิดจากส่ิงใด
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6
รายวิชาฟสิ กิ สเ์ พ่มิ เติม (ว30206) เวลา 10 ชัว่ โมง
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เวลา 5 ช่วั โมง
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 18 คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้
เร่ือง พลังงานของคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้
สาระสาคัญ
พลังงานของคลื่น พิจารณาเป็นความเข้มของกาลังงาน หรือฟลักซ์ของการแผ่รังสี (มีหน่วยเป็น
พลังงานตอ่ หนว่ ยเวลาต่อหน่วยพ้ืนที่ = Joule s-1 m-2 = watt m-2) ซ่ึงอาจวัดจากความเข้มที่เปล่งออกมา
(radiance) หรอื ความเขม้ ท่ตี กกระทบ (irradiance)
สาระการเรียนรู้
พลังงานของคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี นิ ยั
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. อยู่อย่างพอเพียง
4. มงุ่ ม่นั ในการทางาน
5. มจี ิตสาธารณะ
แนวทางในการบรู ณาการ
บูรณาการกับกลุม่ สาระสังคมศึกษาเร่อื งทรพั ยากรธรรมชาติ
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
สารวจตรวจสอบและอภปิ รายพลังงานของคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าและนาไปแกป้ ัญหาได้
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ขน้ั เรา้ ความสนใจ
1.1 สนทนาทบทวนเก่ียวกับแก๊สท่ีเรียนผ่านมาแล้วและสนทนาถึงการเรียนเกี่ยวกับอะตอมและ
โครงสรา้ งอะตอมทนี่ ักเรยี นเรียนผ่านมาในวชิ าเคมสี ามารถนามาเชื่อมโยงกับวิชาฟิสิกสไ์ ด้
1.2 พลงั งานของคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า มีลักษณะเปน็ อย่างไร มคี วามแตกต่างกนั อย่างไร
2. ขน้ั สารวจและค้นหา
2.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา ค้นคว้า เก่ียวกับพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในใบ
ความรู้ เรือ่ ง พลงั งานของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวบรวมขอ้ มูลจากการศกึ ษาค้นคว้าให้ได้มากท่ีสุด และต้องมีการ
แบ่งหน้าท่ีกันทางาน โดยไม่ให้ซ้ากับหน้าที่เดิมท่ีเคยปฏิบัติมาแล้ว ครูซ้าเก่ียวกับการประเมินนักเรียนใน
ระหวา่ งการเรยี นและการทางาน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นาข้อมูลท่ีได้มาร่วมกันวิเคราะห์ แปลความหมาย จัดกระทา ลงข้อสรุปในรูปของแผนผัง
ความคิด นาเสนอในรูปแบบท่ีน่าสนใจและตกแต่งให้สวยงาม แล้วอธิบายซักถามกันภายในกลุ่มจนเข้าใจ
ตรงกัน
3.2 ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาผลงานไปติดที่ผนังหอ้ ง สุ่มตัวแทนนักเรียนจากกลุ่มต่างๆ ประมาณ 1
- 2 กลมุ่ นาเสนอผลงาน จากนนั้ ร่วมกันอภิปรายซักถามเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่สมบูรณ์ท่ีสุด
3.3 ให้แต่ละกลุ่มผลัดเปล่ียนกันประเมินผลงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับจุดเด่นจุดด้อยของ
ผลงานของเพอ่ื น
4. ขัน้ ขยายความรู้
4.1 ครูให้ความรเู้ พิม่ เติมเก่ยี วกับพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้ส่ือ power point และสื่อ
animation
5. ข้นั ประเมนิ
5.1 เปดิ โอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสยั ท่ีนกั เรียนยงั ไมเ่ ข้าใจเก่ียวกับเรื่องทเี่ รยี น
5.2 สมุ่ นักเรียนอภปิ รายสรุปเกี่ยวกับความรู้ที่ไดร้ ับในการศกึ ษาในครงั้ น้ี
5.3 นกั เรยี นบันทึกผลการเรยี นรใู้ นสมดุ บนั ทึกผลการเรยี นร้รู ายช่ัวโมง
สอ่ื การเรียนรู้และแหลง่ การเรียนรู้
1. หนงั สือแบบเรยี นรายวชิ าฟิสิกสเ์ พม่ิ เตมิ เล่ม 6 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
2. ใบงานท่ี 2
3. ใบงานรู้ เรอ่ื ง พลงั งานของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้
การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานทมี่ อบหมาย
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมในการฝกึ ปฏบิ ัติงานกลุม่
1.3 การทาแบบฝกึ ระหวา่ งเรียน
1.4 การทาแบบทดสอบหลังเรยี น
2. เครื่องมอื การวดั และประเมินผล
2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านท่มี อบหมาย
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในการฝึกปฏบิ ัติงานกลุ่ม
2.3 แบบบันทึกผลการทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
3. เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล
3.1 กาหนดเกณฑ์ผ่านการประเมิน 70 %
การบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ผสู้ อนใชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
หลกั พอเพียง พอประมาณ มเี หตุผลทดี่ ี มีภูมิคุ้มกันในตัวท่ดี ี
ประเดน็
กิจกรรมการเรยี นรู้ - มีการวางแผนการจัดกิจกรรม - จัดการเรียนรู้ตรงตาม - มีการวางแผนการจัดกิจ
ด้านต่างๆชัดเจน มีลาดับขั้น มาตรฐานตวั ชวี้ ดั กรรมอย่างชัดเจนเปน็ ลาดับ
ตอน มีการกาหนดเนื้อหาสาระ
จัดกิจกรรมผ่านกระบวนการ
กลุม่
เวลา - กาหนดเน้ือหาสาระเหมาะสม - เพื่อให้กิจกรรมการ - มกี ารเผอ่ื เวลาในการทากิจ
กับเวลา กิจกรรมการเรียนรู้ใช้ เรียนการสอนบรรลุตัว ชี้ กรรมแต่ละขั้นเพ่ือให้นัก
กระบวนการกลุ่มนักเรียนทา วดั ได้ตามเวลาที่กาหนด เรียนที่มีความสามารถต่าง
งานได้ทนั ตามเวลาทกี่ าหนด กันสามารถทางานให้เสร็จ
ทันเวลา
สอ่ื - จัดเตรียมและใช้ส่ือในการจัด - ใช้เคร่ืองมือเพื่อให้นัก - มีลาดับข้ันตอนในการใช้
กิจกรรมการเรียนการสอน เรียนได้ร่วมอภิปรายใน ส่ือต่างๆอย่างคมุ้ คา่
เหมาะสมกับจานวนกลมุ่ แบบฝึกกิจกรรม
แหลง่ เรยี นรู้ - กาหนดเนื้อหาสาระและกิจ - เพื่อให้การจัดการเรียน - มีการสืบค้นทางอินเทอร์
กรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับ รสู้ อดคล้องกับวิถีชีวิตทา เน็ต การค้นคว้าในห้องสมุด
แหล่งเรียนรู้ ให้สามารถนาความรู้มา ก่อนจะออกแบบกิจกรรม
ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ การเรียนรู้ต่างๆ
ความรทู้ ี่ใช้ในการจัด - สืบคน้ เทคนิควิธกี ารสอน,รปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรยี นรู้ - ศึกษาเนือ้ หาดา้ นต่างๆให้ชัดเจน
- ศกึ ษาค้นควา้ และบูรณาการหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การจดั การเรยี นรู้
คุณธรรม - มคี วามรับผิดชอบในการปฏิบัตหิ น้าทก่ี ารสอน ตรงต่อเวลา เตรยี มการสอนลว่ งหน้า
- มีความเมตตา ใหค้ วามเสมอภาค และยุตธิ รรมกับนกั เรยี นทกุ คน
- มคี วามเสียสละ อดทน และใฝร่ ู้
2. ผู้เรยี นมีคุณลักษณะ “ อยูอ่ ยา่ งพอเพียง”
พอประมาณ มีเหตุผลทดี่ ี มภี ูมคิ ุ้มกนั ทดี่ ี
- แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในกลุ่ม - มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเน้ือหา - ฝึกการมีส่วนร่วมในการทางาน
เหมาะสมกับความสามารถและพอ ในเร่ืองท่ีศึกษา สามารถวิเคราะห์ข้อ สรา้ งความสามัคคใี นการทางาน
เพียงกบั จานวนสมาชกิ มูลต่างๆไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
- วางแผนการทางานอยา่ งรอบคอบ - รู้จักทางานร่วมกับผู้อื่นโดยใช้กระ
โดยกาหนดเวลาในการทากิจกรรม บวนการกลุ่ม
อยา่ งเหมาะสม
ความรู้ (วธิ กี าร) - สบื คน้ ขอ้ มลู เพือ่ เสรมิ สร้างความรู้ ความเข้าใจ
- ศกึ ษา คน้ คว้าวิธีการทาแบบฝกึ หดั กจิ กรรม และใบงาน
- วิเคราะหข์ ้อมูลโดยใช้ทักษะกระบวนการคิด
คณุ ธรรมท่เี กดิ กบั นักเรยี น - มีความรับผิดชอบในหน้าท่ี ที่ได้รับมอบหมาย ทางานด้วยความเรียบร้อยถูก
ต้อง และเสร็จทนั เวลา
- มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีวินับเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดีขณะปฏิบัติงานร่วม
กัน
- รว่ มกิจกรรมการเรียนรูด้ ว้ ยความกระตอื รอื ร้น สนใจ ตัง้ ใจ และใฝเ่ รียนรู้
3. ผลลัพธ์ KPA 4 มติ ิ ที่เกยี่ วขอ้ งกับการอยอู่ ย่างพอเพียง
ผลลัพธ์ สมดลุ พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านตา่ งๆ
ด้านวตั ถุ ดา้ นสังคม ด้านสิ่งแวดลอ้ ม ดา้ นวฒั นธรรม
-
ดา้ นความรู้ - มีความรู้ความเข้าใจ - มีความรู้เก่ียวกับการทา - มีความรู้ความเข้า
-
เกี่ยวกับ พลังงานของ งานเป็นกลุ่มและการวาง ใ จ ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง
คล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้ แผนรว่ มกับผอู้ ่ืน ฟิสิกส์
ดา้ นทักษะ - มีความสามารถใน - สามารถทางานร่วมกับผู้ -
การอภิปราย ทาแบบ อ่ืนในรูปแบบกลุ่มและมี
ฝึก/ใบงาน ทักษะในการสร้างปฏิสัม
พนั ธก์ ับผ้อู ่นื
กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ ักเรียนทบทวนโดยค้นคว้าด้วยตนเองและฝึกปฏิบัติเพิ่มเติม พร้อมท้ังแบบฝึกหัดเพิ่มเติมจากหนัง
สอื แบบเรยี น
บนั ทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
ปญั หาและอปุ สรรค
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
ลงชอื่ ......................................................ผสู้ อน
(นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ)
ความคดิ เหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียนศรีสโมสรวทิ ยา
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื …………………………………………
(นายเมธี วฒั นสิงห์)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นศรีสโมสรวทิ ยา
ใบความรู้
เรอ่ื ง พลังงานคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า
พลังงานของคล่ืน พิจารณาเป็นความเข้มของกาลังงาน หรือฟลักซ์ของการแผ่รังสี (มีหน่วยเป็น
พลังงานต่อหน่วยเวลาต่อหน่วยพื้นท่ี = Joule s-1 m-2 = watt m-2) ซ่ึงอาจวัดจากความเข้มที่เปล่งออกมา
(radiance) หรอื ความเข้มที่ตกกระทบ (irradiance)
จากภาพเป็นการแสดงช่วงความยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเคร่ืองมือวัด (Sensor) ของ
ดาวเทียมหรืออุปกรณ์ตรวจวัดจะออกแบบมาให้เหมาะสมกับช่วงความยาวของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงคลื่น
ต่างกนั เช่น
ช่วงรังสแี กมมา (gamma ray : l < 0.1 nm) และช่วงรังสีเอ็กซ์ (x-ray : 0.1 nm < l < 300
nm) เป็นชว่ งทมี่ ีพลงั งานสูง แผร่ งั สีจากปฏิกิรยิ านิวเคลยี ร์ หรอื จากสารกมั มันตรงั สี
ชว่ งอัลตราไวโอเลต เป็นชว่ งทม่ี ีพลังงานสูง เปน็ อนั ตรายต่อเซลสิ่งมชี วี ติ
ช่วงคลน่ื แสง เป็นช่วงคล่ืนทีต่ ามนษุ ย์รบั ร้ไู ด้ ประกอบดว้ ยแสงสมี ว่ ง ไล่ลงมาจนถึงแสงสแี ดง
ช่วงอนิ ฟราเรด เป็นชว่ งคลน่ื ท่ีมีพลงั งานต่า ตามนุษย์มองไม่เห็น จาแนกออกเป็น อินฟราเรด
คล่นื ส้ัน และอนิ ฟราเรดคลื่นความร้อน
- Near Infrared (NIR) ความยาวคลน่ื จะอยู่ในช่วงระหวา่ ง 0.7 ถงึ 1.5 µm.
- Short Wavelength Infrared (SWIR) ความยาวคล่นื จะอยูใ่ นช่วงระหวา่ ง 1.5 ถงึ 3 µm.
- Mid Wavelength Infrared (MWIR) ความยาวคล่ืนจะอยใู่ นช่วงระหวา่ ง 3 ถึง 8 µm.
- Long Wavelength Infrared (LWIR) ความยาวคลน่ื จะอย่ใู นช่วงระหว่าง 8 ถงึ 15 µm.
- Far Infrared (FIR) ความยาวคลืน่ จะมากกว่า 15 µm.
ช่วงคลื่นวิทยุ (radio wave) เป็นช่วงคล่ืนท่ีเกิดจากการสั่นของผลึกเนื่องจากได้รับ
สนามไฟฟ้า หรือเกดิ จากการสลบั ข้วั ไฟฟ้า สาหรับในชว่ งไมโครเวฟ มกี ารให้ชื่อเฉพาะ เชน่
- P band ความถอี่ ย่ใู นช่วง 0.3 - 1 GHz (30 - 100 cm)
- L band ความถี่อยู่ในช่วง 1 - 2 GHz (15 - 30 cm)
- S band ความถอี่ ยูใ่ นชว่ ง 2 - 4 GHz (7.5 - 15 cm)
- C band ความถอ่ี ยู่ในชว่ ง 4 - 8 GHz (3.8 - 7.5 cm)
- X band ความถี่อยู่ในชว่ ง 8 - 12.5 GHz (2.4 - 3.8 cm)
- Ku band ความถ่ีอยใู่ นชว่ ง 12.5 - 18 GHz (1.7 - 2.4 cm)
- K band ความถีอ่ ยใู่ นช่วง 18 - 26.5 GHz (1.1 - 1.7 cm)
- Ka band ความถ่ีอยใู่ นช่วง 26.5 - 40 GHz (0.75 - 1.1 cm
ความยาวช่วงคลื่นและความเข้มของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของแหล่งกาเนิดคล่ืน
แม่เหลก็ ไฟฟ้า เช่น ดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมิ 6,000 K จะแผ่พลังงานในช่วงคลื่นแสงมากที่สุด วัตถุต่างๆ บนพ้ืน
โลกส่วนมากจะมีอุณหภูมิประมาณ 300 K จะแผ่พลังงานในช่วงอินฟราเรดความร้อนมากท่ีสุด คล่ืน
แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เม่ือเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศ จะถูกโมเลกุลอากาศ และฝุ่นละอองในอากาศดูดกลืน และขวาง
ไว้ทาให้คล่ืนกระเจิงคล่ืนออกไป คลื่นส่วนที่กระทบถูกวัตถุจะสะท้อนกลับ และเดินทางผ่านช้ันบรรยากาศมา
ตกสอู่ ุปกรณ์วัดคลื่น
เนอ่ื งจากวัตถุตา่ งๆ มคี ุณสมบัตกิ ารสะทอ้ นคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าท่ีช่วงคลื่นต่างๆ ไม่เหมือนกัน ดังนั้นเรา
จึงสามารถใช้คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในการสารวจจากระยะไกลได้ รูปต่อไปนี้แสดงลักษณะการสะท้อนแสง
เปรียบเทียบระหว่างวัตถุต่างชนิดกันท่ีช่วงคลื่นต่างๆ กัน ความสามารถในการสะท้อนแสงของวัตถุต่างๆ บน
พืน้ โลกสามารถสรุปไดด้ งั น้ี
น้าสะท้อนแสงในช่วงแสงสนี า้ เงินได้ดี และดูดกลนื คล่ืนในช่วงอื่นๆ และใหส้ งั เกตว่าน้าจะ
ดูดกลนื คล่ืน IR ชว่ ง 0.91 mm ในช่วงน้ไี ด้ดีมาก
ดนิ สะท้อนแสงในช่วงคลนื่ แสงได้ดที ุกสี
พชื สะท้อนแสงชว่ งสีเขียวได้ดี และสะท้อนช่วงอนิ ฟราเรดไดด้ กี วา่ นา้ และดินมาก
ใบงานที่ 2
1. แสงไม่โพลาไรส์ตกกระทบผิววัตถุ โดยทามุมตกกระทบเท่ากับ 48 องศา พบว่าแสงสะท้อนจากผิววัตถุเป็น
แสงโพลาไรส์ ดรรชนีหกั เหของวัตถนุ ีเ้ ป็นเทา่ ใด
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
2. นิลในอากาศ จงคานวณหามมุ บรสู เตอรข์ องนลิ ถา้ มมุ วิกฤตของนิลเทา่ กบั 34.4 องศา
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
3. ใหน้ ักเรียนอธิบายสเปกตรมั คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
4. ใหน้ กั เรยี นอธิบายรงั สอี นิ ฟราเรดแตกต่างกบั รงั สอี ัลตรา้ ไวโอเลตอย่างไร
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
5. ให้นักเรียนอธบิ ายรังสีเอก็ ซแ์ ตกต่างกบั รงั สีแกมมาอย่างไร
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
แบบทดสอบ
กอ่ นเรียน-หลังเรยี น
1. นกั วิทยาศาสตร์คนใดเป็นผปู้ ระดิษฐ์ไดนาโมเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ก. อังเดร มารี แอมแปร์ ข. ไมเคลิ ฟาราเดย์
ค. กาลิเลโอ ง. แซมมวล ฟินเลย์ บรสี มอร
2. คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ เกดิ จากขอ้ ใด
ก. กระแสไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ข. การเคลอื่ นทีข่ องนวิ ตรอนด้วยความเร่ง
ค. โลหะที่ถกู เผาจนรอ้ นแดง ง. การเคลื่อนที่ของอเิ ลก็ ตรอนดว้ ยความเร็วคงที่
3. ข้อใด ไมใ่ ช่ แหล่งกาเนดิ ของคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้
ก. วตั ถมุ ีอณุ หภูมสิ งู
ข. อิเลก็ ตรอนในอะตอมปลดปล่อยพลงั งาน
ค. อิเลก็ ตรอนในไฟฟา้ กระแสสลับ
ง. อิเลก็ ตรอนในกระแสไฟฟ้าตรงปลดปล่อยพลังงาน
4. รงั สชี นิดใดมีพลังงานมากทสี่ ดุ
ก. รงั สี UVA ข. รงั สี UVB ค. รังสี UVC ง. รังสี UVD
5. นักวิทยาศาสตรค์ นใดเป็นผู้ประดษิ ฐเ์ ครื่อง รบั -ส่งโทรเลข
ก. ไฮน์รชิ รูดอล์ฟ เฮิร์ตซ ข. องั เดร มารี แอมแปร์
ค. เจมส์ คราร์ก แมคเวลส์ ง. แซมมวล ฟนิ เลย์ บรสี มอร์
6. นกั วิทยาศาสตรค์ นใดเปน็ ผ้คู น้ พบรังสเี อ็กซจ์ ากการทดลองหลอดรงั สแี คโทด
ก. เจมส์ คราร์ก แมคเวลส์ ข. แซมมวล ฟินเลย์ บรีส มอร์ส
ค. วิลเฮล์ม คอนราต เรนิ ตเ์ กน ง. ไฮนร์ ิช รดู อลฟ์ เฮิรต์ ซ
7. คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ ทุกชนดิ ขณะเคลอื่ นในสุญญากาศจะมสี งิ่ หน่งึ เท่ากันเสมอ คอื ขอ้ ใด
ก. ความยาวคล่ืน ข. แอมปลิจดู ค. ความถี่ ง. ความเร็ว
8. คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์สเปกตรัมใดเคล่อื นท่มี าถึงโลกก่อน สเปกตรมั อ่ืนเสมอ
ก. คลน่ื วิทยุ ข. รังสแี กมมา ค. แสง ง. มาถงึ พร้อมกัน
9. การแผ่รงั สีคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าตอ่ ไปนีข้ ้อใดมีความยาวคล่ืนส้ันที่สุด
ก. รงั สแี กมมา ข. แสง ค. ไมโครเวฟ ง. รังสีอลั ตราไวโอเลต
10. คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ต่อไปนคี้ ล่ืนชนิดใดมีพลงั งานมากท่สี ุด
ก. ไมโครเวฟ ข. อินฟราเรด ค. แสง ง. รงั สีเอกซ์
11. คล่นื วทิ ยมุ ีกี่ระบบ
ก. 1 ระบบ ข. 2 ระบบ ค. 3 ระบบ ง. 4 ระบบ
12. คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าเกดิ จาก
1) การเหนยี่ วนาอย่างต่อเน่ืองระหว่างสนามแมเ่ หลก็ และสนามไฟฟ้า
2) กระแสไฟฟ้าคงท่ไี หลผา่ นเส้นลวดตัวนา
คาตอบที่ถกู คือ
ก. ข้อ 1. ข. ขอ้ 2 ค. ขอ้ 1 และข้อ 2 ง. ไมม่ ขี อ้ ถกู
13. คลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้ามีแหลง่ กาเนิดได้จาก
1. ประจไุ ฟฟ้าเคลอื่ นทดี่ ว้ ยความเร่ง 2. วัตถทุ ี่มีอณุ หภูมสิ งู มาก ๆ
3. การสลายตวั ของธาตกุ ัมมนั ตรงั สี 4. เครื่องปฏกิ รณป์ รมณู
คาตอบข้อใดที่ถูกต้อง
ก. ขอ้ 1. เทา่ นัน้ ข. ข้อ 1. และ 3 ค. ข้อ 1 และ 4 ง. ถกู ทุกข้อ
14. รงั สีในขอ้ ใดใชถ้ ่ายภาพพน้ื โลกจากดาวเทยี ม
ก. รังสอี นิ ฟราเรด ข. รงั สีเอ็กซ์ ค. รงั สีอลั ตรา้ ไวโอเลต ง. รังสแี กมมา
15. การเปลย่ี นแปลงสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนาให้เกิดสนามไฟฟ้าข้ึน ซึ่งจะเกิดสนามไฟฟ้าได้ก็ต่อเมื่อบริเวณ
น้นั เป็นอะไร
ก. ตวั นา ข. ฉนวน ค. สญุ ญากาศ ง. ถกู ทุกข้อ
16. ขอ้ ความต่อไปน้ขี อ้ ใดกลา่ วถกู ต้องตามทฤษฎเี กีย่ วกบั คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
1. ขณะประจุเคลือ่ นที่ด้วยความเรง่ หรอื ความหนว่ ง จะแผ่คล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า
2. เมอ่ื สนามแม่เหลก็ เปลีย่ นแปลงจะเหนีย่ วนาให้เกิดสนามไฟฟา้ โดยรอบยกเวน้ บริเวณ นั้นเปน็ ฉนวน
3. บริเวณรอบตัวนาที่มีกระแสไฟฟา้ จะเกิดสนามแม่เหลก็
ก. 1, 2 และ 3 ข. 1 และ 3 ค. 3 เทา่ น้ัน ง. คาตอบเปน็ อย่างอ่ืน
17. เมื่อเกดิ คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้าส่งิ ท่ีเคลื่อนไปกับคลื่นคือ ขอ้ ใด
ก. พลังงาน ข. ประจุไฟฟ้า ค. นิวตรอน ง. ไม่มขี ้อถกู
18. ทศิ ทางของสนามแม่เหลก็ ของคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จะอยใู่ นแนวใด
ก. ขนานกับทศิ ของสนามไฟฟา้ ข. ขนานกบั ทศิ ของการเคลือ่ นท่ขี องคลนื่
ค. ต้ังฉากกบั ทศิ ของคลนื่ และสนามไฟฟ้า ง. มที ิศไมแ่ น่นอน
19. คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าทกุ ชนิดมีคณุ สมบตั ทิ เ่ี หมอื นกันคือข้อใด
ก. มีความเรว็ เท่ากบั แสง ข. มคี วามถเี่ ทา่ กับแสง
ค. มคี วามยาวคลนื่ เท่ากบั แสง ง. มพี ลังงานเทา่ กบั แสง
20. คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าตอ่ ไปน้ี คลื่นชนดิ ใดมพี ลงั งานมากทีส่ ุด
ก. คล่นื วทิ ยุ ข. รงั สีอินฟราเรด ค. แสง ง. รังสเี อกซ์
21. คลน่ื ต่อไปนช้ี นิดใดที่มีความถ่สี ูงสดุ
ก. รังสีแกมมา ข. รังสอี ลั ตราไวโอเลต ค. ไมโครเวฟ ง. คลน่ื วิทยุ
22. ขอ้ ใดเรยี งคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าชนิดตา่ งๆ ตามความถ่ีจากนอ้ ยไปมากได้ถูกตอ้ ง
ก. รงั สีแกมมา แสง ไมโครเวฟ คลน่ื วิทยุ ข. คลน่ื วทิ ยุ ไมโครเวฟ แสง รงั สีแกมมา
ค. คล่ืนวิทยุ แสง ไมโครเวฟ รงั สแี กมมา ง. ไมโครเวฟ คลนื่ วทิ ยุ แสง รงั สแี กมมา
23. ขนาดความเขม้ ของสนามแม่เหลก็ ของคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้าในขณะใดๆ มคี า่ ตามขอ้ ใด
ก. เท่ากับสนามไฟฟา้
ข. เปน็ ปฏิภาคโดยตรงกบั ความเข้มของสนามไฟฟา้
ค. เป็นปฏภิ าคผกผนั กับความเขม้ ของสนามไฟฟ้า
ง. ไม่ขน้ึ อยกู่ ับสนามไฟฟา้
24. คลน่ื ทส่ี ามารถสะทอ้ นไดจ้ ากบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยี ร์ คือ ข้อใด
ก. เรดาร์ ข. ไมโครเวฟ ค. อลั ตราไวโอเลต ง. คลน่ื วิทยุ
25. คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ทมี่ ีไดเ้ ฉพาะคลน่ื ดนิ คือ ข้อใด
ก. คล่ืนท่มี ีความยาวคลน่ื นอ้ ยกว่าคล่นื วิทยรุ ะบบเอฟเอ็ม
ข. คลนื่ ที่มคี วามยาวคลน่ื มากกว่าคลน่ื วิทยุระบบเอฟเอม็
ค. คลนื่ ทม่ี คี วามยาวคลื่นน้อยกวา่ คลน่ื วทิ ยุระบบเอเอม็
ง. คลน่ื ทมี่ ีความยาวคลน่ื มากกว่าคลืน่ วิทยุระบบเอเอ็ม
26. การตรวจหาตาแหน่งของวัตถุดว้ ยเรดาร์อาศยั การส่งคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าในข้อใด
ก. คลืน่ สัน้ ข. อนิ ฟราเรด ค. ไมโครเวฟ ง. อลั ตราไวโอเลต
27. คลนื่ ทีใ่ ช้ในการสอ่ื สารระยะทางไกล ๆ ขา้ มทวีปไดโ้ ดยใชด้ าวเทยี มเป็นตวั รบั สัญญาณขยาย ให้แรงข้ึน แล้ว
จึงส่งตรงไปยังสถานีรับที่อยู่ไกลๆ คือ คล่ืนชนิดใด
ก. คลื่นวิทยุ ข. เรดาร์ ค. ไมโครเวฟ ง. คลื่นแสง
28. เม่อื นักบินอวกาศไปลงบนดวงจนั ทรส์ ามารถพูดคุยกบั คนท่ีอยู่บนโลกได้ การตดิ ต่อจะตอ้ ง
ใช้คลนื่ ชนดิ ใดสง่ ระหวา่ งโลกกบั ดวงจันทร์
ก. คลนื่ เสียง ข. ไมโครเวฟ
ค. คล่ืนวิทยุและโทรทัศน์ ง. แสงเลเซอร์
29. คลืน่ แสงที่ตาสมั ผสั ได้มีอยดู่ ้วยกนั หลายสี องค์ประกอบส่วนใดของคล่ืนแสงที่ทาหน้าท่ี กาหนดสีของแสงแต่ละ
ชนิด
ก. ความถี่ ข. แอมพลิจดู ค. ความยาวคลน่ื ง. ขอ้ 1. และ 3. ถกู
30. นกั วทิ ยาศาสตรค์ นใดเปน็ ผู้ค้นพบทฤษฎคี ลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า
ก. เจมส์ คราก แม็คซเ์ วลล์ ข. ไมเคลิ ฟาราเดย์
ค. กาลิเลโอ ง. อลั เบิร์ต ไอสไตน์
1. ข เฉลย แบบทดสอบ 21. ก
2. ค ก่อนเรียน-หลงั เรยี น 22. ข
3. ง 23. ข
4. ค 11. ข 24. ง
5. ง 12. ก 25. ค
6. ค 13. ง 26. ค
7. ง 14. ก 27. ค
8. ง 15. ง 28. ข
9. ก 16. ข 29. ง
10. ง 17. ก 30. ก
18. ค
19. ก
20. ง
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติงานทมี่ อบหมาย
ที่ ช่อื -สกลุ พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงาน รวม
สนใจ มีสว่ นร่วม ตรงเวลา ถกู ตอ้ ง (20 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 5 คะแนน
1) นักเรยี นมพี ฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านทีม่ อบหมายอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
2) นกั เรียนมีพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านทม่ี อบหมายบ่อยครงั้ ให้ 3 คะแนน
3) นักเรียนมพี ฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านท่มี อบหมายบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
4) นักเรียนมพี ฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านทีม่ อบหมายน้อยคร้งั ให้ 1 คะแนน
5) นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านท่มี อบหมายน้อยคร้งั
การประเมนิ คณุ ภาพของการปฏบิ ตั ิงาน ผลการประเมนิ
ช่วงคะแนน ดมี าก
18-20 ดี
14-17 พอใช้
10-13 ปรับปรุง
ตา่ กวา่ 10
แบบสังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัตงิ านกลมุ่
ชอ่ื สมาชกิ ในกลุ่มที่..............................
1……………………………………………. 2…………………………………………….
3……………………………………………. 4…………………………………………….
5……………………………………………. 6…………………………………………….
รายการทีป่ ระเมนิ คะแนนทไ่ี ดจ้ ากการประพฤติ รวม
12345 (20 คะแนน)
วิธดี าเนินการทดลอง
การปฏบิ ัตกิ ารทดลอง
ความคลอ่ งแคลว่ ในขณะปฏบิ ัติงาน
การนาเสนอ
เกณฑก์ ารให้คะแนน
รายการทปี่ ระเมนิ ผลการประเมิน คะแนน
1
1. วิธีดาเนินการทด - ดาเนินการน้อยมากหรอื ไมม่ ี
2
ลอง - ต้องให้ความช่วยเหลืออย่างมากในการกาหนด วิธีการ ข้ันตอน และการใช้
3
เครื่องมือ
4
- กาหนดวิธกี ารและขัน้ ตอนไมถ่ ูกตอ้ ง ต้องใหค้ วามชว่ ยเหลือ
5
- กาหนดวิธีการและขั้นตอนถูกต้อง การใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ยังไม่ 1
2
เหมาะสม 3
4
- กาหนดวธิ ีการถูกตอ้ ง เลือกใช้เครือ่ งมือและวสั ดุอปุ กรณ์ตา่ งๆไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 5
1
2. การปฏิบัติการทด - ปฏบิ ัตนิ อ้ ยมากหรอื ไม่มี 2
ลอง - ต้องให้ความช่วยเหลอื อยา่ งมากในการดาเนินการทดลองและการใช้อุปกรณ์ 3
- ต้องใหก้ ารช่วยเหลอื ในการดาเนินการทดลองและการใช้อปุ กรณ์ 4
- ดาเนินการทดลองเปน็ ขน้ั ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ได้อยา่ งถูกตอ้ งถา้ ใหค้ าแนะนา 5
- ดาเนนิ การทดลองเป็นขน้ั ตอน และใช้อุปกรณต์ ่างๆได้อยา่ งเหมาะสม 1
3. ความคล่องแคล่วใน - ปฏบิ ัตนิ ้อยมากหรอื ไมม่ ี 2
ขณะปฏิบัติงาน - ทาการทดลองไม่ทันเวลาท่ีกาหนด และทาอปุ กรณเ์ ครอ่ื งใช้แตกหักเสียหาย 3
- ทาการทดลองไมท่ ันที่เวลากาหนด เนอื่ งจากขาดความคล่องแคล่วในการใช้อุป 4
กรณ์
- มคี วามคลอ่ งแคลว่ ในการทดลอง และการใชอ้ ปุ กรณ์ แต่ต้องช้ีแนะเร่ืองการใช้
อปุ กรณอ์ ย่างปลอดภยั
- มีความคล่องแคล่วในการทดลอง และการใช้อุปกรณ์ ดาเนินการทดลองได้
อยา่ งปลอดภัย เสร็จทนั เวลา
4. การนาเสนอ - นาเสนอน้อยมากหรือไมม่ ี
- ต้องให้ความชว่ ยเหลืออย่างมากในการบันทึกผลการทดลอง สรุปผล และการ
นาเสนอ
- ต้องให้คาช้ีแนะในการบันทึกผลการทดลอง การสรุปการทดลอง และการนา
เสนอจึงปฏิบตั ิได้
- บันทกึ ผลการทดลองและสรปุ ผลการทดลองอยา่ งถูกต้อง แตก่ ารนาเสนอยังไม่
เป็นขน้ั ตอน
รายการท่ีประเมิน ผลการประเมิน คะแนน
5
- บนั ทกึ ผลการทดลองและสรุปผลการทดลองอย่างถูกต้อง รัดกุม บันทึกการนา
เสนอเปน็ ขั้นเปน็ ตอนชดั เจน
การประเมนิ คณุ ภาพของการปฏิบตั ิงาน ผลการประเมนิ
ชว่ งคะแนน ดมี าก
18-20 ดี
14-17 พอใช้
10-13 ปรับปรงุ
ตา่ กว่า 10
แบบบนั ทึกผลการทาแบบทดสอบประจาหนว่ ยการเรียนรู้
ท่ี ชอ่ื -สกลุ คะแนนการทาแบบทดสอบ (10 คะแนน)
1 ก่อนเรยี น หลังเรยี น สอบซอ่ มเสรมิ
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
วธิ ีการประเมินวัดผลและประเมนิ ผล
นักเรียนแต่ละคนจะต้องทาแบบทดสอบหลงั เรียนให้ผา่ นเกณฑ์ 80% หากไมผ่ า่ นเกณฑ์ให้นกั เรียนกลับไป ทบทวนเนื้อหา
เดมิ อีกครงั้ หนึง่ แล้วจงึ ทาแบบทดสอบหลังเรียนซ้าอีกจนกว่าจะผ่านเกณฑ์เพื่อแก้ไขคะแนนให้เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ (สอบซ่อม
เสริม)
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (ม.ป.ป.). หนังสอื แบบเรียนวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 (สสวท).
สบื ค้น กรกฎาคม 1, 2557, จาก http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=74236
วลั ลภ ทองอ่อน. (ม.ป.ป.). ความหลากหลายทางชีวภาพและความมน่ั คงของระบบนิเวศ.
สืบค้น มถิ นุ ายน 23, 2557, จาก http://www.cpd.go.th/M&e/%E0%B8%BABiodiversity.htm