The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 15 เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jackie15.boonket, 2022-12-04 10:23:05

หน่วยที่ 15 เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

หน่วยที่ 15 เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหลก็

คาอธบิ ายรายวิชา

รายวิชาฟสิ กิ ส์ ๕ รหัสวิชา ว๓๐๒๐๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖

ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๖๐ ช่วั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ

สาระฟิสิกส์ 3. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าและกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงาน
ทดแทนเป็นพลังงานไฟฟา้ สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กท่ีกระทากับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนา
แม่เหล็กไฟฟ้าและกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการสื่อสาร รวมทั้งนาความรู้ไป
ใชป้ ระโยชน์

สาระฟิสกิ ส์ 4. เข้าใจความสมั พันธข์ องความรอ้ นกับการเปล่ียนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพ
ยืดหยุ่นของวัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส ความตึงผิวและแรง
หนดื ของของเหลว ของไหลอดุ มคติและสมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอุดมคติและพลังงาน
ในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี
แรงนิวเคลียร์ ปฏิกริ ิยานิวเคลยี ร์ พลงั งานนิวเคลียร์ ฟสิ ิกส์อนภุ าค รวมท้งั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สังเกต และอธิบาย และคานวณ สนามแม่เหล็ก ฟลักซ์แม่เหล็ก โซเลนอยด์ แรงแม่เหล็ก การ
เคลื่อนท่ีประจุในสนามแม่เหล็ก แรงระหว่างตัวนาคู่ขนานท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่าน แกลแวนอมิเตอร์ มอเตอร์
ไฟฟ้ากระแสตรง อีเอ็มเอฟเหน่ยี วนา กฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ ความต่างศักย์อาร์เอ็มเอส กระแสไฟฟ้า
อารเ์ อ็มเอส เครื่องกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั ๓ เฟส หม้อแปลง คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ โพลาไรส์ของแสง แผ่นโพลา
รอยด์ การสอื่ สารโดยอาศัยคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า สัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล ความร้อน สสารเปล่ียน
อุณหภูมิ เปลี่ยนสถานะ การถ่ายโอนตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน สภาพยืดหยุ่น ความเค้น ความเครียด
ตามยาว และมอดุลัสของยัง ความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดันบรรยากาศ แมนอมิเตอร์
บารอมิเตอร์ และเครื่องอัดไฮดรอลิก แรงพยุงจากของไหล ความตึงผิวของของเหลว แรงหนืดของของเหลว
สมการความตอ่ เน่อื ง สมการแบรน์ ูลลี แก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และอตั ราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุล
ของแก๊ส งานที่ทาโดยแก๊สในภาชนะปิด พลังงานภายในระบบ และนาความรู้ไปอธิบายหลักการทางานของ
เครอื่ งใช้ในชีวติ ประจาวนั

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างถูกต้องเหมาะสม เกิดความ
ตระหนักและจิตอาสาในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม เกิดความสามารถในการคิดความสามารถ
ออกแบบเชงิ วิศวกรรม ในการสื่อสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและ
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ผลการเรยี นรู้
1. สังเกต และอธบิ ายเสน้ สนามแมเ่ หล็ก อธิบายและคานวณฟลักซแ์ มเ่ หลก็ ในบริเวณท่ีกาหนด รวมทั้ง

สังเกต และอธบิ ายสนามแม่เหล็กท่เี กิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเส้นตรง และโซเลนอยด์
2. อธบิ าย และคานวณแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อ อนุภาคท่ีมีประจุไฟฟ้าเคลื่อนท่ีในสนามแม่เหล็ก แรง

แม่เหล็กที่กระทาต่อเส้นลวดท่ีมีกระแสไฟฟ้า ผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของ การเคลื่อนที่
เมื่อประจุเคล่ือนที่ต้ังฉากกับสนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบายแรงระหว่างเส้นลวด ตัวนาคู่ขนานท่ีมีกระแสไฟฟ้า
ผา่ น

3. อธิบายหลักการทางานของแกลแวนอมเิ ตอร์ และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมท้ังคานวณ ปริมาณ
ต่างๆท่ีเกีย่ วข้อง

4. สงั เกต และอธิบายการเกดิ อีเอ็มเอฟเหนย่ี วนา กฎการเหน่ยี วนาของฟาราเดย์ และคานวณ ปริมาณ
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง รวมทั้งนาความรู้เรือ่ งอเี อ็มเอฟเหนย่ี วนาไปอธิบายการทางาน ของเครอ่ื งใช้ไฟฟา้

5. อธิบาย และคานวณความตา่ งศักยอ์ ารเ์ อ็มเอส และกระแสไฟฟา้ อารเ์ อม็ เอส
6. อธิบายหลักการทางานและประโยชน์ของเครือ่ งกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลับ ๓ เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟ
ของหม้อแปลง และคานวณ ปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
7. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเส้น
และแผ่นโพลารอยด์ รวมทั้งอธิบายการนาคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และหลักการ
ทางานของอุปกรณท์ ่เี กี่ยวข้อง
8. สืบค้น และอธิบายการส่ือสารโดยอาศัยคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศ และเปรียบ
เทียบการสื่อสารด้วยสญั ญาณแอนะลอ็ กกบั สัญญาณดจิ ิทัล
9. อธิบายและคานวณความร้อนท่ีทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความร้อนที่ทาให้สสารเปล่ียนสถานะ
และความร้อนทเ่ี กิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนรุ ักษ์พลังงาน
10. อธิบายสภาพยืดหยุ่นและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุที่เป็นแท่งเม่ือถูกกระทาด้วยแรงค่า
ตา่ ง ๆ รวมทั้ง ทดลอง อธิบายและคานวณความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาว และมอดุลัสของยัง และนา
ความรู้เรื่องสภาพยดื หยุ่น ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั
11. อธิบายและคานวณความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดันบรรยากาศ รวมทั้งอธิบาย
หลกั การทางานของแมนอมเิ ตอร์ บารอมิเตอร์ และเครือ่ งอดั ไฮดรอลิก
12. ทดลอง อธิบายและคานวณขนาดแรงพยงุ จากของไหล
13. ทดลอง อธิบายและคานวณความตึงผิวของของเหลว รวมท้ังสังเกตและอธิบายแรงหนืดของ
ของเหลว
14. อธิบายสมบัติของของไหลอุดมคติ สมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี รวมท้ังคานวณ
ปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง และนาความรู้เก่ียวกับสมการความต่อเนื่องและสมการแบร์นูลลีไปอธิบายหลักการ
ทางานของอุปกรณต์ า่ งๆ
15. อธิบายกฎของแกส๊ อุดมคติและคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง
16. อธิบายแบบจาลองของแก๊สอดุ มคติ ทฤษฎีจลน์ของแกส๊ และอตั ราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของ
แกส๊ รวมทั้งคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
17. อธิบายและคานวณงานท่ีทาโดยแก๊สในภาชนะปิดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างความร้อน พลังงานภายในระบบและงาน รวมท้ังคานวณปริมาณต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง และนาความรู้เร่ือง
พลงั งานภายในระบบไปอธบิ ายหลักการทางานของเครอ่ื งใชใ้ นชีวิตประจาวนั

รวมท้งั หมด 17 ผลการเรียนรู้

ตารางกาหนดการสอน
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

หนว่ ยการเรียนรู้ เร่ือง จานวนช่ัวโมง

หนว่ ยท่ี 15 ไฟฟา้ และแมเ่ หลก็ 15

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 แรงกระทาต่ออนภุ าคในบริเวณท่ีมีสนามแมเ่ หลก็ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ลวดตวั นาในสนามแม่เหล็ก มอเตอร์ และไดนาโม 3
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 3
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนย่ี วนา 3
หม้อแปลงไฟฟ้า

บนั ทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรียนศรีสโมสรวทิ ยา อาเภอหนองมะโมง จงั หวัดชยั นาท

ท.่ี .........../๒๕๖๓ วนั ที่ ๑ เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

เรื่อง ขออนมุ ตั ิใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าฟิสกิ สเ์ พม่ิ เติม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ว๓๐๒๐๕

เรยี น ผู้อานวยการโรงเรียนศรีสโมสรวิทยา
เนอ่ื งดว้ ยขา้ พเจา้ นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ ตาแหน่งครู ได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนการสอนวิชา

ฟิสิกส์เพ่ิมเตมิ รหัสวชิ า ว๓๐๒๐๕ ซ่ึงข้าพเจ้าได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ในเทอมท่ี ๑ โดยบูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จงึ ขออนุมตั ใิ นการดาเนินการต่อไป

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ และพิจารณา

ลงชอื่ …………………………………………….
(นางสาวกนกวรรณ บญุ เกต)ุ
ตาแหนง่ ครู

ความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื …………………………………………
(นายนฤเบศร์ จันทะเดช)

หวั หน้ากลุม่ บริหารงานวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียนศรีสโมสรวทิ ยา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื …………………………………………
(นายเมธี วฒั นสิงห์)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นศรีสโมสรวทิ ยา

แผนการจัดการเรยี นรู้

รายวชิ าฟิสกิ สเ์ พมิ่ เติม รหัสวิชา ว30205
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

โดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

จดั ทาโดย
นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ

โรงเรยี นศรีสโมสรวทิ ยา
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 5

แผนการจัดการเรยี นรู้

รายวชิ าฟสิ กิ ส์เพม่ิ เติม ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 15
เรอ่ื ง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

จดั ทาโดย
นางสาวกนกวรรณ บญุ เกตุ

โรงเรยี นศรสี โมสรวิทยา
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 5

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6
รายวิชาฟสิ กิ ส์เพ่มิ เติม (ว30205) เวลา 15 ชัว่ โมง
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เวลา 6 ช่ัวโมง
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 15 ไฟฟา้ และแมเ่ หล็ก
เรื่อง แรงกระทาต่ออนภุ าคในบริเวณท่ีมีสนามแม่เหล็ก

สาระสาคัญ
อนุภาคทมี่ ปี ระจไุ ฟฟา้ เม่ือเคลือ่ นท่ีเข้าไปในบรเิ วณทม่ี ีสนามแม่เหล็กซ่ึงมีทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่

จะมีแรงกระทาต่ออนุภาคนั้น และสามารถหาทิศของแรงได้โดยใช้แบบการหมุนตะปูเกลียวขวาแรงกระทาต่อ
ลวดตัวนานั้น และทิศของแรงจะข้นึ อยู่กับทิศของกระแสไฟฟา้ และทศิ ของสนามแม่เหล็ก

สาระการเรยี นรู้
1. แรงกระทาต่ออนุภาคทเี่ คลอ่ื นท่ีในสนามแมเ่ หล็ก
2. แรงกระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟา้ ในสนามแม่เหลก็

สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. อยูอ่ ย่างพอเพยี ง
4. มุ่งมน่ั ในการทางาน
5. มจี ติ สาธารณะ

แนวทางในการบรู ณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระสงั คมศึกษาเร่ืองทรัพยากรธรรมชาติ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
สารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ อธิบายแรงกระทาต่ออนุภาค ในสนามแม่เหล็ก และนาปริมาณที่

เกยี่ วขอ้ งไปแก้ปญั หาได้

กระบวนการจัดการเรยี นรู้
1. ขนั้ สรา้ งความสนใจ
1.1 นักเรียนตอบข้อซักถามของครูว่า ภาพท่ีปรากฏบนจอภาพของโทรทัศน์ชนิดหลอด

ภาพ เกิดขน้ึ ได้อยา่ งไร
1.2 นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายในแต่ละกลมุ่ พร้อมท้ังบนั ทกึ ความเห็นของกลุม่ ในใบงานท่ี 1

1.3 ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอความเห็นของกลุ่ม (ของแต่ละคนในกลุ่มโดยตัวแทนของ
กลุ่ม และข้อสรปุ ของกล่มุ )

1.4 นักเรยี นและครูร่วมกนั อภปิ รายเกยี่ วกับ“ภาพทปี่ รากฏบนจอภาพของโทรทัศน์ชนิดหลอดภาพ
เกิดขน้ึ ได้อยา่ งไร” ที่ครูเตรยี มให้ และบนั ทกึ ลงในใบงานที่ 1

1.5 นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น จานวนขอ้ สอบ 20 ขอ้
1.6 แจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเก่ียวกับ แรงกระทาต่ออนุภาค ในบริเวณที่มีสนาม
แมเ่ หล็ก
2. ขั้นสารวจและคน้ หา
2.1 นักเรยี นสืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกับ แรงกระทาต่ออนุภาคในบริเวณท่ีมีสนามแม่เหล็ก จากใบความรู้
เร่ือง แรงกระทาต่ออนุภาคในบริเวณท่ีมีสนามแม่เหล็ก แล้วสรุปสาระสาคัญ บันทึกลงในสมุดจดบันทึกและ
ตอบคาถาม
2.2 สุ่มนักเรยี น 1 กลมุ่ เสนอผลการสบื ค้นขอ้ มลู
3. ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรุป
3.1 นกั เรยี นนาข้อมูลจากขั้นการสบื คน้ ขอ้ มูล มาอภปิ รายรว่ มกบั ครู
3.2 ครูอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับแรงกระทาต่ออนุภาค ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กเพื่อให้นักเรียน
สรปุ สาระสาคญั ลงในสมดุ จดบันทึก
4. ขนั้ ขยายความรู้
4.1 นักเรียนสนทนาซักถามครูและตอบคาถามว่า “พัดลมหมุนได้อย่างไร ” ( ท้ิงช่วงให้นักเรียน
คิด) เพื่อนาไปสู่ แรงกระทาตอ่ ลวดตัวนาท่มี กี ระแสไฟฟา้ ในสนามแม่เหลก็
4.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ แรงกระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าในสนาม
แม่เหล็ก จากใบความรู้ เรือ่ ง แรงกระทาต่ออนุภาคในบรเิ วณท่มี ีสนามแมเ่ หลก็
4.3 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกับ ตัวอย่างการหาค่าปริมาณต่างๆของแรงกระทาต่อ
อนภุ าค และลวดตวั นาทมี่ ีกระแสไฟฟา้ ในสนามแม่เหล็ก จากใบความรู้ เรื่อง แรงกระทาต่ออนุภาคในบริเวณท่ี
มสี นามแม่เหล็ก
4.4 นักเรยี นร่วมกนั สืบค้น แก้ปัญหา ในใบงานที่ 1
5. ขั้นประเมิน
5.1 นกั เรยี นเขียนเรอื่ งราวส้นั ๆ เกย่ี วกับ แรงกระทาตอ่ อนุภาค ในสนามแม่เหล็ก ลงในแบบบันทึก
5.2 นกั เรียนนาเรื่องส้ัน ของเพอื่ นมาอ่าน และประเมิน ครูนาเรื่องสั้นจากการประเมินของนักเรียน
โดยใหเ้ จ้าของผลงานอ่าน แล้วร่วมอภิปราย
5.3 นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น

ส่อื การเรียนรแู้ ละแหล่งการเรยี นรู้
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. ใบงานท่ี 1
3. หนังสือแบบเรียนรายวชิ าฟิสกิ สเ์ พมิ่ เติม เล่ม ๕ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
4. ใบความรู้ เรอื่ ง แรงกระทาตอ่ อนุภาคในบริเวณท่ีมีสนามแม่เหลก็

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิงานท่ีมอบหมาย
1.2 สังเกตพฤตกิ รรมในการฝึกปฏบิ ตั งิ านกลุ่ม

1.3 การทาแบบฝึกระหวา่ งเรียน
1.4 การทาแบบทดสอบหลังเรยี น
2. เครอื่ งมือการวดั และประเมินผล
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานท่มี อบหมาย
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในการฝกึ ปฏิบตั ิงานกลุ่ม
2.3 แบบบนั ทกึ ผลการทาแบบทดสอบหลงั เรียน
3. เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
3.1 กาหนดเกณฑ์ผา่ นการประเมนิ 70 %

การบูรณาการหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

1. ผูส้ อนใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

หลกั พอเพียง พอประมาณ มีเหตผุ ลท่ีดี มีภูมิคุ้มกนั ในตัวที่ดี
ประเดน็

กิจกรรมการเรียนรู้ - มีการวางแผนการจัดกิจ - จัดการเรียนรู้ตรงตาม - มีการวางแผนการจัดกิจ

กรรมด้านต่างๆชัดเจน มีลา มาตรฐานตวั ชวี้ ดั กรรมอยา่ งชัดเจนเปน็ ลาดบั

ดับข้ันตอน มีการกาหนด

เนื้อหาสาระ จัดกิจกรรม

ผา่ นกระบวนการกลุ่ม

เวลา - กาหนดเนื้อหาสาระเหมาะ - เพ่ือให้กิจกรรมการเรียน - มีการเผื่อเวลาในการทา

สมกับเวลา กิจกรรมการ การสอนบรรลุตัวช้ีวัดได้ กิจกรรมแต่ละข้ันเพื่อให้

เรียนรู้ใช้กระบวนการกลุ่ม ตามเวลาทีก่ าหนด นักเรียนที่มีความสามารถ

นักเรียนทางานได้ทันตาม ต่างกันสามารถทางานให้

เวลาทีก่ าหนด เสร็จทันเวลา

สอ่ื - จัดเตรียมและใช้สื่อในการ - ใช้เคร่ืองมือเพ่ือให้นัก - มีลาดับขั้นตอนในการใช้

จัดกิจกรรมการเรียนการ เรียนได้ร่วมอภิปรายใน สื่อต่างๆอยา่ งค้มุ ค่า

สอนเหมาะสมกับจานวน แบบฝกึ กจิ กรรม

กลุ่ม

แหลง่ เรียนรู้ - กาหนดเน้ือหาสาระและ - เพ่ือให้การจัดการเรียนรู้ - มีการสืบค้นทางอินเทอร์

กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะ สอดคล้องกับวิถีชีวิตทาให้ เน็ต การค้นคว้าในห้องสมุด

สมกับแหลง่ เรยี นรู้ สามารถนาความรู้มาใช้ใน ก่อนจะออกแบบกิจกรรม

ชีวิตประจาวนั ได้ การเรียนร้ตู ่างๆ

ความร้ทู ี่ใช้ในการจดั - สบื ค้นเทคนคิ วธิ ีการสอน,รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้ - ศึกษาเนือ้ หาดา้ นต่างๆใหช้ ดั เจน

- ศึกษาคน้ คว้าและบรู ณาการหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจดั การเรยี นรู้

คณุ ธรรม - มีความรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหน้าที่การสอน ตรงตอ่ เวลา เตรยี มการสอนลว่ งหนา้

- มคี วามเมตตา ให้ความเสมอภาค และยุตธิ รรมกบั นกั เรยี นทกุ คน

- มีความเสยี สละ อดทน และใฝร่ ู้

2. ผูเ้ รยี นมีคุณลกั ษณะ “ อยอู่ ยา่ งพอเพียง”

พอประมาณ มีเหตุผลทีด่ ี มภี ูมคิ ุ้มกันทด่ี ี

- แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในกลุ่ม - มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเน้ือหา - ฝึกการมีส่วนร่วมในการทางาน

เหมาะสมกับความสามารถและ ในเรื่องที่ศึกษา สามารถวิเคราะห์ข้อ สร้างความสามคั คใี นการทางาน

พอเพียงกบั จานวนสมาชกิ มลู ตา่ งๆได้อยา่ งถูกต้อง

- วางแผนการทางานอย่างรอบ - รู้จักทางานร่วมกับผู้อื่นโดยใช้กระ

คอบโดยกาหนดเวลาในการทา บวนการกลุ่ม

กิจกรรมอย่างเหมาะ สม

ความรู้ (วิธกี าร) - สบื ค้นข้อมูล เพือ่ เสริมสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ

- ศกึ ษา คน้ ควา้ วิธีการทาแบบฝกึ หดั กิจกรรม และใบงาน

- วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใชท้ ักษะกระบวนการคดิ

คณุ ธรรมทเี่ กิดกบั นกั เรยี น - มีความรับผิดชอบในหน้าท่ี ที่ได้รับมอบหมาย ทางานด้วยความเรียบร้อยถูก

ต้อง และเสรจ็ ทนั เวลา

- มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีวินับเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดีขณะปฏิบัติงานร่วม

กนั

- รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้วยความกระตือรอื รน้ สนใจ ตง้ั ใจ และใฝ่เรยี นรู้

3. ผลลัพธ์ KPA 4 มติ ิ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการอยู่อยา่ งพอเพียง

ผลลัพธ์ สมดุลพร้อมต่อการเปลย่ี นแปลงในด้านตา่ งๆ

ด้านวัตถุ ดา้ นสงั คม ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม ด้านวฒั นธรรม

ดา้ นความรู้ - มีความรู้ความเข้าใจ - มีความรู้เก่ียวกับการทา - มีความรู้ความเข้าใจ -

เกย่ี วกับ แรงกระทาต่อ งานเป็นกลุ่มและการวาง ธรรมชาติของฟสิ ิกส์

อนุภาคในบริเวณที่มี แผนร่วมกับผู้อนื่

สนามแม่เหลก็

ดา้ นทักษะ - มีความสามารถใน - สามารถทางานร่วมกับ - -

การอภิปราย ทาแบบ ผู้อื่นในรูปแบบกลุ่มและมี

ฝกึ /ใบงาน ทักษะในการสร้างปฏิสัม

พนั ธ์กบั ผู้อ่นื

กิจกรรมเสนอแนะ
ใหน้ ักเรียนทบทวนโดยค้นคว้าด้วยตนเองและฝึกปฏิบัติเพ่ิมเติม พร้อมท้ังแบบฝึกหัดเพิ่มเติมจากหนัง

สือแบบเรียน

บนั ทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้

………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ปญั หาและอปุ สรรค
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ......................................................ผู้สอน
(นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ)

ความคดิ เหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียนศรีสโมสรวทิ ยา
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื …………………………………………
(นายเมธี วัฒนสงิ ห์)

ผูอ้ านวยการโรงเรยี นศรีสโมสรวทิ ยา

ใบความรู้
เร่อื ง แรงกระทาต่ออนุภาคในบรเิ วณที่

มสี นามแม่เหลก็

แรงทแ่ี ม่เหลก็ กระทาตอ่ ลวดท่ีมกี ระแสผา่ นและอยูใ่ นสนามแมเ่ หล็ก
เมื่อประจุเคล่ือนที่ในลวด ก็แสดงว่าลวดน้ันมีกระแสไฟฟ้าไหล ดังน้ัน จึงเกิดแรงแม่เหล็กกระทาต่อ

ลวดได้ ตามสูตร

F = IlB sin

เมอ่ื F แทน แรงทแ่ี ม่เหล็กกระทาตอ่ ลวด (N) l แทน ความยาวของเสน้ ลวด (m)

B แทน สนามแมเ่ หล็ก (T) แทน มุมระหวา่ ง I กับ B

ทิศของแรงจะเป็นไปตามกฎมือขวา โดยแบฝ่ามือให้น้ิวทั้งส่ีชี้ตามทิศกระแส I งอนิ้วท้ังส่ีวนไปตามทิศ
สนามแมเ่ หลก็ B นิ้วหัวแม่มอื ท่ีกลางอยู่จะชี้ทิศของแรง F ทกี่ ระทาตอ่ ลวด

แร ง แ ม่ เ ห ล็ ก ท่ี ก ร ะ ท า ต่ อ ล ว ด ท่ี มี ก ร ะ แ ส ไ ห ล ใ น ส น า ม แ ม่ เ ห ล็ ก จ ะ ก ร ะ ท า ต่ อ ล ว ด ทั้ ง เ ส้ น ท่ี อ ยู่ ใ น
สนามแม่เหล็กจึงส่งผลใหล้ วดเคล่ือนท่ีไปทั้งเส้น ซ่ึงจะเป็นการเคล่ือนท่ีแบบมีความเร่งตามกฎ นิวตัน คือ F
= ma และถ้ามีแรงเคล่ือนอนื่ ๆ มากระทาตอ่ ลวดอกี ก็อาจทาใหล้ วดอยูใ่ นสภาพสมดลุ คอื F = 0 กไ็ ด้

ใบงานท่ี 1

1. สนามแม่เหลก็ ต่างกับเส้นแรงแมเ่ หล็กอย่างไร
...............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................... ...........
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
2. ความหนาแนน่ ของฟลักซ์แม่เหล็กคอื อะไรและหาได้จากสมการใด
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
.................................................................................................................................. .............................................
...............................................................................................................................................................................
3. ฟลักซ์แม่เหล็กขนาด 5 เวเบอร์ พุ่งผ่านพื้นที่ 20 ตารางเซนติเมตรซ่ึงวางต้ังฉากกับฟลักซ์แม่เหล็ก จงหา
ความหนาแนน่ ของฟลกั ซแ์ มเ่ หล็ก
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
4. ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายแรงแมเ่ หลก็ และวาดรูปแรงและแนวการเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
5. อธิบายเกยี่ วกบั กฎมือขวามีลักษณะเป็นอย่างไร
............................................................................................................................................... ................................
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
.................................................................................................................................. .............................................
...............................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
รายวชิ าฟสิ กิ สเ์ พม่ิ เติม (ว30206) เวลา 15 ชว่ั โมง
กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ เวลา 3 ชว่ั โมง
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 15 ไฟฟา้ และแม่เหล็ก
เรอ่ื ง ลวดตวั นาในสนามแม่เหล็ก มอเตอร์ และไดนาโม

สาระสาคัญ
เมื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา 2 เส้นที่วางขนานกัน จะมีแรงกระทาต่อลวดตัวนาท้ังสองกระแส

ไฟฟ้าที่ผ่านขดลวดตัวนารูปส่ีเหลี่ยมท่ีอยู่ในสนามแม่เหล็กจะมีโมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทาต่อขดลวด ทาให้
ขดลวดหมุน ขนาดของโมเมนต์ของแรงคู่ควบจะสัมพันธ์กับจานวนรอบของขดลวด ระนาบของขดลวด
กระแสไฟฟ้าท่ผี า่ นขดลวด และสนามแมเ่ หล็ก

การทางานของ แกลแวนอมิเตอร์ใช้หลักการให้กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดของแกลแวนอมิเตอร์เกิด
โมเมนต์ของแรงคู่ควบบิดขดลวด ทาให้เข็มชี้ท่ีติดกับขดลวดเบนไปตามค่าของกระแสไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรงประกอบดว้ ยขดลวดพันรอบแกน วางตวั อยู่ในบริเวณทมี่ ีสนามแมเ่ หล็กสมา่ เสมอ เมื่อมีกระแสไฟฟ้า
ผ่านขดลวด จะเกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบทาให้ขดลวดหมุน นอกจากนี้ยังมีคอมมิวเทเตอร์ และแปรงสาหรับ
เปลีย่ นทิศกระแสไฟฟ้าในขดลวด เพอื่ ใหข้ ดลวดหมนุ ในทางเดียวตลอดเวลา

สาระการเรียนรู้
1. ลวดตัวนาในสนามแมเ่ หลก็
2. มอเตอรไ์ ฟฟ้า
3. ไดนาโม

สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. อย่อู ย่างพอเพียง
4. มงุ่ มั่นในการทางาน
5. มจี ิตสาธารณะ

แนวทางในการบูรณาการ
บรู ณาการกบั กลุม่ สาระสังคมศกึ ษาเรอ่ื ง ทรัพยากรธรรมชาติ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
สารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ อธิบายโมเมนต์ของแรงคู่ควบต่อลวดตัวนา ในบริเวณท่ีมีสนาม แม่เหล็ก

มอเตอร์ ไดนาโม และนาปรมิ าณท่เี กี่ยวข้องไปแก้ปญั หาได้

กระบวนการจดั การเรยี นรู้
1. ข้นั สร้างความสนใจ
1.1 นักเรียนตอบขอ้ ซักถามของครูวา่ “ มอเตอรแ์ ละไดนาโม เหมือนและตา่ งกนั อยา่ งไร ”
1.2 นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายในแต่ละกลุม่ พร้อมทัง้ บันทกึ ความเหน็ ของกลมุ่ ในใบงานที่ 2
1.3 ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอความเห็นของกลุ่ม (ของแต่ละคนในกลุ่มโดยตัวแทนของ

กลมุ่ และข้อสรุปของกลุ่ม)
1.4 นักเรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายเก่ียวกับ “มอเตอร์และไดนาโม เหมือนและต่างกันอย่างไร” ที่

ครูเตรยี มให้ และบนั ทึกลงในใบงานท่ี 2
1.5 แจ้งให้นักเรยี นทราบวา่ จะไดศ้ กึ ษาเกยี่ วกับ ลวดตัวนาในสนามแมเ่ หล็ก มอเตอร์ ไดนาโม

2. ขน้ั สารวจและคน้ หา
2.1 นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ ลวดตัวนาในสนามแม่เหล็ก จากใบความรู้ เร่ือง ลวดตัวนาใน

สนามแม่เหลก็ มอเตอร์ และไดนาโม พร้อมกับใบงานที่ 4 แล้วสรุปสาระสาคัญ บันทึกลงในสมุดจดบันทึกและ
ตอบคาถาม

2.2 สุม่ นักเรียน 1 กลมุ่ เสนอผลการสบื ค้นข้อมูล
3. ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ

3.1 นักเรียนนาข้อมลู จากขนั้ การสบื ค้น ขอ้ มูล มาอภปิ รายรว่ มกับครู
3.2 ครูอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับ ลวดตัวนาในสนามแม่เหล็ก เพ่ือให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญลงใน
สมดุ จดบันทึก
4.ขน้ั ขยายความรู้
4.1 นกั เรียนสนทนาซักถามครูและตอบคาถามว่า “มอเตอร์ และไดนาโม มีส่วนประกอบอะไรบ้าง
และทางานอย่างไร” (ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด ) เพื่อนาไปสู่ ส่วนประกอบและการทางานของมอเตอร์ และไดนา
โม
4.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ส่วนประกอบและการทางานของมอเตอร์ จากใบ
ความรู้เรือ่ ง ลวดตวั นาในสนามแมเ่ หลก็ มอเตอร์ และไดนาโม
4.3 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ ส่วนประกอบและการทางานของมอเตอร์ และ
ไดนาโม นักเรยี นรว่ มกันสบื ค้น แกป้ ญั หาในใบงานท่ี 4
5. ข้นั ประเมนิ
5.1 นักเรียนเขียนเรื่องราวส้ันๆ เก่ียวกับ โมเมนต์ของแรงคู่ควบต่อลวดตัวนา ในบริเวณที่มีสนาม
แม่เหลก็ มอเตอร์ ไดนาโม ลงในแบบบันทกึ
5.2 นกั เรยี นนาเรอื่ งสัน้ ของเพือ่ นมาอ่าน และประเมิน ครูนาเรื่องส้ันจากการประเมินของนักเรียน
โดยให้เจ้าของผลงานอ่าน แล้วรว่ มอภปิ ราย

ส่อื การเรียนร้แู ละแหลง่ การเรียนรู้
1. ใบงานท่ี 2
2. หนังสือแบบเรียนรายวชิ าฟสิ ิกสเ์ พมิ่ เตมิ เลม่ ๕ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
3. ใบความรู้ เรื่อง ลวดตัวนาในสนามแมเ่ หล็ก มอเตอร์ และไดนาโม

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านทมี่ อบหมาย
1.2 สงั เกตพฤติกรรมในการฝกึ ปฏิบตั ิงานกลุ่ม

1.3 การทาแบบฝึกระหวา่ งเรยี น
1.4 การทาแบบทดสอบหลังเรยี น
2. เครอื่ งมือการวดั และประเมินผล
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานท่มี อบหมาย
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในการฝกึ ปฏิบตั ิงานกลุ่ม
2.3 แบบบนั ทกึ ผลการทาแบบทดสอบหลงั เรียน
3. เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
3.1 กาหนดเกณฑ์ผ่านการประเมนิ 70 %

การบูรณาการหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

1. ผูส้ อนใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

หลกั พอเพียง พอประมาณ มเี หตผุ ลท่ีดี มีภูมิคุ้มกนั ในตัวที่ดี
ประเดน็

กิจกรรมการเรียนรู้ - มีการวางแผนการจัดกิจ - จัดการเรียนรู้ตรงตาม - มีการวางแผนการจัดกิจ

กรรมด้านต่างๆชัดเจน มีลา มาตรฐานตวั ชวี้ ดั กรรมอยา่ งชัดเจนเปน็ ลาดบั

ดับข้ันตอน มีการกาหนด

เนื้อหาสาระ จัดกิจกรรม

ผา่ นกระบวนการกลุ่ม

เวลา - กาหนดเนื้อหาสาระเหมาะ - เพ่ือให้กิจกรรมการเรียน - มีการเผื่อเวลาในการทา

สมกับเวลา กิจกรรมการ การสอนบรรลุตัวช้ีวัดได้ กิจกรรมแต่ละข้ันเพื่อให้

เรียนรู้ใช้กระบวนการกลุ่ม ตามเวลาทีก่ าหนด นักเรียนที่มีความสามารถ

นักเรียนทางานได้ทันตาม ต่างกันสามารถทางานให้

เวลาทีก่ าหนด เสร็จทันเวลา

สอ่ื - จัดเตรียมและใช้สื่อในการ - ใช้เคร่ืองมือเพ่ือให้นัก - มีลาดับขั้นตอนในการใช้

จัดกิจกรรมการเรียนการ เรียนได้ร่วมอภิปรายใน สื่อต่างๆอยา่ งค้มุ ค่า

สอนเหมาะสมกับจานวน แบบฝกึ กจิ กรรม

กลุ่ม

แหลง่ เรียนรู้ - กาหนดเน้ือหาสาระและ - เพ่ือให้การจัดการเรียนรู้ - มีการสืบค้นทางอินเทอร์

กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะ สอดคล้องกับวิถีชีวิตทาให้ เน็ต การค้นคว้าในห้องสมุด

สมกับแหลง่ เรยี นรู้ สามารถนาความรู้มาใช้ใน ก่อนจะออกแบบกิจกรรม

ชีวิตประจาวนั ได้ การเรียนร้ตู ่างๆ

ความร้ทู ี่ใช้ในการจดั - สบื ค้นเทคนคิ วธิ ีการสอน,รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้ - ศึกษาเนือ้ หาดา้ นต่างๆใหช้ ดั เจน

- ศึกษาคน้ คว้าและบรู ณาการหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจดั การเรยี นรู้

คณุ ธรรม - มีความรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหน้าที่การสอน ตรงตอ่ เวลา เตรยี มการสอนลว่ งหนา้

- มคี วามเมตตา ให้ความเสมอภาค และยุตธิ รรมกบั นกั เรยี นทกุ คน

- มีความเสยี สละ อดทน และใฝร่ ู้

2. ผ้เู รยี นมีคุณลกั ษณะ “ อยอู่ ยา่ งพอเพียง”

พอประมาณ มีเหตผุ ลทดี่ ี มภี มู ิคุ้มกันทดี่ ี

- แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าท่ีในกลุ่ม - มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเนื้อ - ฝึกการมีส่วนร่วมในการทางาน

เหมาะสมกับความสามารถและพอ หาในเรื่องท่ีศึกษา สามารถวิเคราะห์ สร้างความสามัคคใี นการทางาน

เพยี งกับจานวนสมาชิก ขอ้ มูลต่างๆได้อย่างถูกตอ้ ง

- วางแผนการทางานอย่างรอบคอบ - รู้จักทางานร่วมกับผู้อ่ืนโดยใช้กระ

โดยกาหนดเวลาในการทากิจกรรม บวนการกลุ่ม

อยา่ งเหมาะสม

ความรู้ (วธิ กี าร) - สบื คน้ ข้อมลู เพือ่ เสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ

- ศึกษา คน้ คว้าวธิ กี ารทาแบบฝึกหดั กจิ กรรม และใบงาน

- วิเคราะหข์ ้อมูลโดยใชท้ ักษะกระบวนการคดิ

คุณธรรมทเ่ี กิดกับนักเรยี น - มีความรับผิดชอบในหน้าท่ี ที่ได้รับมอบหมาย ทางานด้วยความเรียบร้อย

ถูกต้อง และเสร็จทนั เวลา

- มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีวินับเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดีขณะปฏิบัติงานร่วม

กนั

- ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ดว้ ยความกระตอื รอื รน้ สนใจ ตง้ั ใจ และใฝเ่ รียนรู้

3. ผลลพั ธ์ KPA 4 มิติ ที่เกยี่ วข้องกับการอยู่อยา่ งพอเพียง

ผลลพั ธ์ สมดุลพร้อมต่อการเปลยี่ นแปลงในด้านตา่ งๆ

ดา้ นวตั ถุ ดา้ นสังคม ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ด้านวัฒนธรรม
-
ดา้ นความรู้ - มีความรู้ความเข้าใจ - มีความรู้เกี่ยวกับการ - มีความรู้ความเข้า
-
เก่ียวกับลวดตัวนาใน ทา งานเป็นกลุ่มและการ ใ จ ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง

สนามแม่เหล็ก มอเตอร์ วาง แผนรว่ มกบั ผูอ้ นื่ ฟิสิกส์

และไดนาโม

ด้านทกั ษะ - มีความสามารถในการ - สามารถทางานร่วมกับ -

อภิปราย ทาแบบฝึก/ใบ ผู้อื่นในรูปแบบกลุ่มและ

งาน มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ส ร้ า ง

ปฏิสมั พนั ธก์ ับผ้อู ่ืน

กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนทบทวนโดยค้นคว้าด้วยตนเองและฝึกปฏิบัติเพ่ิมเติม พร้อมทั้งแบบฝึกหัดเพ่ิมเติมจาก

หนงั สือแบบเรยี น

บนั ทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้

………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ปญั หาและอปุ สรรค
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ......................................................ผ้สู อน
(นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ)

ความคดิ เหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียนศรีสโมสรวทิ ยา
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื …………………………………………
(นายเมธี วฒั นสิงห์)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นศรีสโมสรวทิ ยา

ใบความรู้
เร่ือง ลวดตัวนาในสนามแมเ่ หลก็

มอเตอร์ และไดนาโม

สนามแมเ่ หล็กทเ่ี กดิ จากกระแสไฟฟ้าผา่ นลวดตวั นา
จากการศกึ ษาเกี่ยวกบั เส้นลวดที่มกี ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านวางอยู่ในสนามแม่เหล็กจะเกิดแรงกระทา ต่อ

เส้นลวดน้ันแต่ถ้าไม่มีสนามแม่เหล็กจะเกิดอะไรข้ึนเม่ือมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา ในปี พ.ศ.2363 Hans
Christian Oersted นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์ก พบว่าเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านในลวดตัวนา จะทาให้เกิด
สนามแม่เหลก็ รอบๆลวดตัวนาน้ัน ซ่ึงแยกพจิ ารณาตามลักษณะของลวดตัวนา ดังนี้

1. สนามแม่เหลก็ จากกระแสไฟฟ้าผ่านในลวดตรงยาว
เมอ่ื นาเขม็ ทศิ ไปวางใกล้ลวดตรงท่ีมีกระแสไฟฟ้าผา่ น พบว่าแนวเข็มทิศมีการเปลี่ยนแปลงไปจากแนว
เหนือ-ใตเ้ ดิม แสดงว่า รอบๆลวดมีสนามแมเ่ หล็กเกดิ ขึ้น การหาทิศของสนามแมเ่ หลก็ รอบลวดตรง หาได้โดยใช้
กฎ มือขวา ซ่ึงทาได้โดยใช้มือขวาการอบเส้นลวดตัวนา ดังรูป 1, 2 ในลักษณะให้น้ิวหัวแม่มือชี้ตามทิศของ
กระแสไฟฟา้ ทศิ ทางการวนของปลายท้ังส่จี ะแสดงทิศของสนามแม่เหล็กรอบๆลวดตัวนาน้ัน

รูป 1. กระแสไฟฟ้าและทศิ ทางของสนามแมเ่ หล็ก รปู 2. การใชก้ ฎมอื ขวาหาทศิ ทางของสนามแมเ่ หลก็
2. สนามแม่เหลก็ จากกระแสไฟฟ้าผ่านในขดลวดวงกลม
เมื่อนาเส้นลวดมาขดเป็นวงกลม แล้วผ่านกระแสไฟฟ้าเขา้ ไปในขดลวดน้ัน จะเกดิ สนามแม่เหล็ก ดังรูป

3. จากการตรวจสอบทิศของเส้นแรงแม่เหล็กท่ีเกิดกับ ทิศทางของกระแสไฟฟ้าพบว่า จะเป็นไปตามกฎมือขวา
โดยทิศทางของกระแสไฟฟ้าตามแนวโค้งของเส้นลวดแทนด้วยนิ้วท้ังสี่แล้วนิ้วหัวแม่มือช้ีทิศของข้ัวเหนือหรือ
แนวเส้นแรงแม่เหล็กท่ีเกดิ ขน้ึ

รูป 3. สนามแมเ่ หล็กของขดลวดวงกลม และ ของแท่งแมเ่ หล็ก

3. สนามแมเ่ หล็กจากกระแสไฟฟ้าผ่านในโซเลนอยด์
โซเลนอยด์ คือ ลวดตัวนาท่ีมีฉนวนหมุ้ หรือสายไฟ เมื่อนามาพันเป็นขดลวดวงกลมที่มีรัศมีคงตัว เรียง
ซอ้ นกนั ทีข่ ดเป็นรปู รา่ งคลา้ ยสปริง

จากการศึกษาพบว่า เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดโซเลนอยด์จะเกิดสนามแม่เหล็กรอบๆโซ
เลนอยด์ คลา้ ยกับเส้นแรงแมเ่ หล็กที่เกดิ จากแทง่ แม่เหล็ก

การหาทิศสนามแมเ่ หลก็ ที่เกิดจากกระแสไฟฟา้ ผ่านลวดโซเลนอยด์ ใหใ้ ช้กฎมือขวา โดยใช้ มือขวาการ
อบลวดโซเลนอยด์ โดยใหน้ ว้ิ มอื ทั้งสี่วนไปตามทศิ ของกระแสไฟฟ้าในขดลวด นิ้วหัวแม่มือชี้ทิศเส้นแรงแม่เหล็ก
หรอื ชี้ไปทางขว้ั เหนือท่เี กดิ ขนึ้ ดงั รูป 5 , 6

รปู 5 ขวั้ แมเ่ หล็กท่เี กดิ จากขดลวดตัวนาโซเลนอยด์ รูป 6 การหาขั้วแมเ่ หล็กโดยใชก้ ฎมือขวา
แรงระหว่างลวดตวั นาสองเส้นขนานกันทีม่ ีกระแสไฟฟ้า

เมื่อนาเสน้ ลวดตรง 2 เสน้ มาวางขนานกนั แลว้ ผา่ นกระแสไฟฟา้ เข้าไปในลวดท้ังสองจะเกิดแรงกระทา
ตอ่ เส้นลวดทัง้ สองเนอื่ งจากสนามแมเ่ หล็กดังรปู 7 , 8

รูป 7. แรงกระทาบนเส้นลวดเส้นหนง่ึ โดยสนามแมเ่ หลก็ จากลวดอกี ชุดหนง่ึ
เมอื่ ทิศของกระแสไฟฟา้ ไปทางเดียวกนั แรงกระทาน้จี ะเปน็ แรงดดู

รูป 8. แรงกระทาบนเส้นลวดเสน้ หนึ่งโดยสนามแม่เหล็กจากลวดอกี ชุดหน่งึ
เม่ือทิศของกระแสไฟฟ้าสวนทางกนั แรงกระทาน้ีจะเป็นแรงผลกั

สรุป
1. ถ้ากระแสไฟฟ้าผา่ นในลวดคขู่ นาน ในทิศทางเดียวกันจะเกิดแรงดดู กัน
2. ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่านในลวดคู่ขนาน ในทิศตรงขา้ มกนั จะเกดิ แรงผลักกัน
3. ขนาดของแรงกระทาระหว่างเส้นลวดทั้งสองที่วางขนานกัน แล้วมีกระแสผ่านจะแปรโดยตรงกับ

ขนาดของกระแสไฟฟา้ ในลวดทงั้ สอง และแปรผกผันกับระยะหา่ งของลวดทง้ั สอง

แรงกระทาตอ่ ขดลวดทอ่ี ยู่ในบริเวณทีม่ สี นามแมเ่ หล็ก
เมอ่ื นาขดลวดตัวนารูปส่ีเหล่ยี มวางในสนามแมเ่ หลก็ แลว้ ผา่ นกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดตัวนาทาให้

ขดลวดเกิดการหมุน แสดงว่ามีแรงขนาดเท่ากันแต่มีทิศทางตรงข้ามกันกระทาต่อขดต่อขดลวดด้านท่ีอยู่ตรง
ขา้ มกัน เราเรยี กปรากฏการณ์น้วี ่า เกิด โมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทาตอ่ ขดขดลวด

รปู 9. ขดลวดตวั นาในบรเิ วณทีม่ ีสนามแม่เหล็ก รปู 10. โมเมนต์ของแรงคคู่ วบท่ีกระทาต่อขดลวด

และสามารถหาคา่ โมเมนต์ของแรงคคู่ วบที่กระทาต่อขดลวดได้จากสมการ

M = NIABsin

เม่ือ M คือ โมเมนต์ของแรงคคู่ วบทก่ี ระทาต่อขดลวด มีหน่วยเปน็ นิวตนั .เมตร ( N.m )
N คอื จานวนรอบของขดลวด
I คือ กระแสไฟฟา้ ทผี่ ่านขดลวด มีหนว่ ยเปน็ แอมแปร์ ( A )
A คือ พ้ืนทีข่ ดลวด มีหน่วยเปน็ ตารางเมตร ( m2 )
B คือ สนามแมเ่ หลก็ มีหน่วยเป็น เทสลา ( T )
คอื ระนาบของขดลวดทามมุ กับทิศของสนามแมเ่ หล็ก

มอเตอร์ไฟฟ้า
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

เป็นท่ีทราบกันแล้วว่า เม่ือมีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนาท่ีวางอยู่ในสนามแม่เหล็ก จะเกิดโมเมนต์
ของแรงคู่ควบทาให้ขดลวดหมุน ซึ่งจากหลักการน้ีเราสามารถนาไปสร้างมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ซ่ึงเป็น
อปุ กรณท์ ใ่ี ช้เปลยี่ นพลงั งานไฟฟ้า เปน็ พลงั งานกล

ส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงประกอบด้วยขดลวด ABCD ประกอบอยู่กับแกนหมุนโดย
ปลายท้งั สองของขดลวดตอ่ เขา้ กับแหลง่ กาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงขดลวดนี้วางอยู่ในสนาม แม่เหล็กสม่าเสมอเม่ือ
มกี ระแสไฟฟ้าผา่ นขดลวดนี้จะเกดิ โมเมนต์ของแรงคคู่ วบทาให้ขดลวดน้หี มนุ

ไดนาโม
การผลิตพลังงานไฟฟ้า โดยการเปลี่ยนพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งอาศัยเคร่ืองมือท่ีมีช่ือว่า

ไดนาโม ซงึ่ อาศัยหลกั การเหน่ียวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ไดนาโม จึงเป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าซึ่งมีส่วนประกอบเหมือน
มอเตอร์ ไดนาโม มี 2 ชนิด คือ

1. ไดนาโมกระแสตรง
2. ไดนาโมกระแสสลบั
ไดนาโมกระแสตรง
พจิ ารณาไดนาโมกระแสตรง ขณะท่ีระนาบขดลวดอยู่ท่ีตา แหน่งต่างๆ กระแสไฟฟ้าเหน่ียวนา เป็นดัง
รูป 13

รูป 13 กระแสตรงจากเครื่องกาเนดิ ไฟฟา้

ขณะท่ีระนาบขดลวด PQRS ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ทิศของความเร็วของขดลวดอยู่ในแนวเดียวกับ
สนามแม่เหล็ก จึงไม่มีกระแสไฟฟ้าเหน่ียวนาในเวลาต่อมาทิศของความเร็วจะเร่ิมทามุมกับสนามแม่เหล็กจึงมี
กระแสไฟฟ้าเพิ่มข้ึน และมีค่ามากท่ีสุดเม่ือทิศของความเร็วตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ซึ่งเป็นตาแหน่งท่ีระนาบ
ของขดลวดอยู่ในแนวเดียวกับสนามแม่เหล็ก เมื่อเวลาผ่านไปกระแสไฟฟ้าจะกลายเป็นศูนย์อีกคร้ัง ซึ่งพบว่า
กระแสไฟฟ้า จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมี คอมมิวเตเตอร์แบบผ่าซึก และแปรง จึงทาให้ทิศของ
กระแสไฟฟ้ามเี พยี งทิศเดียวดงั กราฟของกระแสไฟฟ้า ( I ) กบั เวลา (t) กระแสไฟฟ้าที่ได้จากเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า
ลกั ษณะนเี้ รยี กว่า ไฟฟา้ กระแสตรง (direct current “D.C” )
ไดนาโมกระแสสลับ

ส่วนประกอบของไดนาโมกระแสสลับมีสว่ นประกอบหลักเหมือนกับไดนาโมกระแสตรง จะต่างกันที่ตัว
คอมมิวเตเตอร์มีลักษณะเป็นแหวนลื่น (เป็นแหวน 2 อัน แยกออกจากกัน) ขณะที่อยู่ท่ีตาแหน่งต่างๆ
กระแสไฟฟ้าจะมีลักษณะดงั รปู ซ่งึ มีลกั ษณะการเกิดคลา้ ยกบั ไดนาโมกระแสตรง ในช่วงเวลา 0 ถึง แต่ในช่วง
เวลา ถึง T ทิศทางของกระแสไฟฟ้า จะมีทิศทางออกจากไดนาโมกลับกับช่วง 0 ถึง ดังกราฟ กระแสไฟฟ้า
(I) กับเวลา (t) กระแสไฟฟ้า ที่ได้จากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าลักษณะน้ีเรียกว่า ไฟฟ้ากระแสสลับ (alternating
current “A.C”)

รปู 2 กระแสสลบั จากเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า

ใบงานท่ี 2

1. อธบิ ายสนามแม่เหลก็ ที่เกดิ จากกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นโซเลนอยด์
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
.................................................................................................................................................................. .............
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
2. อธิบายสนามแมเ่ หลก็ ทเี่ กิดจากกระแสไฟฟ้าไหลผ่านทอรอยด์
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
.................................................................................................................................................................. .............
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
3. ลวดตวั นายาว 10 เซนติเมตร มวล 1 กิโลกรัม วางต้ังฉากกับสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ 4 เทสลา ถ้ามีกระแส
ไฟฟ้า 2 แอมแปร์ ผา่ นลวดแล้วมีผลให้ลวดเคล่อื นท่ใี นแนวราบ จงหาความเร่งจองลวดตัวนา
(สมมตไิ มค่ ิดแรงโน้มถว่ งของโลก)
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
............................................................................................................................................ ...................................
...............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................... .....
...............................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
รายวชิ าฟสิ ิกส์เพิ่มเติม (ว30205) เวลา 15 ชัว่ โมง
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ เวลา 3 ชว่ั โมง
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 15 ไฟฟา้ และแมเ่ หล็ก
เร่อื ง แรงเคลอื่ นไฟฟา้ เหนย่ี วนา

สาระสาคญั
เมื่อให้ลวดตัวนาเส้นตรงหรือขดลวดตัวนารูปสี่เหล่ียมเคล่ือนท่ีตัดฟลักซ์แม่เหล็กหรือเคล่ือนแท่ง

แมเ่ หล็กให้ฟลักซ์ แม่เหลก็ ตดั ตัดลวดตัวนาเสน้ ตรงหรือขดลวดตวั นารูปสีเ่ หลี่ยม จะเกดิ กระแส ไฟฟ้าเหน่ียวนา
ในลวดตัวนาเส้นตรงหรือขดลวดตัวนารูปส่ีเหลี่ยมน้ัน และสามารถอธิบายได้โดยใช้ กฎของฟาราเดย์ซ่ึงมีใจ
ความว่า ถ้ามีฟลักซ์แม่เหล็กท่ีมีค่าเปลี่ยนแปลงผ่านขดลวดตัวนาจะมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาเกิดขึ้นใน
ขดลวดตวั นานนั้

เครื่องท่ีเปล่ียนพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า เรียกว่าเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าท่ีได้จาก
เครื่องกาเนิด ไฟฟ้ามีทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ การส่งกาลังไฟฟ้าจะส่งในรูปของค่าความต่าง
ศักย์สงู ๆ เพ่ือลดการสญู เสียของพลังงานไฟฟ้าในรปู ของพลังงานความร้อนในสาย

สาระการเรียนรู้
- แรงเคลอ่ื นไฟฟา้ เหนี่ยวนา

สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มวี นิ ยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. อย่อู ย่างพอเพยี ง
4. มุ่งมนั่ ในการทางาน
5. มีจติ สาธารณะ

แนวทางในการบรู ณาการ
บูรณารว่ มกับกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ ายแรงเคล่อื นไฟฟ้าเหน่ียวนา และนาปริมาณที่เกี่ยวข้องไปแก้ปัญหาได้

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ขั้นสรา้ งความสนใจ
1.1 นักเรียนตอบข้อซักถามของครูว่า “กระไฟฟ้าท่ีได้จากแบตเตอร่ี และไดนาโม แตกต่างกัน

อย่างไร” ( ทิง้ ช่วงให้นักเรยี นคิด )
1.2 นักเรียนร่วมกันอภิปรายในแต่ละกลุ่ม พร้อมท้ังบันทึกความเห็นของกลุ่มในใบงาน 11.1

เฉพาะข้อ 1 และขอ้ 2 (เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนไดแ้ สดงความคิดเห็นโดยยังไม่เน้นถูกผิด)
1.3 ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอความเห็นของกลุ่ม ( ของแต่ละคนในกลุ่มโดยตัวแทนของ

กลุ่ม และข้อสรุปของกลุ่ม )
1.4 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ“กระไฟฟ้าท่ีได้จากแบตเตอรี่ และไดนาโม แตกต่าง

กันอย่างไร” ทคี่ รูเตรยี มให้ และบนั ทกึ ลงในใบงาน 11.1
1.6 นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จานวนขอ้ สอบ 10 ขอ้
1.7 แจ้งใหน้ กั เรยี นทราบวา่ จะได้ศึกษาเกีย่ วกบั แรงเคล่ือนไฟฟา้ เหนยี่ วนา

2. ขั้นสารวจและคน้ หา
2.1 นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ แรงเคลื่อนไฟฟ้า จากใบความรู้ 11 พร้อมกับใบงาน 11.2 แล้ว

สรปุ สาระสาคญั บนั ทกึ ลงในสมดุ จดบันทกึ และตอบคาถาม
2.2 ส่มุ นกั เรียน 1 กลุ่มเสนอผลการสบื ค้นข้อมลู

3. ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ
3.1 นกั เรียนนาข้อมูลจากขัน้ การสบื คน้ ขอ้ มลู มาอภิปรายรว่ มกับครู
3.2 ครูอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับ แรงเคลื่อนไฟฟ้า เพ่ือให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญลงในสมุดจด

บันทกึ
4. ขั้นขยายความรู้
4.1 นักเรียนสนทนาซักถามครูและตอบคาถามว่า “เม่ือมอเตอร์ในเคร่ืองใช้ไฟฟ้าไม่หมุน เพราะ

มอเตอร์เกิดการติดขัด ผลจะทาให้มอเตอร์ไหม้ได้ สาเหตุมาจากอะไร” ( ท้ิงช่วงให้นักเรียนคิด ) เพื่อนาไปสู่
แรงเคลื่อนไฟฟ้าดนั กลบั

4.2 นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภปิ รายแผน่ ใส เก่ยี วกับ แรงเคลอ่ื นไฟฟา้ ดนั กลบั
4.3 นักเรียนรว่ มกันสบื คน้ แก้ปัญหา ในใบงาน 11.3
4.4 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 11
5. ขัน้ ประเมนิ
5.1 นกั เรยี นเขียนเรอื่ งราวสั้นๆ เกี่ยวกับแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนีย่ วนาลงในใบ กจิ กรรมที่ 11
5.2 นกั เรียนนาเรือ่ งสั้น ของเพอ่ื นมาอา่ น และประเมิน ครูนาเรื่องส้ันจากการประเมินของนักเรียน
โดยใหเ้ จา้ ของผลงานอา่ น แล้วรว่ มอภิปราย
5.3 นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น

สอ่ื การเรยี นรแู้ ละแหลง่ การเรยี นรู้
1. ใบงานที่ 3
2. หนงั สอื แบบเรยี นรายวชิ าฟิสกิ ส์เพม่ิ เติม เล่ม ๕ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
3. ใบความรู้ เรือ่ ง แรงเคลอ่ื นไฟฟา้ เหน่ียวนา

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านที่มอบหมาย

1.2 สงั เกตพฤติกรรมในการฝกึ ปฏบิ ัติงานกล่มุ
1.3 การทาแบบฝึกระหวา่ งเรียน
1.4 การทาแบบทดสอบหลังเรยี น
2. เครอ่ื งมอื การวัดและประเมนิ ผล
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั งิ านที่มอบหมาย
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมในการฝึกปฏบิ ตั งิ านกลุม่
2.3 แบบบันทกึ ผลการทาแบบทดสอบหลงั เรียน
3. เกณฑ์การวดั และประเมินผล
3.1 กาหนดเกณฑ์ผา่ นการประเมิน 70 %

การบรู ณาการหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. ผสู้ อนใช้หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผลท่ีดี มีภมู ิคุ้มกันในตวั ทีด่ ี
ประเดน็

กจิ กรรมการเรียนรู้ - มีการวางแผนการจัดกิจ - จัดการเรียนรู้ตรงตาม - มีการวางแผนการจัดกิจ

กรรมด้านต่างๆชัดเจน มีลา มาตรฐานตวั ชวี้ ัด กรรมอย่างชัดเจนเป็นลา

ดับข้ันตอน มีการกาหนด ดบั

เนื้อหาสาระ จัดกิจกรรม

ผา่ นกระบวนการกลุม่

เวลา - กาหนดเน้ือหาสาระเหมาะ - เพื่อให้กิจกรรมการเรียน - มีการเผ่ือเวลาในการทา

สมกับเวลา กิจกรรมการ การสอนบรรลุตัวช้ีวัดได้ตาม กิจกรรมแต่ละข้ันเพื่อให้

เรียนรู้ใช้กระบวนการกลุ่ม เวลาท่กี าหนด นักเรียนที่มีความสามารถ

นักเรียนทางานได้ทันตาม ต่างกันสามารถทางานให้

เวลาทกี่ าหนด เสรจ็ ทันเวลา

สอ่ื - จัดเตรียมและใช้สื่อในการ - ใช้เคร่ืองมอื เพือ่ ให้นักเรียน - มีลาดับข้ันตอนในการใช้

จัดกิจกรรมการเรียนการ ได้ร่วมอภิปรายในแบบฝึก สอ่ื ตา่ งๆอย่างคมุ้ ค่า

สอนเหมาะสมกับจานวน กจิ กรรม

กลมุ่

แหลง่ เรยี นรู้ - กาหนดเน้ือหาสาระและ - เพ่ือให้การจัดการเรียนรู้ - มีการสืบค้นทางอินเทอร์

กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะ สอดคล้องกับวิถีชีวิตทาให้ เน็ต การค้นคว้าในห้อง

สมกับแหลง่ เรยี นรู้ สามารถนาความรู้มาใช้ใน สมุดก่อนจะออกแบบกิจ

ชีวติ ประจาวนั ได้ กรรมการเรียนรู้ต่างๆ

ความรทู้ ี่ใชใ้ นการจดั - สืบค้นเทคนคิ วธิ ีการสอน,รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

กจิ กรรมการเรียนรู้ - ศึกษาเนอ้ื หาดา้ นต่างๆให้ชัดเจน

- ศึกษาคน้ คว้าและบูรณาการหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกับการจัดการเรียนรู้

คณุ ธรรม - มคี วามรับผดิ ชอบในการปฏิบตั หิ น้าท่กี ารสอน ตรงตอ่ เวลา เตรยี มการสอนล่วงหน้า

- มคี วามเมตตา ให้ความเสมอภาค และยตุ ธิ รรมกับนักเรียนทุกคน

- มคี วามเสียสละ อดทน และใฝร่ ู้

2. ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะ “ อยอู่ ย่างพอเพยี ง”

พอประมาณ มเี หตุผลทด่ี ี มีภูมคิ มุ้ กนั ทด่ี ี

- แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในกลุ่ม - มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเนื้อหา - ฝึกการมีส่วนร่วมในการทางาน

เหมาะสมกับความสามารถและพอ ในเรื่องท่ีศึกษา สามารถวิเคราะห์ข้อ สรา้ งความสามัคคีในการทางาน

เพยี งกับจานวนสมาชกิ มลู ตา่ งๆได้อยา่ งถูกต้อง

- วางแผนการทางานอยา่ งรอบคอบ - รู้จักทางานร่วมกับผู้อ่ืนโดยใช้กระ

โดยกาหนดเวลาในการทากิจกรรม บวนการกลมุ่

อยา่ งเหมาะสม

ความรู้ (วิธีการ) - สบื ค้นข้อมูล เพอ่ื เสริมสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ

- ศึกษา คน้ ควา้ วิธีการทาแบบฝกึ หัดกิจกรรม และใบงาน

- วิเคราะหข์ ้อมลู โดยใช้ทักษะกระบวนการคดิ

คณุ ธรรมท่เี กิดกบั นักเรยี น - มีความรับผิดชอบในหน้าที่ ท่ีได้รับมอบหมาย ทางานด้วยความเรียบร้อย

ถูกตอ้ ง และเสรจ็ ทนั เวลา

- มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีวินับเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดีขณะปฏิบัติงานร่วม

กัน

- ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ด้วยความกระตือรอื รน้ สนใจ ตั้งใจ และใฝเ่ รยี นรู้

3. ผลลพั ธ์ KPA 4 มติ ิ ท่เี ก่ียวข้องกบั การอยู่อย่างพอเพียง

ผลลัพธ์ สมดุลพร้อมต่อการเปลยี่ นแปลงในดา้ นต่างๆ

ดา้ นวัตถุ ดา้ นสงั คม ด้านส่ิงแวดล้อม ดา้ นวัฒนธรรม
-
ด้านความรู้ - มีความรู้ความเข้าใจ - มีความรู้เก่ียวกับการ - มีความรู้ความเข้าใจ
-
เก่ียวกับแรงเคลื่อนไฟ ทางานเป็นกลุ่มและการ ธรรมชาติของฟสิ ิกส์

ฟา้ เหนยี่ วนา วางแผนรว่ มกับผอู้ ืน่

ด้านทักษะ - มีความสามารถใน - สามารถทางานร่วมกับ -

การอภิปราย ทาแบบ ผู้อื่นในรูปแบบกลุ่มและ

ฝึก/ใบงาน มีทักษะในการสร้างปฏิ

สมั พันธ์กับผู้อื่น

กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนทบทวนโดยค้นคว้าด้วยตนเองและฝึกปฏิบัติเพ่ิมเติม พร้อมทั้งแบบฝึกหัดเพ่ิมเติมจาก

หนังสอื แบบเรียน

บนั ทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้

………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ปญั หาและอปุ สรรค
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ......................................................ผู้สอน
(นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ)

ความคดิ เหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียนศรีสโมสรวทิ ยา
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื …………………………………………
(นายเมธี วฒั นสิงห์)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นศรีสโมสรวทิ ยา

ใบความรู้
เร่ือง แรงเคล่อื นไฟฟ้าเหน่ียวนา

กระแสไฟฟ้าเหน่ียวนาและแรงเคล่ือนเหนี่ยวนา (Electric Current)
เมอื่ นาฟลกั ซแ์ ม่เหลก็ ทผ่ี ่านขดลวดตวั นาทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงจะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าเหน่ียวนาข้ึนใน

ขดลวด กระแสไฟฟ้าเหน่ียวนาท่ีเกิดข้ึนจะก่อให้เกิดฟลักซ์แม่เหล็กใหม่ที่จะมีทิศต่อต้านกับการเปล่ียนแปลง
ของฟลกั ซแ์ ม่เหล็กแรก ทที่ าให้มันเกิดขึ้นมาเสมอ

ในกรณีการเคลื่อนขดลวดเข้าหาแท่งแม่เหล็ก (หรือเคล่ือนแท่งแม่เหล็กเข้าหาขดลวด) กระแสไฟฟ้า
เหน่ียวนาในขดลวดจะไหลในทิศที่จะสร้างขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกัน ( ทางด้านที่เล่ือนเข้าหากันนั้น) เพ่ือให้เกิด
แรงผลักต้านการเล่ือนเขา้ มา

ในขณะท่ีถ้าเคล่ือนขดลวดออกห่างแท่งแม่เหล็ก (หรือเคล่ือนแท่งแม่เหล็กออกห่างขดลวด)
กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาในขดลวดจะไหลในทิศที่จะสร้างขั้วแม่เหล็กชนิดตรงข้าม (ทางด้านท่ีเล่ือนห่างจากกัน)
เพอ่ื ใหเ้ กิดแรงดดู ตา้ นการเล่ือนออกห่าง

รูป ก , ข แสดงกระแสไฟฟา้ เหน่ียวนาเม่ือเคลื่อนแม่เหล็กเข้าหาขดลวด
รปู ค , ง แสดงกระแสไฟฟ้าเหน่ียวนาเมื่อเคลื่อนแมเ่ หล็กออกห่างขดลวด

แรงเคล่ือนไฟฟ้าเหน่ียวนาในมอเตอร์และเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับมอเตอร์ไฟฟ้า จะทาให้มอเตอร์เกิดการหมุน ขณะเดียวกันการหมุนของ

มอเตอร์ จะทาใหเ้ กิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาในทิศย้อนทางกับกระแสที่ให้แก่มอเตอร์เสมอ น้ันคือ เม่ือมอเตอร์
หมุนเป็นปกติ มอเตอร์จะทาหน้าท่ีเป็นเซลล์ไฟฟ้าที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าต้านกลับกับแรงเคลื่อนไฟฟ้าของ
เซลลไ์ ฟฟา้ ในวงจรเสมอ โดยถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าย้อนกลับของมอเตอร์เป็น E0 จะทาให้กระแสไฟฟ้าในวงจรใน
ขณะนั้น เปน็ ตามสมการ

I = −
+

ใบงานท่ี 3

1. อธิบายหลักการทางานของแกลแวนอมิเตอร์
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................. .............
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
2. อธบิ ายหลกั การทางานของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
............................................................................................................................. ..................................................
..................................................................................................................................... ..........................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................... .......................................................................................... ..........
3. กระแสไฟฟ้าเหนีย่ วนาต่างกับแรงเคล่ือนไฟฟ้าเหนีย่ วนาอยา่ งไร
.............................................................................................. .................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
4. สรปุ การทดลองของไมเคิลฟาราเดย์
.............................................................................................................................................................. .................
.................................................................................................................. .............................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
................................................................................................................................................. ..............................
.................................................................................................... ...........................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
5. อธบิ ายกฏของเลนซ์
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................ ..................................................................................................... ..........
................................................................................................................................................. ..............................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6
รายวชิ าฟสิ ิกสเ์ พิม่ เติม (ว30205) เวลา 15 ชว่ั โมง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา 3 ชั่วโมง
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 15 ไฟฟา้ และแมเ่ หลก็
เรื่อง หม้อแปลงไฟฟา้

สาระสาคญั
หม้อแปลงไฟฟ้า ทาหน้าท่ีแปลงกระแสไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้า และความต่างศักย์ ไฟฟ้า จะมีอยู่ 2

ชนิด คือ หม้อแปลงขึ้น และหม้อแปลงลง หม้อแปลงไฟฟ้าจะใช้ได้กับกระแสไฟฟ้าที่ไม่คงที่ เช่นไฟฟ้า
กระแสสลับไดโอดเป็นอุปกรณ์ท่ีใช้เปล่ียนไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ส่วนประกอบของหม้อ
แปลง จะประกอบด้วยขดลวด 2 ขด พันรอบแกนเหล็กอ่อนเป็นแผ่นซ้อนกันอยู่ โดยพลังงานไฟฟ้าจะเข้าท่ี
ขดลวด ปฐมภูมิ และออกท่ีขดลวดทุตยิ ภูมิ ถา้ หมอ้ แปลงทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ100 % พลังงานไฟฟ้าท่ีให้และออก
จาก หมอ้ แปลงจะมีค่าเท่าเดมิ

สาระการเรียนรู้
- หมอ้ แปลงไฟฟ้า

สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
4. มุ่งม่นั ในการทางาน
5. มีจติ สาธารณะ

แนวทางในการบูรณาการ
บรู ณาการกบั กลุม่ สาระสงั คมศึกษาเร่อื งทรัพยากรธรรมชาติ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
สารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ อธิบายหลักการทางานของหม้อแปลงไฟฟ้าซ่ึงเป็นอุปกรณ์ท่ีใช้เปลี่ยน

ความต่างศกั ยไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั และนาปรมิ าณท่ีเกีย่ วขอ้ งไปแกป้ ัญหาได้

กระบวนการจัดการเรยี นรู้
1. ข้นั สรา้ งความสนใจ
1.1 นักเรียนตอบข้อซักถามของครูว่า “เพราะเหตุใดเคร่ืองเสียงจึงสามารถใช้ได้ทั้งไฟในบ้าน (

ไฟฟ้ากระแสสลับ ขนาด 220 โวลต์ ) และถ่านไฟฉาย ( ไฟฟ้ากระแสตรง ขนาด 12 โวลต์ ) ” ( ท้ิงช่วงให้
นักเรียนคดิ )

1.2 นักเรยี นร่วมกันอภิปรายในแตล่ ะกลุ่ม พรอ้ มทงั้ บันทึกความเห็นของกลุ่มในใบงานที่ 4
1.3 ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอความเห็นของกลุ่ม ( ของแต่ละคนในกลุ่มโดยตัวแทนของ
กลุ่ม และข้อสรุปของกล่มุ )
1.4 นักเรียนและครูรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั “เพราะเหตใุ ดเครื่องเสียงจึงสามารถใช้ได้ท้ังไฟในบ้าน
( ไฟฟ้ากระแสสลับ ขนาด 220 โวลต์ ) และถ่านไฟฉาย ( ไฟฟ้ากระแสตรง ขนาด 12 โวลต์ ) ” ท่ีครูเตรียม
ให้ และบนั ทกึ ลงในใบงานท่ี 4
1.5 แจง้ ให้นกั เรยี นทราบว่า จะได้ศกึ ษาเกี่ยวกับ หม้อแปลงไฟฟา้
2. ขน้ั สารวจและค้นหา
2.1 นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ หม้อแปลงไฟฟ้า จากใบความรู้เรื่อง หม้อแปลงไฟฟ้า พร้อมกับ
ใบงานท่ี 4 แล้วสรุปสาระสาคญั บนั ทึกลงในสมุดจดบนั ทกึ และตอบคาถาม
2.2 สมุ่ นกั เรียน 1 กล่มุ เสนอผลการสืบคน้ ข้อมลู
3. ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป
3.1 นกั เรยี นนาข้อมูลจากข้นั การสบื ค้น ข้อมูล มาอภิปรายรว่ มกับครู
3.2 ครูอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับ หม้อแปลงไฟฟ้า เพ่ือให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญลงในสมุดจด
บันทึก
4. ข้นั ขยายความรู้
4.1 นักเรียนสนทนาซักถามครูและตอบคาถามว่า “เราสามารถแปลงกระไฟฟ้าสลับให้เป็นไฟฟ้า
กระแสตรงไดอ้ ย่างไร ” ( ทงิ้ ชว่ งใหน้ ักเรยี นคดิ ) เพือ่ นาไปสู่ การแปลงกระไฟฟา้ สลับใหเ้ ป็นไฟฟา้ กระแสตรง
4.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ การแปลงกระไฟฟ้าสลับให้เป็น ไฟฟ้ากระแสตรง
จากใบความรู้ เรอ่ื ง หมอ้ แปลงไฟฟ้า
4.3 นักเรียนร่วมกนั สบื ค้น แกป้ ญั หา ในใบงานที่ 4
5. ขั้นประเมิน
5.1 นักเรียนเขียนเรอื่ งราวส้นั ๆ เกย่ี วกับ หมอ้ แปลงไฟฟ้า ลงในแบบบนั ทึก
5.2 นกั เรียนนาเร่อื งสน้ั ของเพื่อนมาอา่ น และประเมนิ ครูนาเรื่องส้ันจากการประเมินของนักเรียน
โดยใหเ้ จ้าของผลงานอา่ น แล้วร่วมอภปิ ราย

สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรยี นรู้
1. ใบงานท่ี 4
2. หนังสือแบบเรยี นรายวิชาฟิสกิ ส์เพมิ่ เตมิ เลม่ ๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
3. ใบความรู้ เร่อื ง หม้อแปลงไฟฟา้

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
1. วิธกี ารวดั และประเมินผล
1.1 สังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิงานท่ีมอบหมาย
1.2 สังเกตพฤตกิ รรมในการฝึกปฏบิ ตั งิ านกลุ่ม
1.3 การทาแบบฝึกระหว่างเรียน

1.4 การทาแบบทดสอบหลังเรียน
2. เครอ่ื งมือการวดั และประเมินผล

2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานทม่ี อบหมาย
2.2 แบบสังเกตพฤตกิ รรมในการฝึกปฏบิ ัตงิ านกล่มุ
2.3 แบบบันทึกผลการทาแบบทดสอบหลงั เรียน
3. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
3.1 กาหนดเกณฑ์ผา่ นการประเมนิ 70 %

การบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. ผูส้ อนใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

หลักพอเพยี ง พอประมาณ มเี หตผุ ลที่ดี มีภมู ิคุ้มกนั ในตวั ที่ดี
ประเด็น

กจิ กรรมการเรียนรู้ - มีการวางแผนการจัดกิจ - จัดการเรียนรู้ตรงตาม - มีการวางแผนการจัดกิจ

กรรมด้านต่างๆชัดเจน มีลา มาตรฐานตวั ชว้ี ัด กรรมอย่างชัดเจนเป็นลา

ดับขั้นตอน มีการกาหนด ดบั

เน้ือหาสาระ จัดกิจกรรม

ผา่ นกระบวนการกลุ่ม

เวลา - กาหนดเนื้อหาสาระเหมาะ - เพื่อให้กิจกรรมการเรียน - มีการเผ่ือเวลาในการทา

สมกับเวลา กิจกรรมการ การสอนบรรลตุ วั ชี้วัดได้ตาม กิจกรรมแต่ละขั้นเพ่ือให้

เรียนรู้ใช้กระบวนการกลุ่ม เวลาที่กาหนด นักเรียนท่ีมีความสามารถ

นักเรียนทางานได้ทันตาม ต่างกันสามารถทางานให้

เวลาท่กี าหนด เสรจ็ ทันเวลา

สอ่ื - จัดเตรียมและใช้สื่อในการ - ใช้เครือ่ งมอื เพ่อื ให้นักเรียน - มีลาดับข้ันตอนในการใช้

จัดกิจกรรมการเรียนการ ได้ร่วมอภิปรายในแบบฝึก สอ่ื ตา่ งๆอย่างคุม้ ค่า

สอนเหมาะสมกับจานวน กิจกรรม

กลมุ่

แหลง่ เรียนรู้ - กาหนดเน้ือหาสาระและ - เพ่ือให้การจัดการเรียนรู้ - มีการสืบค้นทางอินเทอร์

กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะ สอดคล้องกับวิถีชีวิตทาให้ เน็ต การค้นคว้าในห้อง

สมกบั แหล่งเรยี นรู้ สามารถนาความรู้มาใช้ใน สมุดก่อนจะออกแบบกิจ

ชวี ิตประจาวนั ได้ กรรมการเรยี นร้ตู า่ งๆ

ความรูท้ ีใ่ ชใ้ นการจัด - สบื ค้นเทคนคิ วธิ กี ารสอน,รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ - ศึกษาเนอ้ื หาดา้ นต่างๆใหช้ ดั เจน

- ศึกษาค้นคว้าและบูรณาการหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การจดั การเรยี นรู้

คณุ ธรรม - มีความรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัตหิ น้าท่กี ารสอน ตรงตอ่ เวลา เตรียมการสอนลว่ งหนา้

- มีความเมตตา ให้ความเสมอภาค และยุตธิ รรมกบั นักเรยี นทกุ คน

- มีความเสียสละ อดทน และใฝร่ ู้

2. ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะ “ อยอู่ ยา่ งพอเพียง”

พอประมาณ มีเหตุผลท่ดี ี มีภูมิคุ้มกันทด่ี ี

- แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในกลุ่ม - มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเนื้อหา - ฝึกการมีส่วนร่วมในการทางาน

เหมาะสมกับความสามารถและพอ ในเรื่องท่ีศึกษา สามารถวิเคราะห์ข้อ สร้างความสามคั คีในการทางาน

เพยี งกับจานวนสมาชิก มลู ตา่ งๆไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

- วางแผนการทางานอยา่ งรอบคอบ - รู้จักทางานร่วมกับผู้อื่นโดยใช้กระ

โดยกาหนดเวลาในการทากิจกรรม บวนการกลุม่

อยา่ งเหมาะสม

ความรู้ (วิธีการ) - สบื คน้ ข้อมูล เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ

- ศึกษา ค้นคว้าวธิ ีการทาแบบฝกึ หดั กจิ กรรม และใบงาน

- วิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้ทักษะกระบวนการคิด

คณุ ธรรมท่เี กิดกบั นกั เรียน - มีความรับผิดชอบในหนา้ ที่ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ทางานดว้ ยความเรียบรอ้ ย

ถูกต้อง และเสรจ็ ทนั เวลา

- มคี วามสามัคคีในหมู่คณะ มีวนิ ับเปน็ ผนู้ าและผู้ตามที่ดีขณะปฏบิ ตั ิงานร่วม

กัน

- ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ดว้ ยความกระตอื รือรน้ สนใจ ต้งั ใจ และใฝเ่ รียนรู้

3. ผลลพั ธ์ KPA 4 มติ ิ ท่เี กีย่ วข้องกบั การอยู่อย่างพอเพียง

ผลลัพธ์ สมดุลพร้อมต่อการเปลย่ี นแปลงในด้านต่างๆ

ดา้ นวตั ถุ ด้านสงั คม ด้านสง่ิ แวดล้อม ดา้ นวัฒนธรรม

ด้านความรู้ - มีความรู้ความเข้าใจ - มีความรู้เกี่ยวกับการทา - มีความรู้ความเข้าใจ -

เก่ียวกับหม้อแปลงไฟ งานเป็นกลุ่มและการวาง ธรรมชาตขิ องฟสิ ิกส์

ฟา้ แผนรว่ มกบั ผูอ้ ่นื

ด้านทักษะ - มีความสามารถใน - สามารถทางานร่วมกับผู้ - -

การอภิปราย ทาแบบ อ่ืนในรูปแบบกลุ่มและมี

ฝกึ /ใบงาน ทักษะในการสร้างปฏิสัม

พันธก์ ับผอู้ นื่

กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนทบทวนโดยค้นคว้าด้วยตนเองและฝึกปฏิบัติเพิ่มเติม พร้อมท้ังแบบฝึกหัดเพิ่มเติมจาก

หนังสอื แบบเรียน

บนั ทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้

………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ปญั หาและอปุ สรรค
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ......................................................ผ้สู อน
(นางสาวกนกวรรณ บุญเกตุ)

ความคดิ เหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียนศรีสโมสรวทิ ยา
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื …………………………………………
(นายเมธี วฒั นสิงห์)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นศรีสโมสรวทิ ยา

ใบความรู้
เรื่อง หมอ้ แปลงไฟฟ้า

หม้อแปลง ( Transformer )
หม้อแปลงไฟฟ้า คือ เครอ่ื งมือทใ่ี ชเ้ พมิ่ หรือลดความต่างศักย์กระแสสลับให้สูงข้ึนหรือต่าลง โดยอาศัย

หลักการเหน่ียวนาไฟฟ้าระหว่างขดลวด ขดลวดท่ีต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (A.C.) เรียกว่า ขดลวด
ปฐมภมู ิ (Primary Coil) ส่วนขดลวดอกี ด้านเรยี กว่า ขอลวดทตุ ยิ ภูมิ ( Secondary Coil )

หม้อแปลงมี 2 ชนดิ คือ
1. หม้อแปลงข้ึน (Step - up Transformer) จะมีขดลวดปฐมภูมิน้อยกว่าขดลวดทุติยภูมิ ทาให้

V,E เพม่ิ ขึ้น
2. หม้อแปลงลง (Step - down Transformer ) จะมีขดลวดปฐมภูมิมากกว่าขดลวดทุติยภูมิ ทา

ให้ V , E ลดลง
จากการหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแรงเคลื่อนไฟฟ้า (E) และจานวนรอบของขดลวด (N) ได้ คือ E N

ถา้ หม้อแปลงไม่มกี ารสูญเสียพลงั งาน จะได้
พลังงานไฟฟ้าของขดลวดปฐมภูมิ = พลงั งานไฟฟ้าของขดลวดทุตยิ ภมู ิ
=

===

ประสทิ ธิภาพของหม้อแปลง (Eff) = 100

ประสิทธภิ าพของหม้อแปลง (Eff) = 100

เมอื่ E1 แทน แรงเคลอ่ื นไฟฟ้า (ความต่างศักย,์ V1) ในขดลวดปฐมภูมิ
E2 แทน แรงเคลอื่ นไฟฟา้ (ความต่างศกั ย,์ V2) ในขดลวดทตุ ยิ ภมู ิ
N1 แทน จานวนรอบของขดลวดปฐมภมู ิ N2 แทน จานวนรอบของขดลวดทตุ ยิ ภมู ิ
I1 แทน กระแสไฟฟา้ ในขดลวดปฐมภมู ิ I2 แทน กระแสไฟฟา้ ในขดลวดทตุ ิยภมู ิ

การเลอื กใช้หม้อแปลง ต้องพิจารณา

1. ความต่างศกั ย์ หมอ้ แปลงตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าจะเกิดความเสยี หายกบั หม้อแปลง

2. กาลังไฟฟ้า ต้องมคี ่าเท่ากันกบั เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ เพราะหมอ้ แปลงไมไ่ ดแ้ ปลงกาลงั ไฟฟา้

ใบงานที่ 4

1. ให้นกั เรยี นอธบิ ายว่าไฟฟา้ มาสู่ชุมชนไดอ้ ย่างไร
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
.................................................................................................................................................................. .............
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
2. เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าสามารถส่งกาลังไฟฟ้าได้ 50 กิโลวัตต์จงหาพลังงานความร้อนที่สูญเสียไปภายในสายไฟ
กาหนดให้ส่งกาลังไฟฟ้าผ่านสายไฟที่ยาว 100 เมตร ความต้านทาน 0.2 โอห์ม นาน 10 นาทีด้วยความต่าง
ศักย์
...............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................. ..............................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................... ............................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ........
.......................................................................... ............................................................................................. ........
3. อธบิ ายหลกั การทางานของหม้อแปลง
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........
.................................................................................................................................................................. .............
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................... ................................................
4. แอมมิเตอร์กระแสสลับวดั กระแสไฟฟ้าได้ 20 มลิ ลิแอมแปรจ์ งหากระแสไฟฟ้าสงู สดุ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... ..........

แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรยี น
เรือ่ ง ไฟฟา้ และแมเ่ หลก็

1. ทิศของกระแสไฟฟา้ ตามสากลนยิ มคดิ จากอะไร
ก. ทิศทโ่ี ปรตอนเคลือ่ นที่
ข. ทิศท่ีอเิ ล็กตรอนเคลอ่ื นท่ี
ค. ทศิ ทอี่ ิเล็กตรอนเคลอ่ื นท่หี รือทิศตรงข้ามท่ีไอออนบวกเคล่ือนท่ี
ง. ทศิ ทอ่ี นภุ าคไฟฟ้าบวกเคลื่อนท่หี รือทิศตรงขา้ มกับอนภุ าคไฟฟา้ ลบเคลอ่ื นที

2. เมอื่ ทาให้ปลายทง้ั สองของแท่งโลหะมคี วามต่างศักย์จะมีลักษณะในขอ้ ใด
ก. การเคลอ่ื นท่ีของแท่งโลหะจากปลายที่มีศักย์ไฟฟา้ สูง ไปยงั ปลายทม่ี ศี กั ยไ์ ฟฟ้าตา่
ข. การถา่ ยเทประจุไฟฟ้าผ่านพื้นทหี่ นา้ ตดั ของแทง่ โลหะ ท่ีมีศักยไ์ ฟฟ้าสงู ไปยังปลายท่ีมีศักย์ไฟฟ้าต่า
ค. กระแสไฟฟ้าผ่านแท่งโละจากปลายท่ีมศี ักย์ไฟฟา้ สูง ไปยงั ปลายที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า
ง. การเคลื่อนทีข่ องประจไุ ฟฟ้าบวกไปยงั ข้วั ลบและประจุไฟฟ้าลบไปยังข้วั บวก

3. ถ่านไฟฉาย 1 กอ้ น มแี รงเคล่ือนไฟฟ้า 1.5 โวลต์ หมายถึงอะไร
ก. แรงดนั ท่ดี ันใหอ้ เิ ลก็ ตรอน 1 ตัว เคลื่อนทผี่ ่านความต่างศักย์ 1.5 V
ข. พลงั งานไฟฟา้ 1.5 J ทถ่ี า่ นไฟฉายจา่ ยใหแ้ กป่ ระจไุ ฟฟ้า 1 C ซ่ึงเคล่อื นทีใ่ นตัวนา
ค. แรงดนั ท่ดี นั ใหป้ ระจุไฟฟา้ ไหลผ่านตวั ตา้ นทาน 1.5 W
ง. งานท่ีประจไุ ฟฟา้ ใช้ในการเคลอื่ นท่ผี า่ นตวั ต้านทาน 1.5 W

4. สมการใดตอ่ ไปน้ใี ชห้ าขนาดของสนามแมเ่ หลก็

ก. B = ข. B = ค. B = ง. B =

5. ขอ้ ความใดต่อไปน้ไี ม่ถกู ต้อง

ก. กระแสไฟฟ้าเกดิ จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า

ข. กระแสไฟฟ้ามีหน่วยเป็นคูลอมบต์ อ่ วนิ าที

ค. กระแสไฟฟา้ เปน็ ปริมาณเวกเตอร์

ง. กระแสไฟฟ้ามที ศิ ตรงข้ามกบั ทิศทางการเคล่ือนท่ีของอเิ ลก็ ตรอน

6. แรงดนั ไฟฟา้ ท่ตี กคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวในวงจรอนกุ รมขึ้นอยูก่ ับอะไร

ก. คา่ ความต้านทานรวมของวงจร ข. คา่ ความต้านทานแต่ละตัว

ค. คา่ ความตา้ นทานทม่ี ากทีส่ ุดในวงจร ง. กาลังไฟฟ้า

7. กระแสไฟฟ้าท่ไี หลในวงจรอนุกรมจะมลี ักษณะเปน็ อยา่ งไร

ก. มคี ่าต่างกันในแต่ละจุด ข. มคี า่ เทา่ กบั แรงดนั ไฟฟ้า

ค. มีค่าเท่ากันทุกจุด ง. ถกู ทงั้ ขอ้ ก และ ข้อ ข

8. ภายในวงจรขนานสาขาท่มี ีคา่ ความตา้ นทานสูงขน้ึ จะมีผลตอ่ ค่ากระแสไฟฟ้าอยา่ งไร

ก. ลดลงตามคา่ ความตา้ นทานท่ีสงู ขึน้ ข. เพ่ิมขนึ้ ตามค่าความต้านทาน

ค. เพม่ิ ขนึ้ ตามแรงดนั ไฟฟา้ ง. ไมม่ ีข้อถูก

9. อนุภาคท่ีมปี ระจเุ มื่อเคล่อื นทตี่ ง้ั ฉากกับสนามแมเ่ หล็ก จะถูกเปลีย่ นแปลงอะไรบ้าง

ก. ประจุ ข. มวล ค. ความเร็ว ง. พลงั งาน

10. ลวดตวั นายาว 20 ซม. ลอยน่ิงอยูใ่ นสนามแมเ่ หลก็ ทม่ี ีขนาดสมา่ เสมอ 1.0 เทสลา เมือ่ ผ่านกระแสไฟฟ้าเข้า

ไปในเสน้ ลวด 5A จงหาขนาดของแรงแม่เหล็กทกี่ ระทาตอ่ ขดลวด

ก. 1 N ข. 5 N ค. 10 N ง. 0.1 N

11. ความไวของแกลแวนอมเิ ตอรไ์ ม่ขึ้นอยกู่ บั

ก. ขนาดเข็มของเครือ่ ง ข.จานวนรอบของขดลวด

ค. ขนาดสนามแมเ่ หล็ก ง. พน้ื ท่ขี องขดลวด

12. คณุ สมบตั ขิ องแกลแวนอมเิ ตอรค์ อื ขอ้ ใด

1. วดั กระแสไฟฟา้ 2. วัดความต่างศกั ย์ 3. วัดความต้านทาน

ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง

ก. ขอ้ 1 และ 2 ข. ขอ้ 1 และ 3 ค. ขอ้ 2 และ 3 ง. ข้อ 1 2 และ 3

13. คา่ ความตา้ นทานรวมภายในวงจรอนกุ รม – ขนานข้นึ อยู่กับอะไร

ก. แรงดนั ไฟฟา้ จากแหลง่ จ่ายไฟ ข. กระแสไฟฟา้ ทไ่ี หล

ค. ลักษณะการตอ่ กนั ของตัวต้านทาน ง. กาลงั ไฟฟา้ ของวงจร

14. ผลรวมของกระแสไฟฟ้าภายในวงจรแบบขนานจะมีค่าเท่าใด ถ้ากระแสไฟฟ้าท่ีไหลออกจากแหล่งจ่ายไฟมี

ค่าเท่ากับ 2 แอมแปร์

ก. 2 แอมแปร์ ข. 6 แอมแปร์ ค. 4 แอมแปร์ ง. 8 แอมแปร์

15. กระแสไฟฟ้ารวมในวงจรขนานจะมคี ่าเท่ากบั อะไร

ก. กระแสไหลเทา่ กนั หมด

ข. กระแสไฟฟ้าท่ไี หลผา่ นตวั ต้านทานมคี ่ามากทสี่ ุด

ค. กระแสไฟฟา้ ที่ไหลผ่านตัวตา้ นทานมคี ่านอ้ ยทีส่ ุด

ง. กระแสไฟฟา้ ท่ไี หลในแตล่ ะสาขารวมกนั

16. คณุ สมบัติของมอเตอร์กระแสตรงคือ

1. เปลยี่ นพลังงานไฟฟา้ เป็นพลงั งานกล 2. เปลี่ยนพลังงานกลเปน็ พลังงานไฟฟา้

ข้อใดถูกตอ้ ง

ก. ขอ้ 1 เทา่ นนั้ ข. ขอ้ 2 เท่าน้นั ค. ขอ้ 1 และ 2 ง. ผดิ ทัง้ สองข้อ

17. อปุ กรณ์ไฟฟา้ ชนดิ ใดท่ที างานโดยอาศัยกฎของฟาราเดย์

ก. หมอ้ แปลงไฟฟ้า ข.ไดนาโม ค. มอเตอร์ 3 เฟส ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก

18. จดุ สะเทินคือบริเวณใด

ก. สนามแม่เหล็กมคี า่ มากทีส่ ุด ข. สนามแมเ่ หลก็ มีค่าน้อยที่สดุ

ค. สนามแม่เหล็กมคี ่าเปน็ ศูนย์ ง. สนามแม่เหล็กมีค่าคงท่ีสม่าเสมอ

19. สนามแมเ่ หล็กมหี นว่ ยเปน็ ข้อใด

ก. ตารางเมตร ข. เทสลา ค. เมตร ง. เมตร

20. ออโรราคือข้อใด

ก. อะตอมของออกซเิ จนและไนโตรเจนจะปลอ่ ยสงในช่วงทต่ี ามองเห็นออกมา

ข. อะตอมของออกซเิ จนและคาร์บอนจะปล่อยสงในช่วงที่ตามองเหน็ ออกมา

ค. อะตอมของออกซิเจนและไอโอดีนจะปล่อยสงในช่วงท่ีตามองเห็นออกมา

ง. อะตอมของออกซเิ จนและฟอสฟอรสั จะปล่อยสงในชว่ งทตี่ ามองเหน็ ออกมา

เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน
เร่อื ง ไฟฟา้ และแมเ่ หล็ก

1. ง 11. ก
2. ค 12. ก
3. ข 13. ก
4. ง 14. ง
5. ค 15. ง
6. ข 16. ก
7. ค 17. ง
8. ก 18. ค
9. ค 19. ข
10. ก 20. ก

แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านทม่ี อบหมาย

ที่ ช่ือ-สกุล พฤติกรรมการปฏิบตั งิ าน รวม
สนใจ มีสว่ นร่วม ตรงเวลา ถกู ต้อง (20 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 5 คะแนน
1) นักเรยี นมพี ฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านที่มอบหมายอยา่ งสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
2) นกั เรียนมีพฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านทม่ี อบหมายบ่อยครง้ั ให้ 3 คะแนน
3) นกั เรยี นมีพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านทม่ี อบหมายบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
4) นกั เรียนมีพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านที่มอบหมายน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
5) นกั เรียนมีพฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านทมี่ อบหมายนอ้ ยครั้ง

การประเมนิ คณุ ภาพของการปฏบิ ัตงิ าน ผลการประเมิน
ชว่ งคะแนน ดีมาก
18-20 ดี
14-17 พอใช้
10-13 ปรับปรุง
ต่ากวา่ 10

แบบสังเกตพฤตกิ รรมในการปฏบิ ตั ิงานกลมุ่

ชอื่ สมาชิกในกลุ่มที่..............................

1……………………………………………. 2…………………………………………….

3……………………………………………. 4…………………………………………….

5……………………………………………. 6…………………………………………….

รายการทีป่ ระเมนิ คะแนนทไี่ ดจ้ ากการประพฤติ รวม
12345 (20 คะแนน)
วธิ ีดาเนนิ การทดลอง
การปฏิบตั ิการทดลอง
ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติงาน
การนาเสนอ

เกณฑ์การให้คะแนน

รายการทีป่ ระเมนิ ผลการประเมิน คะแนน
1
1. วิธีดาเนินการทด - ดาเนนิ การนอ้ ยมากหรอื ไม่มี
2
ลอง - ต้องให้ความช่วยเหลืออย่างมากในการกาหนด วิธีการ ข้ันตอน และการใช้
3
เคร่อื งมอื
4
- กาหนดวธิ ีการและขั้นตอนไม่ถกู ต้อง ตอ้ งใหค้ วามช่วยเหลอื
5
- กาหนดวิธีการและขั้นตอนถูกต้อง การใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ยังไม่ 1
2
เหมาะสม 3
4
- กาหนดวิธกี ารถกู ต้อง เลอื กใช้เคร่ืองมือและวัสดุอุปกรณต์ ่างๆได้อยา่ งถูกต้อง 5
1
2. การปฏิบัติการทด - ปฏบิ ตั ินอ้ ยมากหรือไม่มี 2

ลอง - ต้องให้ความชว่ ยเหลืออยา่ งมากในการดาเนินการทดลองและการใช้อุปกรณ์ 3

- ต้องให้การชว่ ยเหลือในการดาเนินการทดลองและการใชอ้ ปุ กรณ์ 4

- ดาเนนิ การทดลองเป็นขั้นตอน และใชอ้ ุปกรณไ์ ด้อยา่ งถกู ต้องถา้ ใหค้ าแนะนา 5

- ดาเนินการทดลองเป็นข้นั ตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ต่างๆได้อยา่ งเหมาะสม 1

3. ความคล่องแคลว่ ใน - ปฏบิ ัติน้อยมากหรือไม่มี 2

ขณะปฏบิ ัตงิ าน - ทาการทดลองไม่ทนั เวลาท่ีกาหนด และทาอุปกรณ์เครอื่ งใช้แตกหักเสียหาย 3

- ทาการทดลองไม่ทันที่เวลากาหนด เนอื่ งจากขาดความคลอ่ งแคล่วในการใช้อุป 4

กรณ์

- มคี วามคล่องแคลว่ ในการทดลอง และการใชอ้ ุปกรณ์ แต่ต้องช้ีแนะเร่ืองการใช้

อุปกรณ์อยา่ งปลอดภยั

- มีความคล่องแคล่วในการทดลอง และการใช้อุปกรณ์ ดาเนินการทดลองได้

อย่างปลอดภัย เสรจ็ ทนั เวลา

4. การนาเสนอ - นาเสนอน้อยมากหรอื ไม่มี

- ต้องให้ความช่วยเหลืออย่างมากในการบันทึกผลการทดลอง สรุปผล และการ

นาเสนอ

- ต้องให้คาชี้แนะในการบันทึกผลการทดลอง การสรุปการทดลอง และการนา

เสนอจงึ ปฏบิ ัตไิ ด้

- บนั ทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลองอย่างถูกตอ้ ง แตก่ ารนาเสนอยังไม่

เปน็ ข้ันตอน

รายการทปี่ ระเมิน ผลการประเมิน คะแนน
5
- บนั ทกึ ผลการทดลองและสรปุ ผลการทดลองอย่างถูกต้อง รัดกุม บันทึกการนา
เสนอเปน็ ข้นั เปน็ ตอนชดั เจน

การประเมินคณุ ภาพของการปฏบิ ตั งิ าน ผลการประเมนิ
ชว่ งคะแนน ดมี าก
18-20 ดี
14-17 พอใช้
10-13 ปรับปรงุ
ต่ากว่า 10

แบบบนั ทึกผลการทาแบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้

ท่ี ช่ือ-สกลุ คะแนนการทาแบบทดสอบ (10 คะแนน)

1 กอ่ นเรียน หลังเรียน สอบซ่อมเสรมิ
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28

วิธีการประเมนิ วัดผลและประเมนิ ผล
นักเรียนแต่ละคนจะต้องทาแบบทดสอบหลังเรียนให้ผ่านเกณฑ์ 80% หากไม่ผ่านเกณฑ์ให้นักเรียนกลับไป
ทบทวนเนอ้ื หาเดมิ อกี ครั้งหนง่ึ แลว้ จึงทาแบบทดสอบหลังเรยี นซา้ อีกจนกว่าจะผ่านเกณฑเ์ พ่ือแก้ไขคะแนนให้เป็นไป

ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ (สอบซอ่ มเสรมิ )

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป.). หนังสือแบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 (สสวท).
สืบค้น กรกฎาคม 1, 2557, จาก http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=74236

วัลลภ ทองอ่อน. (ม.ป.ป.). ความหลากหลายทางชีวภาพและความมั่นคงของระบบนิเวศ.
สบื ค้น มถิ ุนายน 23, 2557, จาก http://www.cpd.go.th/M&e/%E0%B8%BABiodiversity.htm


Click to View FlipBook Version