รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 91 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์เป้าหมายทั้ง 8 แห่ง จากผลการติดตามความก้าวหน้าการด าเนินการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระ ของสมาชิกสหกรณ์ พบว่า มี สหกรณ์ 3 แห่ง ไม่มีหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์เป้าหมายทั้ง 8 แห่ง ได้ด าเนินการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์ตามขั้นตอนทั้ง 9 ขั้นตอน พร้อมทั้งได้ด าเนินการจัดท าแผนป้องกันมิให้เกิดหนี้ค้างช าระซ้ าอีก 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์ มีปัญหาและอุปสรรค ในการด าเนินงานทั้งในส่วนของสหกรณ์เป้าหมาย ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์มีหนี้หลายทาง สมาชิกส่วนใหญ่เป็น ผู้สูงอายุและไม่มีอาชีพที่มีรายได้ที่มั่นคง รวมทั้งปัญหาภัยแล้ง จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่สหกรณ์สหกรณ์ต้อง ก าหนดแผนการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับสมาชิก รวมทั้งในกระบวนการปล่อยสินเชื่อให้กับสมาชิกของ สหกรณ์ ต้องพิจารณาเพิ่มเติมในส่วนของสภาพคล่อง และความสามารถในการช าระหนี้ของสมาชิกเพิ่มเติม ตลอดจนคณะท างานผู้ปฏิบัติงานในสหกรณ์ ซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการ และฝ่ายจัดการไม่ให้ความส าคัญ ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว นอกจากนี้ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และไม่สามารถควบคุมได้ก็คือ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โควิด 19 ซึ่งผลกระทบค่อนข้างมากต่อการด าเนินการแนะน า ส่งเสริม สหกรณ์ กลุ่มเป้าหมายตามโครงการดังกล่าว
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 92 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว การจัดท าระบบทะเบียนสมาชิกและทะเบียนหุ้นของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป็นการเชื่อมโยง ข้อมูลสารสนเทศระหว่างหน่วยงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์กับส่วนราชการ ขึ้นเพื่อช่วยเหลือด้านการส่งเสริม อาชีพการเกษตรและพิสูจน์ตัวตนเกษตรกรได้อย่างรวดเร็วแม่นย าขึ้น นอกจากนี้กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ร่วมกับ กรมการปกครอง จัดท าข้อมูลทะเบียนสมาชิกให้สามารถอ้างอิงกับเลขบัตรประชาชน 13 หลัก เพื่อตรวจสอบ ฐานข้อมูลสมาชิกสหกรณ์กับทะเบียนราษฎร์ได้ ทั้งนี้ การร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทั้ง 3 หน่วยงาน เพื่อร่วมมือกันพัฒนาฐานข้อมูลให้มีความสมบูรณ์และสามารถด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับงานบริการภาครัฐสู่ความเป็นเลิศ ซึ่งนับว่าเป็นภารกิจส าคัญในการขับเคลื่อนนโยบายส าคัญของ ประเทศ กรมส่งเสริมสหกรณ์ที่เล็งเห็นความส าคัญของการเชื่อมโยงในการใช้ข้อมูลทะเบียนราษฎร ซึ่งนับว่า เป็นเรื่องที่มีความส าคัญที่รัฐบาลพยายามพัฒนา ส่งเสริมและผลักดัน โดยให้กรมการปกครองเอาข้อมูล ทะเบียนราษฎร์น ามาให้ส่วนราชการได้ใช้เป็นข้อมูล เพื่อลดภาระของประชาชนในเรื่องของค่าใช้จ่ายในการคัด ส าเนาทะเบียนบ้านและบัตรประชาชนด้วย ดังนั้น การที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้น าข้อมูลทะเบียนบ้านและบัตร ประชาชนมาใช้ จะเป็นผลดีให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานให้เป็นไปอย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น และสามารถบอก ข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจนผ่านการอ้างอิงหมายเลขประชาชน 13 หลัก เมื่อมีข้อมูลทะเบียนสมาชิกแล้ว จะส่งผลให้เกิดประโยชน์ในการด าเนินโครงการต่าง ๆ ในการเข้าไปส่งเสริมอาชีพให้กับสมาชิกของสหกรณ์และ ในอนาคตถ้าระบบงานของกรมส่งเสริมสหกรณ์สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ก็จะสมารถเชื่อมโยงในหลากหลายรูปแบบ มากยิ่งขึ้น 2. วัตถุประสงค์ 2.๑ เพื่อใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบและยืนยันตัวบุคคลของสมาชิก การตรวจสอบคุณสมบัติการ เป็นสมาชิกตามข้อบังคับของสหกรณ์การถือหุ้นให้เป็นไปตามมาตรา 33 (3) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์พ.ศ. 2542 2.๒ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการยืนยันสถานะบุคคลเพื่อบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดยการเชื่อมโยงข้อมูล จากเลขประจ าตัวประชาชนกับส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในการก าหนดนโยบายหรือก าหนดแผน ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ที่จะส่งผลที่ดีต่อกิจการของสหกรณ์และสมาชิก 3. เป้าหมาย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการจดทะเบียนจัดตั้งและมีสถานะด าเนินธุรกิจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัดสระแก้วมีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะด าเนินธุรกิจ ทั้งสิ้น สหกรณ์ 68 แห่ง และ กลุ่มเกษตรกร 19 แห่ง 4. ตัวชี้วัดระดับกิจกรรม - เชิงปริมาณ สามารถน าข้อมูลของสหกรณ์ จ านวน 68 แห่ง และ กลุ่มเกษตรกร จ านวน 19 แห่ง - เชิงคุณภาพ สามารถน าข้อมูลของสหกรณ์เข้าสู่ระบบสารสนเทศของกรมส่งเสริมสหกรณ์ การจัดท าระบบทะเบียนสมาชิกและทะเบียนหุ้น (สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร)
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 93 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 5. กิจกรรม /งานที่ด าเนินการ 5.๑ จัดท าหนังสือแจ้งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทุกแห่ง ให้ด าเนินการจัดท าทะเบียนสมาชิกและ ทะเบียนหุ้น 5.๒ ประสานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่ ที่รับผิดชอบแต่ละแห่งด าเนินการส่งเสริม ให้ ค าแนะน าและติดตามให้สหกรณ์ในความรับผิดชอบ ด าเนินการจัดท าข้อมูลทะเบียนสมาชิกและทะเบียนหุ้น สหกรณ์ 5.๓ ด าเนินการตรวจสอบข้อมูลและรายละเอียดที่ได้รับจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5.๔ ด าเนินการน าข้อมูลเข้าระบบสารสนเทศและรวบรวมจัดส่งกรมส่งเสริมสหกรณ์ด าเนินการต่อไป 6. ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินงาน 6.1 สหกรณ์ยังไม่มีการเก็บข้อมูลเลขประจ าตัวประชาชน จึงท าให้เกิดความล่าช้าในการจัดท า ทะเบียน 6.2 บางสหกรณ์มีการจัดตั้งมาเป็นเวลานาน และมีการเปลี่ยนผู้บริหารและคณะกรรมการด าเนินการ หลายรุ่น และสหกรณ์ไม่มีการจัดเก็บเอกสารให้เป็นระบบ จึงท าให้ข้อมูลบางส่วนที่ต้องการอาจสูญหายได้ 6.3 สหกรณ์ (บางแห่ง) ไม่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจ าในสหกรณ์ จึงท าให้ไม่มีผู้จัดท าข้อมูลทะเบียน สมาชิกและทะเบียนหุ้นสหกรณ์ 7. ผลส าเร็จของงาน / โครงการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว - สหกรณ์มีการจัดเก็บข้อมูลเพื่อน าเข้าสู่ระบบสารสนเทศของกรมส่งเสริมสหกรณ์จากเป้าหมาย 68 แห่ง จัดส่งได้ 65 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 95.58 โดยอีก 3 แห่ง ได้รับข้อมูลและด าเนินการจัดส่งหลังจากสิ้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - กลุ่มเกษตรกรข้อมูลเข้าสู่ระบบได้แล้ว จ านวน 19 แห่ง สมาชิกกลุ่ม 899 ราย
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 94 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการ สันนิบาตสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 1. วัตถุประสงค์ สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยมีนโยบายที่จะส่งเสริมให้สหกรณ์ในแต่ละจังหวัดรวมตัวกันใน นามของ “สันนิบาตสหกรณ์จังหวัด” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางความร่วมมือและรวมตัวกันของสหกรณ์ ทุกเภทในจังหวัด เพื่อสร้างความสัมพันธ์และเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสหกรณ์ในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และเป็นพื้นฐานต่อการจัดตั้งสาขาของสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย 1.) สร้างความสัมพันธ์และเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสหกรณ์ในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การบริหารจัดการ การด าเนินธุรกิจ การรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมของสหกรณ์ และการแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ 2.) เป็นพื้นฐานต่อการจัดตั้งสาขาของสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย เป้าหมาย จัดตั้งสันนิบาตสหกรณ์จังหวัด ละ 1 แห่ง พื้นที่ด าเนินงานโครงการ ภายในจังหวัดสระแก้ว 2. ผลการด าเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ด าเนินงานและระบุผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ) ในปีงานประมาณ พ.ศ. 2563 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ได้จัดประชุมการจัดตั้งสันนิบาตสหกรณ์จังหวัด สระแก้ว จัดโครงการสร้างเครือข่ายการพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็งภายในจังหวัดสระแก้ว และเข้าร่วมการ ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสันนิบาตสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดตั้งสันนิบาตสหกรณ์จังหวัด 1 แห่ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ประชุมคณะท างานเตรียมจัดตั้งสันนิบาตสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 8 ตุลาคม 2562 เพื่อเลือกตั้ง คณะท างานจ านวน 5 คน 2. สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย มีค าสั่งที่ 48/2562 ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2562 แต่งตั้งคณะท างาน เตรียมการจัดตั้งสันนิบาตสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 3. ประชุมผู้แทนสหกรณ์เพื่อจัดตั้งสันนิบาตสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 4. ขอค ารับรองการจัดตั้งสันนิบาตสหกรณ์จังหวัดต่อประธานกรรมการด าเนินงานสันนิบาตสหกรณ์แห่ง ประเทศไทย
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 95 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 5. จัดประชุมสร้างเครือข่ายการพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็งภายในจังหวัดสระแก้ว เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2563 มีสหกรณ์เป็นสมาชิกทุกสหกรณ์ในจังหวัดสระแก้ว 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข -ไม่มีกิจกรรมที่ร่วมกับของสมาชิกสันนิบาตสหกรณ์จังหวัด 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ที่สามารถสื่อสาร เผยแพร่ หรือแสดง ผลการด าเนินกิจกรรมได้ชัดเจน และสามารถน าไปเผยแพร่ต่อสาธารณะได้ (พร้อมค าอธิบายประกอบไว้ด้านล่าง ของภาพ) โครงการประชุมสร้างเครือข่ายการพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็งสหกรณ์ภายใน จังหวัดสระแก้ว
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 96 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการประชุมสร้างเครือข่ายการพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็งสหกรณ์ภายใน จังหวัดสระแก้ว
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 97 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการ สันนิบาตสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 98 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ชื่องานที่/โครงการ การส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ตามพระราชด าริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี(ตชด.) 1. เป้าหมาย / ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย โรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชด าริของสมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมีผลการประเมินระดับ คุณภาพ 2 ขึ้นไป ร้อยละ 70 โรงเรียนสังกัดต ารวจตระเวนชายแดน จ านวน 8 แห่ง และ สังกัด ส านักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน 3 แห่ง รวมจ านวน 11 โรงเรียน ดังนี้ 1) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนวังศรีทอง ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว 2) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านทุ่งกบินทร์ ต าบลวังใหม่ อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัด-สระแก้ว 3 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านคลองตะเคียนชัย ต าบลทุ่งมหาเจริญ อ าเภอวังน้ าเย็น จังหวัดสระแก้ว 4) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนพีระยานุเคราะห์ฯ 1 ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัด สระแก้ว 5) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านน้ าอ้อม ต าบลเขาสามสิบ อ าเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัด-สระแก้ว 6) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนการบินไทย ต าบลไทรเดี่ยว อ าเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว 7) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนประชารัฐบ ารุง 1 ต าบลป่าไร่ อ าเภออรัญประเทศ จังหวัด สระแก้ว 8) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านเขาสารภีต าบลทับพริก อ าเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว 9) โรงเรียนบ้านท่าผักชีต าบลพระเพลิง อ าเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว 10) โรงเรียนบ้านคลองเจริญสุข ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว 11) โรงเรียนบ้านโคกน้อย ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว 2. กิจกรรม/งานที่ด าเนินการ 2.1) แนะน า ส่งเสริม ช่วยเหลือ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน (การ ผลิต ร้านค้า ออมทรัพย์ สาธารณประโยชน์) 2.2) ประสานงาน แนะน าครูผู้สอนวิชาการสหกรณ์ในโรงเรียน 2.3) แนะน า ส่งเสริมให้มีการจัดท าบัญชีสหกรณ์ให้เป็นปัจจุบัน และสามารถปิดบัญชีได้ทุกภาคเรียน 2.4) แนะน า ส่งเสริม ให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปี พร้อมการเลือกตั้ง คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน 2.5) แนะน า ส่งเสริมให้มีการจดบันทึกรายงานการประชุม และตรวจสอบให้เป็นปัจจุบัน 2.6) จัดทัศนศึกษาเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์งานสหกรณ์ให้กับนักเรียน/ครูที่ รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 99 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 2.7) จัดให้มีกิจกรรมการประกวดการจดบันทึกรายงานการประชุมและการประกวดการบันทึกบัญชี พร้อมทั้งมอบรางวัลให้โรงเรียนที่ชนะการประกวด 2.8) ประสานงานกับโรงเรียนที่ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนปรับปรุงอาคารกิจกรรม สหกรณ์นักเรียน (ปรับปรุง / ก่อสร้างอาคารกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และสนับสนุน กิจกรรมร้านค้า ได้แก่ ชั้นวางสินค้า ตู้กระจกเก็บสินค้า ) โดยปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบและวัตถุประสงค์ของเงินอุดหนุน 3. ผลส าเร็จของงาน/โครงการ - โรงเรียนในโครงการฯ มีผลการประเมินระดับคุณภาพที่ 2.75 4. ปัญหา / อุปสรรค 4.1) ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์มีการโยกย้ายบ่อย ท าให้กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนขาดความ ต่อเนื่อง 4.2) ครูที่รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ส่วนใหญ่ยังไม่เคยเข้ารับการฝึกอบรมด้านการสหกรณ์ 4.3) ผลงานของครูผู้รับผิดชอบด้านการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ไม่ได้รับการสนับสนุนเข้า ประเมินผลงานจากหน่วยงานต้นสังกัด ท าให้ครูผู้รับผิดชอบด้านกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนขาดขวัญก าลังใจใน การพัฒนางานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 100 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว สอนเสริมการสหกรณ์ โรงเรียนในโครงการพระราชด าริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 101 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ชื่องาน/โครงการ/ ทัศนศึกษาเพื่อการเรียนรู้งานสหกรณ์ของคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 1. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการสหกรณ์ / ผู้สังเกตการณ์ และครูที่รับผิดชอบกิจกรรม สหกรณ์นักเรียน 11 โรงเรียน จ านวน 165 คน ดังนี้ 1) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนวังศรีทอง ต าบลวังสมบูรณ์ อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว 2) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านทุ่งกบินทร์ต าบลวังใหม่ อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว 3) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านคลองตะเคียนชัย ต าบลทุ่งมหาเจริญ อ าเภอวังน้ าเย็น จังหวัด สระแก้ว 4) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนพีระยานุเคราะห์ฯ 1 ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัด สระแก้ว 5) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านน้ าอ้อม ต าบลเขาสามสิบ อ าเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัด-สระแก้ว 6) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนการบินไทย ต าบลไทรเดี่ยว อ าเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว 7) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนประชารัฐบ ารุง 1 ต าบลป่าไร่ อ าเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว 8) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านเขาสารภีต าบลทับพริก อ าเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว 9) โรงเรียนบ้านท่าผักชีต าบลพระเพลิง อ าเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว 10) โรงเรียนบ้านคลองเจริญสุข ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว 11) โรงเรียนบ้านโคกน้อย ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว 2. กิจกรรม/งานที่ด าเนินงาน 2.1) แจ้งรายละเอียดโครงการให้โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนและโรงเรียนสังกัด ส านักงานคณะการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทราบถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ 2.2) ประสานการขอท าประกันชีวิตหมู่ให้กับนักเรียนที่ไปทัศนศึกษา 2.3) ติดต่อประสานงานกับสถานที่ทัศนศึกษาดูงาน เพื่อประสานวิทยากรในการบรรยายและ สาธิตตลอดจนเส้นทางการเดินทางและระยะเวลาการเข้าศึกษาดูงานในแต่ละสถานที่ ดังนี้ 1) ศูนย์เรียนรู้การสหกรณ์คลองน้ าเขียว ต าบลท่าแยก อ าเภอเมืองสระแก้ว จังหวัด สระแก้ว 2) อุทยานแห่งชาติปางสีดา ต าบลท่าแยก อ าเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว 3) ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืดสระแก้ว ต าบลหนองตะเคียนบอน อ าเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว 2.4) จัดหาพาหนะและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่จ าเป็นเพื่ออ านวยความสะดวกในการทัศนศึกษา ดูงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 102 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 3. ผลส าเร็จของงาน/โครงการ นักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และผู้สังเกตการณ์เข้าร่วมโครงการฯ 11 โรงเรียน จ านวน 180 คน 1) ผู้เข้าร่วมโครงการฯ เกิดกระบวนการเรียนรู้และได้แนวคิดจากการทัศนศึกษาดูงานฯ ไปเป็น แนวทางในการพัฒนาตนเอง 2) ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทราบบทบาทหน้าที่ของตนเองในการที่เป็นพลเมืองดีของชาติต่อไป 3) เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมร่วมกัน อันจะก่อให้เกิดการน าความรู้มาพัฒนาชุมชน และสังคมของตนเองได้ต่อไป 4. ปัญหา / อุปสรรค - เกิดการระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลด้านสถานที่ศึกษาดูงานอาจจะไม่พึงพอใจมากนัก .
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 103 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ภาพถ่ายจากการจัดกิจกรรม/ทัศนศึกษา คณะครู นักเรียน และเจ้าหน้าที่ ถ่ายรูปร่วมกัน ศึกษาดูงานที่ ศูนย์เรียนรู้การสหกรณ์คลองน้ าเขียว อ าเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 104 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ภาพถ่ายจากการจัดกิจกรรม/ทัศนศึกษา เจ้าหน้าที่อุทยานฯ ให้ความรู้เกี่ยวกับผืนป่าดงพญาเย็น ศึกษาเส้นทางธรรมชาติ ผืนป่าดงพญาเย็น ศึกษาดูงานที่ อุทยานแห่งชาติปางสีดา อ าเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 105 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรม การประกวดบันทึกรายงานการประชุมและบันทึกบัญชีในกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียน 1. ความเป็นมา / วัตถุประสงค์ ความเป็นมา ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ได้ด าเนินกิจกรรมการประกวดการจดบันทึกรายงาน การประชุมและการประกวดการบันทึกบัญชีของกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ในโรงเรียนโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด าริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี จ านวน ๑๑ โรงเรียน ตามกรอบภารกิจของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมี ส่วนร่วมในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน มีความรู้ และทักษะในการจดบันทึกรายงานการประชุม การบันทึก บัญชีของสหกรณ์นักเรียนได้อย่างถูกต้อง และสามารถปิดบัญชีได้ทุกภาคเรียน วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการด าเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน มี ความรู้และทักษะในการจดบันทึกรายงานการประชุม เกิดการสร้างระบอบประชาธิปไตย การรับฟังเสียงข้าง มาก มีการลงมติในแต่ละวาระการประชุม 2) การบันทึกบัญชีได้อย่างถูกต้องและสามารถปิดบัญชีได้ทุกภาคเรียน เพื่อให้นักเรียนรู้จัก การคิดต้นทุนของสินค้า เมื่อสิ้นปีบัญชีมีการเฉลี่ยคืน การปันผล ให้กับสมาชิก 2. ระยะเวลาด าเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จ านวน 4 วัน (24 – 27 สิงหาคม 2563) เป้าหมาย โรงเรียนตามโครงการพระราชด าริ จ าวน 11 แห่ง ดังนี้ 1) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนวังศรีทองต าบลวังสมบูรณ์ อ าเภอวังสมบูรณ์จังหวัดสระแก้ว 2) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านทุ่งกบินทร์ ต าบลวังใหม่ อ าเภอวังสมบูรณ์จังหวัดสระแก้ว 3 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านคลองตะเคียนชัย ต าบลทุ่งมหาเจริญ อ าเภอวังน้ าเย็น จังหวัด สระแก้ว 4) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนพีระยานุเคราะห์ฯ 1 ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัด สระแก้ว 5) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านน้ าอ้อม ต าบลเขาสามสิบ อ าเภอเขาฉกรรจ์จังหวัดสระแก้ว 6) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนการบินไทย ต าบลไทรเดี่ยว อ าเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว 7) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนประชารัฐบ ารุง 1 ต าบลป่าไร่ อ าเภออรัญประเทศ จังหวัด สระแก้ว 8) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านเขาสารภี ต าบลทับพริก อ าเภออรัญประเทศ จังหวัด สระแก้ว 9) โรงเรียนบ้านท่าผักชีต าบลพระเพลิง อ าเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว 10) โรงเรียนบ้านคลองเจริญสุข ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว 11) โรงเรียนบ้านโคกน้อย ต าบลวังทอง อ าเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 106 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 3. รายละเอียดงานที่ท า / ตัวชี้วัด / ผลส าเร็จที่เกิดขึ้น รายละเอียดงานที่ท า - แจ้งรายละเอียดโครงการให้โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนและโรงเรียนสังกัดส านักงานคณะการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานทราบถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ - ก าหนดการตรวจเยี่ยมโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ - คณะกรรมการสรุปผลการให้คะแนน - แจ้งผลการประกวดการบันทึกรายงานการประชุมและบันทึกบัญชีให้ต้นสังกัดของโรงเรียนทราบ ผลส าเร็จที่เกิดขึ้น การประกวดบันทึกรายงานการ ประชุม ผลรางวัล การประกวดบันทึกบัญชี ผลรางวัล โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน บ้านน้ าอ้อม ชนะเลิศ โรงเรยีนต ารวจตระเวนชายแดน วังศรีทอง ชนะเลิศ โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนพี ระยานุเคราะห์ฯ1 รองชนะเลิศอันดับ 1 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน บ้านน้ าอ้อม รองชนะเลิศอันดับ 1 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน บ้านทุ่งกบินทร์ รองชนะเลิศอันดับ 2 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน การบินไทย รองชนะเลิศอันดับ 2 1) โรงเรียนสามารถปิดบัญชีได้ทุกภาคเรียน 2) นักเรียนสามารถบันทึกรายงานการประชุมได้ถูกต้อง มีการลงมติในแต่ละวาระ 3) กิจกรรมมีการบูรณาการในแต่ละกิจกรรม เช่น ตรวจบัญชีสหกรณ์ เกษตร ประมง ปศุสัตว์ 4. ประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ และที่เกิดขึ้นกับหน่วยงาน - เพื่อให้นักเรียนที่ได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติเรื่องการบันทึกรายงานการประชุม และการบันทึกบัญชีอย่างถูกต้องเกิดประโยชน์สูงสุด 5. ปัญหา / อุปสรรค - เอกสารและเนื้อหาการประกวดค่อนข้างมาก และเป้าหมายมีหลายโรงเรียน การออก ประกวดในรูปคณะท างานอาจจะยุ่งยากในการประเมินผล 6. ปัจจัยความส าเร็จที่ส่งผลถึงการด าเนินงานของหน่วยงาน โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการพัฒนาบุคลากร (คณะกรรมการ) ในการด าเนินงานของกิจกรรมสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 107 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว คณะกรรมการเข้าประเมินการให้คะแนนการประกวดบันทึกรายงานการประชุมและการประกวดบันทักบัญชี
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 108 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ชื่องาน/โครงการ/ การส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง 17 (บ้านแสง์) ใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี 1. เป้าหมาย / ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย โรงเรียนเพียงหลวง 17 (บ้านแสง์) ในทูลกระหม่อมหญิง อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณ วดีมีผลการประเมินระดับคุณภาพ 2 ขึ้นไป ร้อยละ 70 - โรงเรียนเพียงหลวง 17 (บ้านแสง์) ต าบลทัพเสด็จ อ าเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว และ สังกัด ส านักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. กิจกรรม/งานที่ด าเนินการ 2.1 แนะน า ส่งเสริม ช่วยเหลือ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน (การ ผลิต ร้านค้า ออมทรัพย์ สาธารณประโยชน์) 2.2 ประสานงาน แนะน าครูผู้สอนวิชาการสหกรณ์ในโรงเรียน 2.3 แนะน า ส่งเสริมให้มีการจัดท าบัญชีสหกรณ์ให้เป็นปัจจุบัน และสามารถปิดบัญชี ได้ทุกภาคเรียน 2.4 แนะน า ส่งเสริม ให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปี พร้อมการเลือกตั้ง คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน 2.5 แนะน า ส่งเสริมให้มีการจดบันทึกรายงานการประชุม และตรวจสอบให้เป็นปัจจุบัน 2.6 จัดทัศนศึกษาเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์งานสหกรณ์ให้กับนักเรียน/ครูที่ รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ 2.8 ประสานงานกับโรงเรียนที่ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนปรับปรุงอาคารกิจกรรม สหกรณ์นักเรียน (ปรับปรุง / ก่อสร้างอาคารกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และสนับสนุน กิจกรรมร้านค้า ได้แก่ ชั้น วางสินค้า ตู้กระจกเก็บสินค้า ) โดยปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบและวัตถุประสงค์ของเงินอุดหนุน 3. ผลส าเร็จของงาน/โครงการ - โรงเรียนเพียงหลวง 17 (บ้านแสง์) มีผลการประเมินระดับคุณภาพที่ 2.63 4. ปัญหา / อุปสรรค 4.1 ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์มีการโยกย้ายบ่อย ท าให้กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนขาดความ ต่อเนื่อง 4.2 ครูที่รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ยังไม่เคยเข้ารับการฝึกอบรมด้านการสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 109 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ชื่องาน/โครงการ/ ทัศนศึกษาเพื่อการเรียนรู้งานสหกรณ์ของคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 1. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการสหกรณ์ / ผู้สังเกตการณ์ และครูที่รับผิดชอบกิจกรรม สหกรณ์นักเรียนโรงเรียนเพียงหลวง 17 (บ้านแสง์) ต าบลทัพเสด็จ อ าเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จ านวน 16 คน 2. กิจกรรม/งานที่ด าเนินงาน รายละเอียดงานที่ท า 2.1 แจ้งรายละเอียดโครงการให้โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนและโรงเรียนสังกัดส านักงานคณะ การสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทราบถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ 2.2 ประสานการขอท าประกันชีวิตหมู่ให้กับนักเรียนที่ไปทัศนศึกษา 2.3 ติดต่อประสานงานกับสถานที่ทัศนศึกษาดูงาน เพื่อประสานวิทยากรในการบรรยายและสาธิต ตลอดจนเส้นทางการเดินทางและระยะเวลาการเข้าศึกษาดูงานในแต่ละสถานที่ ดังนี้ 2.4 ศูนย์เรียนรู้การสหกรณ์คลองน้ าเขียว ต าบลท่าแยก อ าเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว 2.5 อุทยานแห่งชาติปางสีดา ต าบลท่าแยก อ าเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว 2.6 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืดสระแก้ว ต าบลหนองตะเคียนบอน อ าเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว 2.7 จัดหาพาหนะและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่จ าเป็นเพื่ออ านวยความสะดวกในการทัศนศึกษา ดูงานให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ 3. ผลส าเร็จของงาน/โครงการ นักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ผู้สังเกตการณ์ เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 20 คน 3.1 ผู้เข้าร่วมโครงการฯ เกิดกระบวนการเรียนรู้และได้แนวคิดจากการทัศนศึกษาดูงานฯ ไปเป็น แนวทางในการพัฒนาตนเอง 3.2 ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทราบบทบาทหน้าที่ของตนเองในการที่เป็นพลเมืองดีของชาติต่อไป 3.3 เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมร่วมกัน อันจะก่อให้เกิดการน าความรู้มาพัฒนา ชุมชนและสังคมของตนเองได้ต่อไป 4. ปัญหา / อุปสรรค - ปัญหาโรคระบาดโควิด 19 ท าให้สถานที่ในการจัดทัศนศึกษาฯ น้อย อาจส่งผลกระทบด้านการ เรียนรู้ของนักเรียนได้
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 110 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว สอนเสริมการสหกรณ์ โรงเรียนเพียงหลวง 17 (บ้านแสง์) โรงเรียนในโครงการพระราชด าริทูลกระหม่อม หญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 111 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 1. การช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การด าเนินการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นที่ 1 ปิดประกาศ/เผยแพร่ การเลิกและแจ้งชื่อผู้ช าระบัญชี ติดค าสั่งเลิกหรือประกาศเลิกและค าสั่งแต่งตั้งผู้ช าระบัญชี ณ ที่ท าการสหกรณ์ ที่ว่าการอ าเภอที่ สหกรณ์ตั้งอยู่ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ที่ดูและสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นที่ 2 รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบกการเงินตามมาตรา 80 ผู้ช าระบัญชีจัดท าหนังสือแจ้งสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร (คณะกรรมการ/เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ฯลฯ) และจัดท าบันทึกการรับมอบทรัพย์สินไว้เป็นหลักฐาน ได้แก่ เงินสด เงินฝากธนาคาร ทะเบียนลูกหนี้/ เจ้าหนี้/หุ้น วัสดุอุปกรณ์ เอกสารทางการเงินและทางบัญชี ฯลฯ ขั้นที่ 3 ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชีรับรองงบมาตรา 80 จัดท างบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน เมื่อได้รับมอบเอกสารหลักฐานทางบัญชี รวมทั้งทรัพย์สิน ต่าง ๆ แล้ว ผู้ช าระบัญชีด าเนินการจัดท างบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน โดยใช้ข้อมูลจากงบการเงินที่ ผู้สอบบัญชีให้ความเห็นปีล่าสุด (ก่อนการเลิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) เป็นข้อมูลการตั้งยอดบัญชี ส่งให้ผู้สอบ บัญชีตรวจรับรองงบ เมื่อผู้สอบบัญชีตรวจรับรองงบแล้ว ผู้ช าระบัญชีเรียกประชุมใหญ่สมาชิก เพื่อเสนองบดุล ให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณาอนุมัติงบการเงิน หากไม่สามารถเรียกประชุมใหญ่ได้ ให้เสนองบการเงินต่อนาย ทะเบียนสหกรณ์ ตามมาตรา 80 วรรคสาม และเตรียมเข้าสู่ขั้นตอนการปฏิบัติการช าระบัญชีต่อไป ขั้นที่ 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลตามมาตรา 80 ขั้นที่ 5 เสนองบดุลตามมาตรา 80 ให้ที่ประชุมใหญ่/นายทะเบียนฯอนุมัติ ผู้ช าระบัญชีเสนองบดุลต่อที่ประชุมใหญ่เพื่ออนุมัติแล้วเสนองบดุลนั้นต่อนายทะเบียนสหกรณ์ หากไม่ สามารถประชุมใหญ่ได้ ที่ประชุมไม่ครบองค์ประชุม ให้เสนองบดุลต่อนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อนุมัติ ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินให้เสร็จสิ้น 6.1 จัดการเกี่ยวกับทรัพย์สิน ดังนี้ - ติดตามเร่งรัดหนี้สิน กรณีที่มีลูกหนี้ค้างช าระ - จ าหน่ายทรัพย์สินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อรวบรวมเงินช าระหนี้แก่เจ้าหนี้ เมื่อ จัดการช าระหนี้สินแล้วมีทรัพย์สิน (เงินสด) เหลืออยู่ ให้ด าเนินการจ่ายคืนค่าหุ้น/ปันผล ต่อไป 6.2 การจัดการเกี่ยวกับหนี้สิน (มาตรา 83) - จัดท าหนังสือแจ้งไปยังเจ้าหนี้ให้ยื่นค าทวงหนี้ - ด าเนินการช าระหนี้แก่เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ตามล าดับข้อผูกพัน - ถ้าขายทรัพย์สิน ครบถ้วนแล้ว มีเงินไม่พอช าระหนี้ให้ขอประนีประนอมกับเจ้าหนี้ - กรณีติดต่อเจ้าหนี้ไม่ได้หรือเจ้าหนี้ไม่ยอมทวงถามให้วางเงินต่อรองนายทะเบียนสหกรณ์ กลุ่มตรวจการสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 112 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 6.3 จัดการเกี่ยวกับทุน - จ่ายคืนค่าหุ้นสมาชิกตามมูลค่าหุ้นที่ถืออยู่ กรณีเงินสดคงเหลือไม่พอช าระหนี้ ได้เต็ม จ านวน ท าการเฉลี่ยค่าหุ้นให้หุ้นละเท่า ๆ กันเพื่อจ่ายให้สมาชิกได้ครบทุกราย - หลังจากจ่ายคืนค่าหุ้นให้สมาชิกได้เต็มมูลค่า มีเงินเหลือก็จะจ่ายปันผลสมาชิกและเงินเฉลี่ย คืน(กรณีปีก่อนเลิกมีก าไรแต่ยังไม่มีการจัดสรร) หากมีทรัพย์สินเหลืออยู่อีก ก็จะท าการโอนบริจาคให้สหกรณ์ อื่นประเภทเดียวกันในพื้นที่ใกล้เคียง หรือสันนิบาตสหกรณ์ ตามมติที่ประชุมใหญ่เห็นชอบ - กรณีจ่ายค่าหุ้น/ปันผลให้สมาชิกได้ไม่ครบตามจ านวนที่จัดสรรไว้ก็จะน าเงินวางไว้ที่นาย ทะเบียนสหกรณ์เพื่อให้สมาชิกติดต่อรับคืนได้ในภายหลัง ขั้นที่ 7 ส่งรายงานการช าระบัญชีและรายการย่อตามมาตรา 87 ให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรอง ประกอบด้วย บัญชีรับ – จ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีทุนเรือนหุ้น บัญชีเลิกกิจการตั้งแต่วันที่ เริ่มต้นการช าระบัญชี (วันถัดจากวันที่ผู้สอบบัญชีรับรองงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน) จนถึงวันที่ช าระ บัญชีเสร็จสิ้น พร้อมด้วยรายงานการช าระบัญชี ขั้นที่ 8 ผู้สอบบัญชีรับรองบัญชีที่ช าระตามมาตรา 87 เพื่อเสนอนายทะเบียนฯเห็นชอบ ขั้นที่ 9 ถอนชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรออกจากทะเบียน เมื่อผู้สอบบัญชีตรวจรับรองแล้ว ผู้ช าระบัญชีเสนอรายงานต่อรองนายทะเบียนสหกรณ์พิจารณาถอน ชื่อออกจากทะเบียน ขั้นที่ 10 ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชีและเอกสารทั้งหลายแก่นายทะเบียนฯ ผู้ช าระบัญชีส่งมอบสมุดบัญชีและเอกสารของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรที่ช าระบัญชีเสร็จแล้วแก่ รองนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อมอบให้กลุ่มตรวจการสหกรณ์เก็บรักษา 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช าระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นตอนการช าระบัญชี ความก้าวหน้า/ขั้นตอน ณ วันที่ 1 ต.ค. 2562 ณ วันที่ 30 ก.ย. 2563 1. สหกรณ์การเกษตรต าบลหนองน้ าใส จ ากัด ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 2. สหกรณ์เกษตรธรรมชาติสระแก้ว จ ากัด ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 6 3. สหกรณ์ปศุสัตว์บ้านแชร์ออ จ ากัด ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 6 4. สหกรณ์ดอกแก้วออร์คิด จ ากัด ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 5. สกก.เพื่อเกษตรกรไทยอ าเภอเมืองสระแก้ว จ ากัด ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 6. สหกรณ์การเกษตรถาวรพัฒนาสระแก้ว จ ากัด ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 6 7. กลุ่มเกษตรกรท านาสระขวัญ ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 6
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 113 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 3.รายชื่อสหรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สามารถถอนชื่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1.ชุมนุมสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว จ ากัด ถอนชื่อ 15 เม.ย. 63 2. สหกรณ์โคขุนสระแก้ว นทพ. จ ากัด ถอนชื่อ 15 พ.ค. 63 3. สหกรณ์โคเนื้อ-โคขุนวังสมบูรณ์ จ ากัด ถอนชื่อ 2 ธ.ค. 62 4. สหกรณ์การยางจังหวัดสระแก้ว จ ากัด ถอนชื่อ 18 มี.ค. 63 5. สหกรณ์เคหสถานชุมชนเมืองอรัญประเทศ จ ากัด ถอนชื่อ 2 ธ.ค. 62 4.ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจรรม ประชุมใหญ่เพื่ออนุมัติงบการเงิน ตามมาตรา 80 ของชุมนุมสหกร์จังหวัดสระแก้ว จ ากัด ประชุมใหญ่เลิกสหกรณ์เคหสถานชุมชนเมืองอรัญประเทศ จ ากัด
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 114 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 2. โครงการจัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) ปี 2563 2.1 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1 เพื่อก าหนดเป้าหมายแนวทาง และวิธีการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องรายสหกรณ์ 2 เพื่อให้มีการถ่ายทอดเทคนิคและประสบการณ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงานในลักษณะ บูรณาการร่วมกัน 3 เพื่อให้งานก ากับ และการตรวจการสหกรณ์เกิดประสิทธิภาพ 4 เพื่อเป็นการรวบรวมองค์ความรู้และระดมสมองร่วมกัน เป้าหมาย ผู้เข้าประชุม ประกอบด้วยคณะท างานระดับจังหวัด เจ้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง และผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม รวม 15 คน 2.2 ผลการด าเนินงาน การประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่องปี 2563 ในวันที่ 29 พฤษภาคม 2563 ณ ห้องประชุมสระขวัญ ศาลากลางจังหวัด สระแก้วชั้น 3 จังหวัดสระแก้ว 2.3 ผลลัพธ์: ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะท างานจ านวน 15 คน เข้าประชุม 14 คน มีสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องน าเข้าที่ประชุม 3 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์นิคมวังน้ าเย็นสอง จ ากัด 2. สหกรณ์การเกษตรพัฒนาป่าเขาฉกรรจ์ – โนนสาวเอ้ 123 จ ากัด 3. สหกรณ์การเกษตรตาพระยา จ ากัด ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ มีการติดตามความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง 2.4 ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข การแก้ไขข้อบกพร่องให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ ในกรณีมีที่สหกรณ์ได้ด าเนินการฟ้องร้องคดีและ ศาลมีค าพิพากษาแล้ว ไม่ได้ยุติข้อบกพร่องของสหกรณ์ ยังคงต้องติดตามการออกหมายบังคับคดี หากลูกหนี้ไม่ มีทรัพย์สินสหกรณ์ก็ยังคงต้องติดตามสืบทรัพย์เพื่อบังคับคดีต่อลูกหนี้ ซึ่งมีอายุความ 10 ปี นับจากวันที่ศาลมี ค าพิพากษา ซึ่งท าให้ข้อบกพร่องลักษณะนี้ต้องใช้ระยะเวลานานในการด าเนินการให้แล้วเสร็จสมบูรณ์
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 115 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 2.5 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินโครงการ
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 116 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 3. โครงการประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ ปี 2563 3.1 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มองค์ความรู้ และแนวทางการตรวจการสหกรณ์ตามนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ลดปัญหาการทุจริต และข้อบกพร่องของสหกรณ์ในจังหวัดสระแก้ว เป้าหมาย ผู้เข้าประชุม ประกอบด้วยผู้ตรวจการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจการสหกรณ์ ข้าราชการ พนักงานราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว รวมจ านวน 15 ราย 3.2 ผลการด าเนินงาน การประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ ปี 2563 ในวันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ศาลากลางจังหวัดสระแก้ว ชั้น 3 อ าเภอเมือง จังหวัด สระแก้ว 3.3 ผลลัพธ์: ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีผู้เข้าประชุม ประกอบด้วยผู้ตรวจการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจการสหกรณ์ ข้าราชการ พนักงานราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว จ านวน 19 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้ตรวจการสหกรณ์ มีความรู้ความเข้าใจในประเด็นการตรวจการสหกรณ์ และวิธีการ ตรวจสอบและการเขียนรายงานการตรวจการ ที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น 3.4 ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข การโอนงบประมาณปี 2563 ล่าช้า จึงท าให้การจัดโครงการฯ เกิดขึ้นภายหลังการตรวจการ ทีมได้ด าเนินการไปบางส่วนแล้ว 3.5 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินโครงการ
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 117 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 4. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตร ปี 2563 4.1 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1 สร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2 ติดตามการแก้ปัญหา ประเมินผลการแก้ไข และร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข เป้าหมาย ผู้อ านวยการกลุ่มวิชาการ ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจการสหกรณ์ และผู้แทนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 14 แห่ง รายละเอียดดังนี้ ครั้งที่ 1 เป้าหมาย ประกอบด้วย 1.ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรทุ่งมหาเจริญ จ ากัด จ านวน 4 คน 2.ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรพัฒนาป่าเขาฉกรรจ์โนนสาวเอ้ 123 จ ากัด จ านวน 4 คน 3.ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรเขาสามสิบ จ ากัด จ านวน 4 คน 4.ผู้แทนสหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านพระเพลิง จ ากัด จ านวน 4 คน 5.ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรวิถีธรรมชาติวังสมบูรณ์ จ ากัด จ านวน 3 คน 6.ผู้แทนสหกรณ์เคหสถานเทศบาลต าบลวังสมบูรณ์ จ ากัด จ านวน 3 คน 7.เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว จ านวน 6 คน รวมครั้งที่ 1 จ านวน 28 คน ครั้งที่ 2 เป้าหมาย ประกอบด้วย 1.ผู้แทนสหกรณ์ปศุสัตว์โคบาลบูรพาอรัญประเทศ จ ากัด จ านวน 5 คน 2.ผู้แทนสหกรณ์ปศุสัตว์โคบาลบูรพาวัฒนานคร จ ากัด จ านวน 5 คน 3.ผู้แทนสหกรณ์ปศุสัตว์โคบาลบูรพาโคกสูง จ ากัด จ านวน 5 คน 4.เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว จ านวน 6 คน รวมครั้งที่ 2 จ านวน 21 คน ครั้งที่ 3 เป้าหมาย ประกอบด้วย 1.ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรบ้านห้วยชัน จ ากัด จ านวน 4 คน 2.ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรเขาพรมสุวรรณ์ จ ากัด จ านวน 4 คน 3.ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรท่าช้าง จ ากัด จ านวน 4 คน 4.ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรคลองทราย จ ากัด จ านวน 4 คน 5.ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรเขื่อนพระปรง จ ากัด จ านวน 4 คน 6.เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว จ านวน 6 คน รวมครั้งที่ 3 จ านวน 26 คน
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 118 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 4.2 ผลการด าเนินงาน ครั้งที่ 1 วันที่ 25 กันยายน 2563 ณ สหกรณ์การเกษตรพัฒนาป่าเขาฉกรรจ์โนนสาวเอ้ 123 จ ากัด ครั้งที่ 2 วันที่ 28 กันยายน 2563 ณ สหกรณ์ปศุสัตว์โคบาลบูรพาอรัญประเทศ จ ากัด ครั้งที่ 3 วันที่ 29 กันยายน 2563 ณ สหกรณ์การเกษตรท่าช้าง จ ากัด 4.3 ผลลัพธ์: ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ครั้งที่ 1 มีผู้เข้าประชุม จ านวน 28 คน ครั้งที่ 2 มีผู้เข้าประชุม จ านวน 21 คน ครั้งที่ 3 มีผู้เข้าประชุม จ านวน 26 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1 สมาชิกสหกรณ์ คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการของสหกรณ์มีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหาที่ อาจเกิดขึ้นกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2 กลุ่มตรวจการสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ติดตามการแก้ปัญหา และ ประเมินผลการแก้ไข ตามโครงการฯ ในปี 2562 และร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข 4.4 ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - สหกรณ์เป้าหมายส่วนใหญ่เป็นสหกรณ์ขนาดเล็ก และอยู่ห่างไกลกัน ไม่สะดวกในการ เดินทาง - เพื่ออ านวยความสะดวกให้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม จึงได้จัดเป็น 3 ครั้ง โดยจัดตามโซนพื้นที่ และลักษณะประเภทปัญหา 4.5 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินโครงการ ครั้งที่ 1 วันที่ 25 กันยายน 2563 ณ สหกรณ์การเกษตรพัฒนาป่าเขาฉกรรจ์โนนสาวเอ้ 123 จ ากัด
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 119 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ครั้งที่ 2 วันที่ 28 กันยายน 2563 ณ สหกรณ์ปศุสัตว์โคบาลบูรพาอรัญประเทศ จ ากัด ครั้งที่ 3 วันที่ 29 กันยายน 2563 ณ สหกรณ์การเกษตรท่าช้าง จ ากัด
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 120 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางท าเกษตรอินทรีย์และการใช้งานระบบสารสนเทศ เครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS 1. วัตถุประสงค์: 1.1 เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ และการใช้งานระบบสารสนเทศ เครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม 1.2 เพื่อเพิ่มศักยภาพของผู้ลงข้อมูลให้มีความช านาญ ในการตรวจสอบแปลงเกษตรอินทรีย์ และ สอดคล้องกับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม 1.3 เพื่อให้สามารถใช้งานระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมได้ เป้าหมาย: บุคลากรของส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เขตพื้นที่ในจังหวัดสระแก้ว จ านวน 9 อ าเภอ 2. ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมที่ด าเนินงาน 2.1 ประชาสัมพันธ์ และเปิดรับบุคลากรในส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว เพื่อเข้ารับการฝึกอบรม ตามโครงการ 2.2 จัดฝึกอบรมให้ความรู้เนื้อหาตามโครงการที่ก าหนด 2.3 ประเมินผลหลังจากฝึกอบรม ผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ 1. ผู้เข้าร่วมรับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการการท าเกษตรอินทรีย์ และใช้งาน ระบบสารสนเทศเครือข่ายที่สอดคล้องกับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม ร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมรับการอบรม สามารถใช้งานระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม ร้อยละ 80 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 3.1 บุคลากรส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ และการใช้งานระบบสารสนเทศเครือข่ายที่สอดคล้องกับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม จ านวน 25 ราย 3.2 บุคลากรส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ที่ผ่านการอบรมสามารถเผยแพร่ และส่งเสริม สมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร เกี่ยวกับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม จ านวน 25 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมรับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจ เกี ่ยวกับเกษตรอินทรีย์ และการใช้งานระบบ สารสนเทศเครือข่ายที่สอดคล้องกับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 121 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 2. ผู้เข้าร่วมรับการอบรม สามารถใช้งานระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 4.1 ระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ฯ เป็นระบบที่ใช้บนเครือข่ายมือถือที่ต้องมีระบบ อินเตอร์เน็ต จึงท าให้ล่าช้าเมื่อไม่มีสัญญาโทรศัพท์มือถือ แนวทางการแก้ไข จึงควรมีแบบฟอร์มในการกรอก ข้อมูล 4.2 ระบบสารสนเทศ ไม่สามารถใช้กับมือถือแบบเก่าได้ จึงท าให้ผู้ใช้งานที่ต้องการใช้งาน จะต้องสิ้นเปลืองในการซื้อมือถือใหม่ แนวทางการแก้ไข จึงควรมีแบบฟอร์มในการกรอกข้อมูล 5. ภาพกิจกรรมด าเนินตามโครงการ เมื่อวันที่ 17 – 18 มิถุนายน 2563 ณ หอประชุมดอกแก้ว ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว ต าบลท่าเกษม อ าเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว นายพิษณุ คล้ายเจตน์ดี สหกรณ์จังหวัดสระแก้ว บรรยายพิเศษ ในหัวข้อเรื่อง ความส าคัญของเกษตรอินทรีย์ ที่มีผลต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์ นายเอกพงศ์ มุสิกะเจริญ ผู้อ านวยการส่วนส่งเสริม การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีส านักส่งเสริมและถ่ายทอด เทคโนโลยีบรรยายในหัวข้อเรื่องการใช้งานระบบสารสนเทศเกษตรอินทรีย์ แบบมีส่วนร่วม Organic Agricultural Network : OAN นางสาวภัทรภร ศิริมงคล ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนา ธุรกิจสหกรณ์ กล่าวตอนรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามโครงการ
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 122 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาอาชีพเกษตรอินทรีย์ในที่ดิน คทช.จังหวัดสระแก้ว 1. วัตถุประสงค์: 1.1 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล ใน ที่ดิน คทช.จังหวัดสระแก้ว 2.2 สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าผลผลิต และการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่าง ยั่งยืน 2.3 สร้างการเรียนรู้การจัดการผลผลิตเกษตรอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่อุปทาน 2.4 เพื่อการพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินท ากินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล จังหวัดสระแก้ว เป้าหมาย: สมาชิกสหกรณ์ในที่ดิน คทช.จังหวัดสระแก้ว จ านวน 3 แปลง จ านวน 156 คน และผู้สังเกตการณ์ จ านวน 7 คน รวมทั้งสิ้น จ านวน 163 คน พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : พื้นที่อ าเภอวังน้ าเย็น อ าเภออรัญประเทศอ าเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว 2. ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมที่ด าเนินงาน 2.1 บรรยาย ฝึกปฏิบัติ และลงพื้นที่ตรวจสอบและรับรองแปลง โดยคณะวิทยากรจาก สหพันธ์เกษตรยั่งยืนแห่งประเทศไทย 2.2 การบริหารจัดการพื้นที่ การพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ การพัฒนา ศักยภาพการผลิตเกษตรอินทรีย์ การพัฒนาสินค้า การตลาด และการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์3 ปีแรก เป็นระยะปรับเปลี่ยน ปีที่ 4 ได้รับรองเป็นเกษตรอินทรีย์ 2.3 จัดท าฐานข้อมูลเกษตรกรทุกแปลงด้วยระบบออนไลน์ 2.4 เรียนรู้การตรวจประเมินแปลงเกษตรอินทรีย์โดยใช้กระบวนการตรวจการตรวจแปลง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล และการจัดการความรู้ เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ โดยคณะวิทยากรจากสหพันธ์เกษตรยั่งยืนแห่งประเทศไทย 5. สรุปผลการตรวจรับรองระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์ และจัดท าฐานข้อมูลเกษตรกร
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 123 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ 1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และเข้าร ่วมกระบวน การตรวจแปลง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม สามารถตรวจแปลงมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ได้ 2. สินค้าเกษตรมีคุณภาพตาม มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล เป็นที่ต้องการและยอมรับของ ตลาด 3. เกษตรกรมีตระหนักถึงสุขภาพของตนเอง ผู้บริโภค ระบบนิเวศน์ มีความเอาใจใส่ในการ ผลิตระบบเกษตรอินทรีย์ และมีความยั่งยืนในอาชีพเกษตรกรรม 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการตรวจแปลงมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการ เข้าร่วมกระบวนการตรวจแปลงมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS และสามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ร้อยละ 80 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และเข้าร่วมกระบวนการตรวจแปลงมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม สามารถตรวจแปลงมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ได้ 2. สินค้าเกษตรมีคุณภาพตาม มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล เป็นที่ต้องการและยอมรับของ ตลาด 3. เกษตรกรมีตระหนักถึงสุขภาพของตนเอง ผู้บริโภค ระบบนิเวศน์ มีความเอาใจใส่ในการผลิต ระบบเกษตรอินทรีย์ และมีความยั่งยืนในอาชีพเกษตรกรรม 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 4.1 ระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ฯ เป็นระบบที่ใช้บนเครือข่ายมือถือที่ต้องมีระบบ อินเตอร์เน็ต จึงท าให้ล่าช้าเมื่อไม่มีสัญญาโทรศัพท์มือถือ แนวทางการแก้ไข จึงควรมีแบบฟอร์มในการกรอก ข้อมูล 4.2 ระบบสารสนเทศ ไม่สามารถใช้กับมือถือแบบเก่าได้ จึงท าให้ผู้ใช้งานที่ต้องการใช้งาน จะต้องสิ้นเปลืองในการซื้อมือถือใหม่ แนวทางการแก้ไข จึงควรมีแบบฟอร์มในการกรอกข้อมูล
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 124 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 5. ภาพกิจกรรมด าเนินตามโครงการ รุ่นที่ 1 ต าบลโนนหมากเค็ง อ าเภอวัฒนานคร แปลงเลขที่ 4341 สมาชิก 60 ราย ระหว่างวันที่ 22 – 24 กันยายน 2563 ณ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 5 บ้านหนองหว้า ต าบลโนนหมากเค็ง อ าเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว สมาชิกสหกรณ์ แปลงเลขที่ 4341 เข้ารับการอบรมกระบวนการ ตรวจแปลงมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ลงพื้นที่ตรวจสอบและรับรองแปลง โดยคณะวิทยากร จากสหพันธ์เกษตรยั่งยืนแห่งประเทศไทย
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 125 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว รุ่นที่ 2 ต าบลป่าไร่ อ าเภออรัญประเทศ แปลงเลขที่ 1404 สมาชิก 60 ราย ระหว่างวันที่ 25 – 27 กันยายน 2563 ณ ศาลาการเปรียญวัดหนองหญ้าปล้อง ต าบลป่าไร่ อ าเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว รุ่นที่ 3 ต าบลคลองหินปูน อ าเภอวังน้ าเย็น แปลงเลขที่ 421 สมาชิก 36 ราย ระหว่างวันที่ 28 – 30 กันยายน 2563 ต าบลคลองหินปูน อ าเภอวังน้ าเย็น จังหวัดสระแก้ว สมาชิกสหกรณ์ แปลงเลขที่ 1404 เข้ารับการอบรมกระบวนการตรวจแปลงมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS สมาชิกสหกรณ์ แปลงเลขที่ 421 เข้ารับการอบรมกระบวนการ ตรวจแปลงมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ลงพื้นที่ตรวจสอบและรับรองแปลง โดยคณะวิทยากร จากสหพันธ์เกษตรยั่งยืนแห่งประเทศไทย
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 126 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน ปี 2563 1. วัตถุประสงค์: 1.1 เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะด้านอาชีพให้แก่กลุ่มสตรี แม่บ้าน หรือประชาชนที่สนใจในต าบล หนองม่วง 2.2 เพื่อส่งเสริมกลุ่มอาชีพในการพัฒนา/ต่อยอดสินค้าหรือผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า หรือสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ 2.3 เพื่อกระตุ้นให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่สมาชิกมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เป้าหมาย : กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 1 กลุ่ม พื้นที่ด าเนินงานโครงการ :อ าเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว 2. ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมที่ด าเนินงาน 2.1 ประชาสัมพันธ์และคัดเลือก กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประสงค์จะขอรับการ สนับสนุนเงินอุดหนุนตามโครงการฯ 2.2 รวบรวมข้อมูลเสนอต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อพิจารณาคัดเลือกกลุ่มอาชีพขอรับการสนับสนุน ตามโครงการ 2.3 แจ้งผลการคัดเลือกกลุ่มอาชีพที่ผ่านการพิจารณา เพื่อให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของ โครงการ ในการด าเนินการขอเบิกและขอรับเงินอุดหนุนตามโครงการฯ 2.4 ติดตามการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มอาชีพ เพื่อรายงานกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ 1. กลุ่มแปรรูปวิถีใหม่บ้านหนองม่วง สังกัดสหกรณ์ปฏิรูปที่ดินอ าเภอโคกสูง (คทช.) จ ากัด ได้รับ การเงินอุดหนุนตามโครงการ จ านวน 100,000 บาท โดยแบ่งเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม จ านวน 30,000 บาท และค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ จ านวน 70,000 บาท 2. สหกรณ์ปฏิรูปที่ดินอ าเภอโคกสูง (คทช.) จ ากัด ด าเนินการจัดอบรมส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้แก่ สมาชิกกลุ่มอาชีพเป้าหมาย จ านวน 1 วัน 3. กลุ่มอาชีพ ด าเนินการจัดซื้อครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ ตามระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างของ ทางราชการตามโครงการที่ได้รับ
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 127 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. กลุ่มอาชีพได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์ 2. กลุ่มอาชีพมียอดจ าหน่ายสินค้าเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 3. กลุ่มอาชีพได้รับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มอาชีพมีความรู้และทักษะด้านอาชีพการแปรรูปอาหารเพิ่มขึ้น 2. กลุ่มอาชีพมีโอกาสและทางเลือกในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น และมีรายได้ที่เพิ่มขึ้น 3. สินค้าของกลุ่มอาชีพฯ เป็นที่จดจ าของลูกค้า 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข กลุ่มอาชีพที่ได้รับการสนับสนุนตามโครงการดังกล่าว แต่ไม่มีที่ตั้งของกลุ่มที่แน่นอน และยังขาดระบบ สาธารณูปโภค จึงท าให้การด าเนินกิจกรรมของกลุ่มฯ ไม่สะดวก แนวทางการแก้ไขปัญหา รัฐบาลควรสนับสนุนด้านระบบสาธารณูปโภคให้เพียงต่อต่อความต้องการ ของประชาชน และส่งเสริมสนับสนุนอาคารที่ท าการของกลุ่มอาชีพฯ
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 128 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว 5. ภาพการด าเนินกิจกรรม การอบรมการท าปลาแดดเดียว การท ากล้วยฉาบ วัสดุและอุปกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุน
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 129 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการสนับสนุนการกระจายผลไม้ของสถาบันเกษตรกร เพื่อรองรับผลกระทบจากโรคไวรัสโควิด - 19 1. วัตถุประสงค์: 1.1 เพื่อขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลให้สหกรณ์เป็นกลไกในการรวบรวม และกระจายผลผลิตล าไย 2.2 เพื่อการสร้างเสถียรภาพด้านราคาผลผลิตล าไย และช่วยยกระดับราคาล าไยที่ตกต่ าจากปัญหา ผลผลิตล าไยของเกษตรกรในพื้นที่ 2.3 เพื่อบรรเทาความเดือนร้อนของเกษตรกรผู้ปลูกล าไย ที่ได้รับผลกระทบจาการแพร่ระบาดโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) เป้าหมาย: จ านวน 1.53 ตัน พื้นที่ด าเนินงานโครงการ :สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป ในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว 2. ผลการด าเนินงาน : 2.1 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ประชาสัมพันธ์ผลผลิตล าไย ในพื้นที่ภาคเหนือให้แก่สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร และประชาชนทั่วไปในพื้นที่จังหวัดสระแก้วทราบ 2.2 ประสานสหกรณ์การเกษตรเมืองสระแก้ว จ ากัด จังหวัดสระแก้ว เป็นสหกรณ์ปลายทาง และสหกรณ์ ปฏิรูปที่ดินท่าวังผา จ ากัดจังหวัดน่าน เป็นสหกรณ์ต้นทาง ผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ สหกรณ์การเกษตรเมืองสระแก้ว จ ากัด กระจายผลผลิตล าไยของสหกรณ์สหกรณ์ปฏิรูปที่ดินท่าวังผา จ ากัดจังหวัดน่าน จ านวน 1.53 ตัน มีมูลค่า 58,300 บาท ให้แก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 3.1 สามารถกระจายผลผลิตล าไยภาคเหนือได้ จ านวน 1.53 ตัน คิดเป็นมูลค่า 58,300 บาท 3.2 สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานของรัฐ และประชาชนทั่วไป ให้ความสนใจและช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ปลูกล าไย .
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 130 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ช่องทางการกระจายล าไย ที่ รายการ (ออเดอร์) จ านวน หมายเหตุ 1 ส่วนราชการต่าง ๆ + บุคลากรส านักงานสหกรณ์ 191 2 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 60 3 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 192 4 นิคม 2 นิคม 27 5 สหกรณ์การเมืองสระแก้ว จ ากัด (ศูนย์ CDC) 60 รวม 530 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สามารถบรรเทาความเดือนร้อนของเกษตรกรผู้ปลูกล าไย ที่ได้รับผลกระทบจาการแพร่ระบาดโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) 2. สหกรณ์เป็นกลไกในการรวบรวม และกระจายผลผลิตล าไย และรักษาเสถียรภาพด้านราคาผลผลิต ล าไย ในพื้นที่ภาคเหนือได้ 4. ปัญหา/ อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข เนื่องจากจังหวัดสระแก้ว เป็นอีกหนึ่งจังหวัด ที่มีเกษตรกรผู้ปลูกล าไย เป็นจ านวนมาก จาก 9 อ าเภอ มี เกษตรกรผู้ปลูกล าไย จ านวน 4 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอคลองหาด อ าเภอเขาฉกรรจ์ อ าเภอวังน้ าเย็น และอ าเภอ วังสมบูรณ์ จึงท าให้ผลกระจายได้น้อย รูปภาพกิจกรรมการในการด าเนินการ รูปภาพกิจกรรม
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 131 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ๑) วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์เป็นทุนส่งเสริมกิจการสหกรณ์ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๒๗ โดยมุ่งเน้นให้ เป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ าส าหรับการพัฒนากิจการสหกรณ์ ในธุรกิจสินเชื่อ และธุรกิจซื้อ ธุรกิจขาย ธุรกิจ การรวบรวมผลผลิต การแปรรูป ที่มุ่งหวังช่วยเหลือสมาชิกให้มีความเป็นอยู่ที่ดี ภายใต้อุดมการณ์หลักการและ วิธีการสหกรณ์ เป้าหมาย จังหวัดสระแก้ว ได้รับการจัดสรรวงเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้ ๑. โครงการปกติ จ านวน ๓๕ ล้านบาท ๒. โครงการพิเศษ จ านวน ๔.๓๕ ล้านบาท แยกเป็น ๒.๑ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริและโครงการหลวง จ านวน ๐.๓ ล้านบาท มีเป้าหมาย - สหกรณ์การเกษตรบ้านห้วยชัน จ ากัด จ านวน ๐.๓ ล้านบาท ๒.๒ โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์จ านวน ๒.๘๕ ล้านบาท มีเป้าหมาย - สหกรณ์การเกษตรวังน้ าเย็น จ ากัด จ านวน ๐.๗ ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรอรัญประเทศ จ ากัด จ านวน ๑.๔๕ ล้านบาท - สหกรณ์นิคมวังน้ าเย็นหนึ่ง จ ากัด จ านวน ๐.๗ ล้านบาท ๒.๓ โครงการส่งเสริมอาชีพสมาชิกที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง จ านวน ๑.๒ ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรเพื่อเกษตรกรไทยต าบลสระขวัญ จ ากัด - ผลการด าเนินงาน โครงการปกติจังหวัดสระแก้วจ่ายเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ให้กับสหกรณ์ จ านวน ๑๐ แห่ง ๑๒ สัญญา จ านวนเงิน ๓๙.๙ ล้านบาท ดังนี้ ที่ สหกรณ์ที่กู้เงิน เลขที่สัญญา ลงวันที่ วัตถุประสงค์ จ านวนเงิน ๑ สกน.วังน้ าเย็นสอง จ ากัด สก ๖๓ -๐๐๐๑ ๑๓ มค. ๒๕๖๓ รวบรวมผลผลิตจาก สมาชิก ๕ ลบ. (ดบ. ๓%) สก ๖๓ – ๐๐๐๑๓ ๒๔ สค.๒๕๖๓ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ๕ ลบ. (ดบ. ๓%) ๒ สก.วังทองมิตรเกษตร จก. สก ๖๓-๐๐๐๐๓ ๑๓ เมย.๒๕๖๓ เป็นทุนให้สมาชิกกู้ ๔ ลบ. (ดบ.๒.๕%) ๓. สก.สวนยางพาราสระแก้ว จก. สก ๖๓-๐๐๐๐๒ ๘ เมย.๒๕๖๓ เป็นทุนให้สมาชิกกู้ ๑ ลบ. (ดบ.๒.๕%) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาบริหารจัดการสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 132 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ๔ สก.ปศุสัตว์โคบาลบูรพา วัฒนานคร จก. สก ๖๓ -๐๐๐๐๔ ๒๑ เมย.๒๕๖๓ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ๒ ลบ. (ดบ.๓%) ๕ สกก.อรัญประเทศ จก. สก ๖๓ -๐๐๐๐๕ ๑๗ มิย.๒๕๖๓ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ๓ ลบ. (ดบ.๓.%) ๖ สก.โคนมวังน้ าเย็น จก. สก ๖๓ -๐๐๐๑๐ ๑๗ กค.๖๓ จัดหาสินค้าอุปโภค บริโภค ๕ ลบ.(ดบ ๓.๕%) สก ๖๓ – ๐๐๐๑๕ ๒๖ สค.๖๓ ทุนหมุนเวียนในการ จัดหาสินค้า(บรรจุภัณฑ์) ๕ ลบ.(ด.บ.๓.๕%) ๗ สกก.ท่าช้าง จก. สก ๖๓ – ๐๐๐๐๗ ๑๗ มิย.๖๓ เป็นทุนให้สมาชิกกู้ยืม ๐.๙ ลบ.(ดบ.๓%) ๘ สกน.วังน้ าเย็นหนึ่ง จก. สก ๖๓ – ๐๐๐๑๑ ๒๔ สค.๖๓ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ๒ ลบ.(ด.บ.๓.๕%) ๙ สกก.วัฒนานคร จก. สก ๖๓ -๐๐๐๑๑ ๒๔ สค.๖๓ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ๕ ลบ.(ดบ ๓%) ๑๐ สก.ศุภนิมิตอรัญประเทศ ร่วมใจพัฒนา จก. สก ๖๓ – ๐๐๐๑๔ ๒๖ สค.๖๓ เป็นทุนให้สมาชิกกู้ยืม ๒ ลบ.(ดบ. %) รวม ๓๙.๙ ลบ.
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 133 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการพิเศษ 1.โครงการพัฒนาอาชีพเสริมสมาชิกสหกรณ์ ๒ แห่ง ๒ สัญญา จ านวน ๒.๔๕ ล้านบาท ที่ สหกรณ์ที่กู้เงิน เลขที่สัญญา ลงวันที่ วัตถุประสงค์ จ านวนเงิน ๑ สกก.อรัญประเทศ จ ากัด สก ๖๓ -๐๐๐๐๖ ๑๗ มิย.๖๓ โครงการพิเศษ ส่งเสริมการ พัฒนาอาชีพสมาชิก ๑.๘ ลบ. (ดบ. ๑%) ๒ สกก.วังน้ าเย็น จ ากัด สก ๖๓ – ๐๐๐๐๙ ๑๗ มิย.๖๓ โครงการพิเศษ ส่งเสริมการ พัฒนาอาชีพสมาชิก ๐.๖๕ ลบ (ดบ.๑%) 2. โครงการช่วยเหลือสมาชิกผู้ประสบภัยแล้ง จ านวน ๑.๒ ล้านบาท สหกรณ์การเกษตรเพื่อเกษตรกรไทย ต าบลสระขวัญ จ ากัด ที่ สหกรณ์ที่กู้เงิน เลขที่สัญญา ลงวันที่ วัตถุประสงค์ จ านวนเงิน ๓ สกก.เพื่อเกษตรกรไทยต าบล สระขวัญ จก. สก ๖๓ – ๐๐๐๐๘ ๑๗ มิย.๖๓ โครงการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยแล้ง ๑.๒ ลบ. (ดบ.๑%) - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ภาคการเกษตร จ านวน ๑๒ แห่ง ได้รับเงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ ที่มีต้นทุนต่ าไปใช้ในการด าเนินธุรกิจ ช่วยเหลือสมาชิกที่ประสบภัยแล้ง จ านวน ๔๓.๕๕ ล้าน บาท สมาชิกสหกรณ์มีแหล่งซื้อปัจจัยการผลิต สินค้าอุปโภคบริโภค ที่มีคุณภาพและราคามาตรฐาน - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ที่ได้รับเงินกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์สามารถ ลดต้นทุนในการด าเนิน ธุรกิจ ได้อย่างน้อย ๔ % สมาชิกสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ร้อยละ ๘ ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงานและแนวทางแก้ไข ปัจจุบันอัตราดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารอยู่ในระดับต่ า ท าให้สมาชิกที่มีฐานะดีน าเงินมาฝากกับ สหกรณ์เป็นจ านวนมาก ท าให้สหกรณ์ขนาดใหญ่มากมีทุนด าเนินงานที่เพียงพอ และไม่ต้องการเงินกองทุน พัฒนาสหกรณ์ที่มีขั้นตอนจ านวนมาก ประกอบกับสหกรณ์ส่วนใหญ่มีปัญหาด้านการด าเนินธุรกิจสินเชื่อ ที่มีหนี้ ค้างช าระเป็นจ านวนมาก สมาชิกสหกรณ์มีหนี้หลายทาง
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 134 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ๑. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ร่วมกับคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับประเทศเขียนโครงการขอ เงินปลอดดอกเบี้ยจากรัฐบาล เป็นเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จ านวน ๑,๐๐๐ ล้านบาท มาเพื่อให้กลุ่ม เกษตรกรกู้ยืมไปใช้ในกิจการของกลุ่มเกษตรกร เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร ในการเข้าถึงแหล่ง ทุนในการผลิตและการตลาด ระยะเวลาโครงการ ๕ ปี จังหวัดสระแก้วได้รับเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จ านวน ๔.๔๘๑ ล้านบาท เป้าหมาย กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน ๙ แห่ง ๒.ผลการด าเนินงาน ที่ กลุ่มเกษตรกรฯที่กู้เงิน สัญญาเลขที่ ลงวันที่ วัตถุประสงค์ จ านวนเงิน (ลบ.) ๑ กลุ่มฯ ท านาท่าแยก ๖/๒๕๖๓ ๑๒ มีค.๖๓ ทุนหมุนเวียน ๐.๖ ๒ กลุ่มฯ ท าไร่ตาหลังใน ๗/๒๕๖๓ ๑๒ มีค.๖๓ ผลิตพืช ๐.๕๓๑ ๓ กลุ่มฯ ท าไร่วังน้ าเย็น ๘/๒๕๖๓ ๑๒ มีค.๖๓ จัดหาสินค้า ๐.๗ ๔ กลุ่มฯ ท าสวนวังสมบูรณ์ ๕/๒๕๖๓ ๑๒ มีค.๖๓ ผลิตพืช ๐.๓ ๕ กลุ่มฯ ผู้เลี้ยงสัตว์คลองน้ าใส ๓/๒๕๖๓ ๑๒ มีค.๖๓ ผลิตพืช ๐.๔ ๖ กลุ่มฯ ผู้เลี้ยงสัตว์หนองสังข์ ๒/๒๕๖๓ ๑๒ มีค.๖๓ ผลิตพืช ๐.๘ ๗ กลุ่มฯ ผู้เลี้ยงสัตว์ทับพริก ๙/๒๕๖๒ ๒๖ สค.๖๒ มันส าปะหลัง ๐.๓๕ ๘ กลุ่มฯ ผู้เลี้ยงสัตว์เมืองไผ่ ๑/๒๕๖๓ ๖ มีค.๖๓ ข้าว ๐.๓๕ ๙ กลุ่มฯ ผู้เลี้ยงสัตว์ป่าไร่ ๔/๒๕๖๓ ๑๒ มีค.๖๓ ผลิตพืช ๐.๒๕ ๔.๒๘๑ ๓. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรได้รับเงินทุนการสร้างความเข้มแข็งในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการ ผลิตและการตลาด จ านวน ๙ แห่ง จ านวนเงิน ๔.๐๕ ล้านบาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับเงินกองทุนสงเคราะห์มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๐๐ ๔. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข กลุ่มเกษตรกร ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มขนาดเล็ก ไม่มีทุนในการจัดจ้างผู้จัดท าบัญชี ท าให้บางแห่งปิดบัญชี และส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีสหกรณ์ ตรวจรับรองงบไม่ทัน จึงตกเกณฑ์มาตรฐานและไม่สามารถกู้ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้เงินกองทุนสงเคราะห์ที่ได้รับจ านวนไม่เพียงพอกับความต้องการ และไม่ ต่อเนื่อง
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 135 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ ๒ ๑.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ เนื่องจากประเทศไทยประสบภาวะภัยแล้งในหลายพื้นที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์จึงได้ส ารวจข้อมูล สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประสบภัยแล้ง ว่ามีความต้องการขุดสระเก็บน้ าหรือเจาะบ่อบาดาลหรือไม่ ปรากฏว่ามีสมาชิกมีความต้องการเป็นจ านวนมาก กรมส่งเสริมสหกรณ์จึงได้จัดท าโครงการขอรับเงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร จ านวน ๕๐๐ ล้านบาท มาเพื่อให้สถาบันเกษตรกรกู้ยืมปลอดดอกเบี้ย น าไปให้สมาชิกกู้ ยืนเป็นค่าใช้จ่ายในการเจาะบ่อบาดาล การขุดสระน้ า การลอกสระน้ าเดิม ตลอดจนการซื้ออุปกรณ์เกี่ยวกับการ ใช้น้ าในการท าการเกษตร เป้าหมาย จ านวนสถาบันเกษตรกร ๙ แห่ง สมาชิก ๑๕๐ ราย เงินทุน ๗.๕ ล้านบาท ๒.ผลการด าเนินงาน ที่ ชื่อสถาบันเกษตรกร สัญญาเลขที่ ลงวันที่ วัตถุประสงค์ จ านวนเงิน (ลบ.) ๑ สกก.วังน้ าเย็น จก. ๒/๒๕๖๓ ๗ สค.๖๓ สระ/บาดาล ๒.๕๕ ๒ สกน.วังน้ าเย็นหนึ่ง จก. ๘/๒๕๖๓ ๒๔ สค.๖๓ สระ/บาดาล ๐.๗๕ ๓ สกก.อรัญประเทศ จก. ๙/๒๕๖๓ ๑๔ กย.๖๓ สระ/บาดาล ๑.๖ ๔ สกก.เมืองสระแก้ว จก. ๗/๒๕๖๓ ๒๑ สค.๖๓ สระ/บาดาล ๑.๕๕ ๕ กลุ่มฯผู้เลี้ยงสัตว์หนองสังข์ ๕/๒๕๖๓ ๑๑ สค.๖๓ สระ/บาดาล ๐.๓ ๖ กลุ่มฯ ท าไร่ตาหลังใน ๑/๒๕๖๓ ๗ สค.๖๓ บ่อบาดาล ๐.๑๕ ๗ กลุ่มฯ ผู้เลี้ยงสัตว์เมืองไผ่ ๖/๒๕๖๓ ๑๑ สค.๖๓ ขุดสระน้ า ๐.๒๕ ๘ กลุ่มฯ ผู้เลี้ยงสัตว์คลองน้ าใส ๔/๒๕๖๓ ๑๑ สค.๖๓ สระ/บาดาล ๐.๒ ๙ กลุ่มฯ ผู้เลี้ยงสัตว์ทับพริก ๓/๒๕๖๓ ๑๑ สค.๖๓ ขุดสระน้ า ๐.๑๕ ๓. ผลลัพธ์ ๑. ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้รับเงินทุนในการขุดสระน้ าและเจาะบ่อบาดาล ตลอดจนอุปกรณ์เกี่ยวกับการสูบน้ าไปใช้ในการเกษตร จ านวน ๑๕๐ ราย ๆละ ๕๐,๐๐๐ บาท ๒. ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรตามโครงการ นี้ มีน้ าใช้ในท าการเกษตรอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐ ๔.ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปี พ.ศ.๒๕๖๓ จังหวัดสระแก้ว ประสบปัญหาอุทกภัย ใน ๘ อ าเภอ ท าให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร ที่ได้รับเงินกู้โครงการนี้ด าเนินการขุดสระน้ าได้ช้ากว่าก าหนดบางราย และมีการเปลี่ยนแปลงสมาชิก ที่เข้าร่วมโครงการ เนื่องจากสมาชิกรายเดิมสละสิทธิ์
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 136 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการส่งเสริมสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล ๑.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ให้เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง มีการด าเนินการอย่างเป็นระบบ มีการควบคุมภายในที่ดี ด าเนินงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ ด้วยการส่งเสริมสหกรณ์ให้ ปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งเป็นไปตามหลักการก ากับดูแลกิจการที่ดี มีการบริหารจัดการด้วยการน าหลัก ธรรมาภิบาลมาปฏิบัติอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง และด าเนินงานโดยยึดหลักความเป็นสหกรณ์ ให้สหกรณ์ตระหนัก ถึงคุณค่าและคุณประโยชน์ของธรรมาภิบาล มีการปฏิบัติในทุกระดับ ทั้งสมาชิก กรรมการ และเจ้าหน้าที่ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการโครงการ ๑.สหกรณ์ออมทรัพย์ครูสระแก้ว จ ากัด ๒.สหกรณ์การเกษตรเมืองสระแก้ว จ ากัด ๓.สหกรณ์การเกษตรวังน้ าเย็น จ ากัด ๔.สหกรณ์วังทองมิตรเกษตร จ ากัด ๕.สหกรณ์ไม้ผลคลองหาด จ ากัด ๖.สหกรณ์การเกษตรอรัญประเทศ จ ากัด ๗. สหกรณ์การเกษตรวัฒนานคร จ ากัด ๘. สหกรณ์การเกษตรตาพระยา จ ากัด ๙. สหกรณ์ปศุสัตว์โคบาลบูรพาโคกสูง จ ากัด ๒ ผลการด าเนินงาน ที่ ชื่อสหกรณ์ ผลการประเมิน หมายเหตุ ๑ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูสระแก้ว จ ากัด ร้อยละ ๙๗.๕ ๒ สหกรณ์การเกษตรเมืองสระแก้ว จ ากัด ร้อยละ ๔๖.๕๘ ๓ สหกรณ์การเกษตรวังน้ าเย็น จ ากัด ร้อยละ ๒๘.๘๓ ๔ สหกรณ์วังทองมิตรเกษตร จ ากัด ร้อยละ ๒๔.๒๕ ๕ สหกรณ์ไม้ผลคลองหาด จ ากัด ร้อยละ ๒๙.๖๕ ๖ สหกรณ์การเกษตรวัฒนานคร จ ากัด ร้อยละ ๔๔.๘๗ ๗ สหกรณ์การเกษตรอรัญประเทศ จ ากัด ร้อยละ ๕๙.๘๔ ๘ สหกรณ์ปศุสัตว์โคบาลบูรพาโตกสูง จ ากัด ร้อยละ ๓๑.๒๙ ๙ สหกรณ์การเกษตรตาพระยา จ ากัด ร้อยละ ๓๑.๑๕
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 137 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ๓. ผลลัพธ์ 3.๑ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ที่เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ และสหกรณ์ออมทรัพย์ที่มีทุนด าเนินงานเกิน กว่า ๕,๐๐๐ ล้านบาท ได้รับทราบวิธีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความมั่นคง โปร่งใส สุจริต มีภาพลักษณ์ที่ดี จ านวน ๙ แห่ง 3.๒ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ที่เป็นเป้าหมายได้รับค าแนะน าในการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน และผลการประเมินผ่านเกณฑ์ระดับดีเด่น จ านวน ๑ แห่ง ต่ ากว่ามาตรฐาน จ านวน ๘ แห่ง
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 138 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่เกษตรกรสมาชิกสถาบันเกษตรกร ๑.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่กู้เงินจากสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร ไป ประกอบอาชีพทางการเกษตร มีหนี้คงเหลือ ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ จ านวนไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท เป็นเกษตรกรรายย่อย ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐหรือธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จะ ได้รับการลดดอกเบี้ยลง ๓% เป็นเวลา ๑ ปี ตั้งแต่วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ หรือชดเชยถึงวันที่สมาชิกช าระหนี้ เสร็จสิ้น เป้าหมาย จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน ๑๓ แห่ง จ านวนดอกเบี้ยที่ขอรับการสนับสนุนจาก ภาครัฐ ๙,๕๙๙,๐๗๕.๕๔ บาท ๒.ผลการด าเนินงาน ที่ ชื่อสถาบันเกษตรกร จ านวน สมาชิก ดอกเบี้ยที่ขอรับ การสนับสนุน งบประมาณที่ จัดสรร หมายเหตุ ๑ สกก.อรัญประเทศ จ ากัด ๓๐๑ ๙๗๒,๒๗๓.๙๒ ๒๖๙,๑๖๗.๒๓ ๒ สกก.ตาพระยา จ ากัด ๔๑๓ ๓๓๕,๐๒๖.๐๕ ๙๒,๗๔๙.๖๒ ๓ สกก.ทับทิมสยาม ๐๕ จ ากัด ๑๑ ๑๓,๖๒๙.๔๕ ๓,๗๗๓.๒๒ ๔ สกก.บ้านห้วยชัน จ ากัด ๑๒ ๖,๑๒๐.๑๗ ๑,๖๙๔.๓๓ ๕ สกก.บ้านท่าช้าง ๒๑ ๑๕,๔๔๑.๕๕ ๔,๒๗๔.๘๙ ๖ สกก.นิคมฯคลองน้ าใส จ ากัด ๒๔๓ ๕๓๐,๑๑๔.๖๑ ๑๔๖,๗๕๘.๕๒ ๗ สกน.วังน้ าเย็นหนึ่ง จ ากัด ๔๐๐ ๘๕๒,๓๖๘.๑๘ ๒๓๕,๙๗๒.๑๖ ๘ สกน.วังน้ าเย็นสอง จ ากัด ๔๙๗ ๑,๔๐๗,๙๖๒.๕๕ ๓๘๙,๗๘๔.๕๘ ๙ สกก.วัฒนานคร ๒๙๐ ๘๘๑,๓๕๐.๐๘ ๒๔๓,๙๙๕.๖๐ ๑๐ สกก.วังน้ าเย็น จ ากัด ๓๗๖ ๑,๑๕๐,๔๕๖.๓๒ ๓๑๘,๔๙๕.๗๘ ๑๑ สกน.สระแก้ว จ ากัด ๑๘๔ ๒๑๒,๒๗๖.๔๔ ๕๘,๗๖๗.๒๕ ๑๒ สกกงเมืองสระแก้ว จ ากัด ๑๕๗ ๒๙๒,๗๑๗.๗๒ ๘๑,๐๓๖.๘๕ ๑๓ สกก.คลองน้ าเขียว จ ากัด ๖๐๑ ๒,๙๒๙,๓๓๘.๕๐ ๘๑๐,๙๖๖.๘๖ ๓,๔๙๕ ๙,๕๙๙,๐๗๕.๕๔ ๒,๖๕๗,๔๓๖.๘๙
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 139 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ๓. ผลลัพธ์ 3.๑ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์ จ านวน ๑๓ แห่ง จ านวน ๓,๔๙๕ ราย ได้รับการช่วยเหลือ โดยการลดค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพเกษตร 3.๒ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์สามารถลดต้นทุนในการประกอบอาชีพทางการเกษตรได้ ร้อยละ ๓ ๔.ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข การช่วยเหลือของภาครัฐในโครงการนี้ ล่าช้าและไม่ได้รับการชดเชยครบถ้วนในครั้งเดียว
รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 140 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว โครงการ น าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพเกษตร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อชี้แจงโครงการ ท าความเข้าใจกับผู้เข้าร่วมโครงการ และเตรียมความพร้อม ในการขับเคลื่อนโครงการ 2. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ผู้ร่วมโครงการพาลูกหลานกลับบ้าน และส่งเสริมการ เรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการ สถาบันเกษตรกร และหน่วยงานภาคีในพื้นที่ เป้าหมาย ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร สถาบันเกษตรกรในโครงการ และผู้แทนหน่วยงานภาคี จ านวน 120 ราย ระยะเวลาด าเนินการ/สถานที่ วันที่ 24 - 25 กันยายน พ.ศ. 2563 สถานที่ดังนี้ 1.ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงฟาร์มจ่าทูลในอ าเภอเขาฉกรรจ์ 2.ศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตร สวนรักเพื่อน 3.ศูนย์เรียนรู้ไร่ดีต่อใจ อ าเภอวัฒนานคร 4.ฟาร์มเลี้ยงวัวของสมาชิกสหกรณ์โคบาลบูรพาวัฒนานคร จ ากัด 5.สหกรณ์การเกษตรอรัญประเทศ จ ากัด 2. ผลการด าเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ด าเนินงานและระบุผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสระแก้ว ได้จัดท าโครงการ สร้างเครือข่าย ลูกหลานเกษตรกรกลับ บ้าน ในระหว่างวันที่ 24-25 กันยายน 2563 ณ ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์ชาวบ้าน ในจังหวัดสระแก้ว ผล ที่ได้ในการจัดงานดังกล่าว ดังนี้ 1. จัดเวทีเสวนา จากหน่วยงานภาคีเครือข่ายเพื่อสร้างความเชื่อมั่น ในการขับเคลื่อนโครงการ จากส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ ธ.ก.ส. 2 เสนอทางเลือกอาชีพใหม่ที่มีตลาด แน่นอน คือการปลูกพืชสมุนไพรและการแปรรูป 3 ศึกษาการ ด าเนินงาน โมเดล โคก หนอง นา การจัดการน้ าที่มีประสิทธิภาพ ที่ ฟาร์มรักเพื่อน 4 ศึกษานวัตกรรม ใหม่ๆ จาก ไร่ ดีต่อใจ โดย Young Smart Farmer ดีเด่นระดับประเทศ ในการสร้างแรงบันดาลใจ ให้แก่ลูกหลาน 5 ศึกษา โดรนเพื่อการเกษตร รูปแบบเกษตรอัจฉริยะในการ ใช้เทคโนโลยี มาพัฒนา ด้านการเกษตร 6 ด้านปศุสัตว์ ศึกษาการจัดการฟาร์ม การเลี้ยงโคเนื้อ ตามโครงการโคบาลบูรพา เพื่อเป็นอาชีพเสริม หรืออาชีพทางเลือก 7 ศึกษาการด าเนินงาน สหกรณ์การเกษตรอรัญประเทศ จ ากัด เพื่อเห็นภาพการด าเนินกิจกรรม รูปแบบสหกรณ์ 8 สรุปและ วางแผน การด าเนินกิจกรรมทาง การเกษตร จากการศึกษาเรียนรู้ใน 2 วันที่ผ่านมา เพื่อน ามาจัดกลุ่มตามอาชีพ/ตามความต้องการ ของลูกหลาน 9 จัดกลุ่มบริหารจัดการลูกหลานในระดับอ าเภอ โดยให้มีการเลือกตั้งผู้ประสานงานใน แต่ละอ าเภอ เพื่อสะดวกในการติดต่อสื่อสาร และสร้างความร่วมมือในระดับอ าเภอ ก่อนจะถึงระดับ จังหวัดต่อไป โครงการตามนโยบายส าคัญ