The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krumathubon, 2021-11-09 08:19:04

ID PLAN_2565

ID PLAN_merged (1)

แผนพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชีพ

(ID PLAN : INDIVIDUAL DEVELOPMENT PLAN)

ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๕

นายพิสษิ ฐ์ แสงทอง
รองผอู้ านวยการชานาญการพิเศษ

โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นนาเยยี

สำนกั งำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำอบุ ลรำชธำนี เขต ๔

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน
กระทรวงศึกษำธกิ ำร

-ก-

คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการ มุ่งเนน้ ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา พฒั นาตนเองโดยยดึ หลักการประเมิน
สมรรถนะ (Competency Based Approach ) จะทาให้ผปู้ ฏิบตั ิงานสามารถรู้ จุดเด่น จุดด้อยของความสามารถ
ในการปฏิบัติงานของตน และสามารถพัฒนาตนเองใหส้ อดคล้องกับความต้องการจาเป็นของหน่วยงาน และของ
ตนเองอย่างแท้จรงิ

ทั้งน้ี ครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงต้องมีการวางแผนการพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual
Development Plan : ID PLAN) เพื่อเป็นการพัฒนาท่ีสนองตอบความต้องการแต่ละบุคคล สนองความสนใจ
ในรูปแบบวิธกี ารพัฒนา ก็จะสง่ ผลต่อสมรรถนะในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ีท่ีมีประสทิ ธภิ าพต่อไป และ เปน็ การพัฒนาที่
ต่อเนื่องจนทาให้การปฏิบัติหน้าท่ีมีความสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ในการปฏิบัติงาน อัน
นาไปสู่การพัฒนาตนเองให้เป็นมืออาชีพท่ีมีมาตรฐานในการปฏิบัติงานอย่างแท้จริงสามารถตรวจสอบได้ และ
พฒั นาสู่ความเป็นวชิ าชีพต่อไป

พิสษิ ฐ์ แสงทอง

-ข- หนา้

สำรบัญ 1
3
เร่ือง 3
คานา 6
ส่วนนา 16
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล 21

- ภารกิจ/บทบาทหนา้ ท่ีในปีการศกึ ษาปจั จบุ นั
- ประวัติการเข้ารับการพฒั นา (ในรอบ 3 ปี)
สว่ นท่ี 2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- การปฏิบตั ิงานในหน้าทีผ่ ู้บริหารสถานศกึ ษาทเ่ี ป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ครู และสถานศึกษา

-1-

สว่ นนำ

ระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน ได้มุ่งเน้นให้ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พัฒนาตนเองตามแนวทางดังกล่าว โดยเร่ิมต้นจากการประเมินสมรรถนะ การจัดทา
แผนพัฒนาตนเอง และดาเนินการพัฒนาตามแผนพัฒนาตนเองจนมีสมรรถนะตามความต้องการของหน่วยงาน
เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถดาเนินการพัฒนาตนเองตามระบบการพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศึกษาได้อย่างถกู ต้องตามกระบวนการ สามารถพัฒนาสมรรถนะของตนเองเพ่ิมขน้ึ และส่งผลตอ่ ผเู้ รียนท่ี
รับผิดชอบ (สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา. 2551) ประสิทธิภาพประสิทธิผลของงาน
ขึ้นอยู่กับคุณภาพของคนหรือบุคคล ในการปฏิบัติงาน ถ้าบุคคลใดเป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพหรือทางการ(วิชาการ)
จะเรียกว่า มีสมรรถนะ (Competency) (ความสามารถของบุคคลในทุก ๆ ด้านท้ังด้านความรู้ ความคิด
ความสามารถ ทักษะและคุณลักษณะ คุณธรรมท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงานให้บรรลุได้อย่างมีประสิทธิภาพ) ท่ีสูง
ย่อมส่งผลต่อคุณภาพของงานในหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย ปัจจุบันในวงราชการก็ได้นาสมรรถนะเป็นตัวช้ีวัด
ความสามารถของบคุ คล ซ่งึ สมรรถนะโดยทว่ั ไปจะแบ่งเปน็ 2 สมรรถนะ คอื

สมรรถนะหลกั (Core Competency) หมายถงึ สมรรถนะทท่ี ุกคนต้องมีหรอื ปฏิบตั ิได้ เปน็ คุณลักษณะ
ร่วมกนั ของบุคคลทุกตาแหน่ง ตัวอยา่ ง สมรรถนะหลักของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ประกอบด้วย การมุ่ง
ผลสัมฤทธ์ิ การบริการท่ีดี การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทมี

และสมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) เป็นสมรรถนะท่ีกาหนดเฉพาะสาหรับ
แต่ละตาแหน่ง เพ่ือให้บุคคลท่ีดารงตาแหน่งน้ัน แสดงพฤติกรรมท่ีเหมาะสมกับหน้าท่ีและสามารถปฏิบัติหน้าที่
ได้ดียิ่งข้ึน ตัวอย่าง สมรรถนะประจาสายงานของครู ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียน การ
บริหารจดั การช้นั เรียน การวเิ คราะห์ สงั เคราะหแ์ ละการวจิ ัย การสร้างความร่วมมอื กับชมุ ชน ตัวอย่าง สมรรถนะ
หลักของบุคลากรทางการศึกษา ประกอบด้วย การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการวิจัย การสื่อสารและการจูงใจ
การพฒั นาศกั ยภาพบคุ คล การมีวิสยั ทัศน์

สาหรับการพัฒนาบุคคลในอดีตที่ผ่านมา เป็นการพัฒนาแบบเหมารวมหรือยกเข่ง หมายความว่า เมื่อ
เร่อื งใดทห่ี นว่ ยงานต้องการพฒั นา กจ็ ะพัฒนาแบบปพู รมคือพัฒนาทุกคนไมร่ ู้ว่ามีความรู้หรือไม่มี ต้องการหรือไม่
ต้องการ เป็นปัญหาหรือไม่เป็นปัญหา แต่จะพัฒนาหมด ส่ิงที่เป็นปัญหาของการพัฒนารูปแบบน้ีก็คือความไม่
คุ้มค่า คือผู้เข้าร่วมพัฒนาจะสนใจเฉพาะบุคคลท่ีต้องการ อยากรู้ อยากทราบเท่านั้น สาหรับกลุ่มคนท่ีเหลือเป็น
กลมุ่ บคุ คลท่ไี ม่ตอ้ งการ กจ็ ะไมใ่ ห้ความสาคัญ ไม่สนใจ ทาให้เป็นอปุ สรรคในการพัฒนา

ทางแก้ท่ีคิดว่าน่าจะเป็นไปได้ คือ การพัฒนาบุคคลตามแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual
Development Plan: ID PLAN) โดยจะต้องผ่านกระบวนการประเมินสมรรถนะท่ีประกอบด้วยการประเมิน
ตนเอง ร่วมกับเพ่ือนร่วมงานหรือผู้บังคับบัญชาร่วมประเมิน นาผลสรุปผล ว่าสมรรถนะใดท่ีจาเป็นต้องพัฒนา
และสมรรถนะใดทไี่ ม่จาเป็นต้องพัฒนา ต่อจากน้ันนามาจดั อันดบั สมรรถนะท่ีจาเป็นต้องพัฒนา พร้อมให้เหตผุ ล
ประกอบ ว่าการพัฒนาสมรรถนะดังกล่าวจะส่งผลต่ออะไร ต่อใคร เช่น จะส่งผลต่อคุณภาพของนักเรียน
หนว่ ยงาน ชุมชน วงการวิชาชีพ หรือตนเอง เป็นต้น หลักการจดั อันดับความสาคัญ สมรรถนะทีจ่ าเปน็ เรง่ ดว่ นใน
การพฒั นาของครู คอื สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพของนักเรยี นเปน็ หลกั สาหรับตอ่ ตนเองควรเปน็ อันดับสุดท้าย

จากนนั้ นาไปสู่การเขียนแผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล โดยให้นาเสนอรูปแบบ วธิ ีการพฒั นาในแตล่ ะ
สมรรถนะ หลาย ๆ รปู แบบเพือ่ เป็นทางเลือกในการพัฒนา พรอ้ มกับกาหนด ชว่ งระยะเวลาท่ีจะพฒั นา (เร่ิมต้น
และส้นิ สดุ ) และหน่วยงานหรือองค์กรที่จะขอรับการสนับสนุนในการพฒั นา

-2-

ซึง่ จะเห็นว่าการพฒั นา โดยใช้ ID-PLAN จะเปน็ การพฒั นาที่สนองตอบความตอ้ งการแต่ละบุคคล สนอง
ความสนใจในรูปแบบวิธีการพัฒนา ก็จะส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าท่ีท่ีมีประสิทธิภาพต่อไป และจะ
เป็นการพฒั นาทีต่ อ่ เนือ่ งจนทาให้การปฏิบัตหิ น้าทีม่ ีความสมบูรณ์ มปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล และเป็น
ขา้ ราชการทด่ี ีตอ่ ไป (ยืนยง ราชวงษ์, 2551)

-3-

แผนพฒั นำตนเองของขำ้ รำชกำรครู
(ID PLAN : INDIVIDUAL DEVELOPMENT PLAN)

----------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลสว่ นบุคคล

ชอ่ื นายพสิ ิษฐ์ นำมสกุล แสงทอง ตำแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา

วทิ ยฐำนะ รองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ สถำนศึกษำ โรงเรียนชมุ ชนบ้านนาเยีย

สังกดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 4

รบั เงนิ เดือนในอันดับ คศ.3 อตั รำเงินเดือน 39,270 บาท

เร่มิ รบั รำชกำรวนั ที่ 1 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2549 ณ โรงเรียน น้ายนื

สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5

อำยุรำชกำร 16 ปี 2 เดือน (นบั ถึงวนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565)

กำรศึกษำระดับปรญิ ญำ

ระดับปริญญำตรี วุฒิ ครศุ าสตรบณั ฑติ วชิ ำเอก คอมพิวเตอร์ศึกษา ( ค.บ. )

ระดับปริญญำโท วฒุ ิ ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต วชิ ำเอก การบริหารการศกึ ษา ( ศษ.ม. )

ภำรกิจ/บทบำทหนำ้ ทใ่ี นปีกำรศึกษำปจั จุบนั

1. ภำระงำน จะมีภาระด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นาทางวิชาการ ด้านการบริหารจัดการ

สถานศึกษา ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์นวัตกรรม ด้านการบริหารงานชุมชนและเครือข่ายและ

ด้านการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ เป็นไปตาม ก.ค.ศ กาหนด

โดยภาระงานด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นาทางวิชาการ จะมีการปฏิบัติการสอนไม่ต่ากว่า

.......13........ชว่ั โมง/สัปดาห์ (ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ไม่ต่ากว่า 5 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ และรองอานวยการ

สถานศึกษา ไม่ต่ากว่า 10 ชั่วโมง/สัปดาห์) โดยมีการปฏิบัติการสอน/การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน

สถานศกึ ษาอย่างใดอยา่ งหน่งึ หรือหลายอย่าง ดงั นี้
 ปฏบิ ัตกิ ารสอนประจาวชิ า จานวน.............ชวั่ โมง/สปั ดาห์
 ปฏิบตั กิ ารสอนรว่ มกบั ครูประจาชนั้ /ประจาวชิ า จานวน............. ชั่วโมง/สัปดาห์
 สงั เกตการสอนและสะทอ้ นผลการสอนรว่ มกับครูในกจิ กรรมเปดิ ช้นั เรยี น

จานวน.....5........ ชวั่ โมง/สปั ดาห์
 เป็นผ้นู ากิจกรรมแลกเปลยี่ นเรียนรใู้ นชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของโรงเรียน

จานวน.....2........ ชว่ั โมง/สปั ดาห์
 นิเทศการสอนเพื่อเปน็ พเ่ี ลีย้ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้กบั ครู

จานวน......5....... ชว่ั โมง/สัปดาห์
 จดั กิจกรรมเสริมการเรียนรแู้ ละอบรมบ่มนสิ ยั ผเู้ รยี น จานวน.....1........ ชั่วโมง/สปั ดาห์

-4-

2. กำรบริหำรจัดกำรสถำนศึกษำ
2.1 งำนบรหิ ำรวิชำกำร
1) การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
2) การพฒั นากระบวนการเรียนรู้
3) การวัดประเมนิ ผลและการเทียบโอนผลการเรียน
4) การวจิ ัยเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
5) การพฒั นาส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา
6) การพฒั นาแหลง่ เรียนรู้
7) การนิเทศการศึกษา
8) การแนะแนวการศกึ ษา
9) การพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
10) การสง่ เสริมความรูด้ า้ นวิชาการแก่ชมุ ชน
11) การประสานความรว่ มมือในการพัฒนาวชิ าการกับสถานศึกษาอนื่
12) การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ งานวขิ าการแกบ่ ุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน

และสถาบันอ่ืนทีจ่ ัดการศึกษา
2.2 งำนบรหิ ำรงบประมำณ
1) การจัดทาและเสนอของบประมาณ
2) การจดั สรรงบประมาณ
3) การตรวจสอบ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลการใชเ้ งินและผลการดาเนนิ งาน
4) การระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพือ่ การศกึ ษา
5) การบริหารการเงนิ
6) การบริหารบญั ชี
7) การบรหิ ารพัสดุและสินทรัพย์
2.3 งำนบริหำรงำนบคุ คล
1) การวางแผนอัตรากาลังและการกาหนดตาแหน่ง
2) การสรรหาและบรรจุแต่งต้ัง
3) การสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ
4) วินยั และการรกั ษาวินัย
5) การออกจากราชการ
2.4 งำนบริหำรทวั่ ไป
1) การดาเนนิ งานธุรการ
2) งานเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
3) งานพัฒนาระบบและเครือข่ายขอ้ มูลสารสนเทศ
4) การประสานและพัฒนาเครอื ขา่ ยการศึกษา
5) การจัดระบบการบริหารและพฒั นาองคก์ ร
6) งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
7) การสง่ เสรมิ สนบั สนุนด้านวิชาการงบประมารบคุ ลากรและบริหารทวั่ ไป
8) การดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม

-5-

9) การจัดทาสามะโนผู้เรยี น
10) การรบั นกั เรียน
11) การสง่ เสริมและประสานงานการศกึ ษาในระบบอกระบบและตามอธั ยาศยั
12) การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
13) งานสง่ เสรมิ กจิ การนกั เรยี น
14) การประชาสมั พันธง์ านการศึกษา
15) การส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานการศึกษาของบุคคล ชมุ ชนองคก์ ร
หนว่ ยงาน และสถาบนั สงั คมอน่ื ทจ่ี ดั การศึกษา
16) งานประสานราชการกับเขตพน้ื ท่ีและหน่วยงานอน่ื
17) การจดั ระบบการควบคมุ ภายในหน่วยงาน
18) งานบริการสาธารณะ
3. งำนท่ไี ดร้ ับมอบหมำยนอกเหนอื จำกงำนทรี่ ับผิดชอบ
1) หวั หนา้ งานบรหิ ารท่วั ไป โรงเรียนชุมชนบ้านนาเยีย
2) ประธานกรรมการพัฒนาสารสนเทศ และเวบ็ ไซต์โรงเรียนชุมชนบ้านนาเยยี
3) รองประธานกรรมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศึกษา
ออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ 2564

-6-

ประวตั ิกำรเขำ้ รบั กำรพัฒนำ (ในรอบ 3 ปี)

ท่ี วนั /เดือน/ เร่อื ง สถำนที่ หนว่ ยงำนทจ่ี ัด หลักฐำน
ปี

การประชมุ ปฏิบตั ิการสร้าง

ความเขา้ ใจการนามาตรฐาน

การเรยี นรู้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ สานักงานเขตพื้นท่ี สานกั งานเขตพนื้ ท่ี หนังสือ สพป.

คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ การศกึ ษา การศึกษา อบ.5 ที่ ศธ

1 10 เม.ย. 61 และสาระภมู ิศาสตร์ กลุม่ ประถมศกึ ษา ประถมศึกษา 04187/ว1307

สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา อุบลราชธานี เขต 5 อบุ ลราชธานี เขต 5 ลว. 4 เม.ย.

ศาสนา และวฒั นธรรม (สพป.อบ.5) (สพป.อบ.5) 2561

(ฉบับปรบั ปรุง 2561) ตาม

หลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขนั้ พ้นื ฐาน 2551

2 1 ก.พ. – 20 การอบรมครูออนไลน์ สถาบนั สง่ เสริมการ สถาบันสง่ เสรมิ การ เกยี รตบิ ัตร
เม.ย. 61 หลกั สตู รการอบรมครเู พอื่ สอนวิทยาศาสตร์และ สอนวิทยาศาสตร์ เลขท่ี อ.
ยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ เทคโนโลยี (สสวท.) และเทคโนโลยี 16409/2561
รว่ มกับ สานกั บริหาร (สสวท.) รว่ มกับ
วิทยาศาสตร์และ เครือข่ายและพฒั นา
คณติ ศาสตร์ (Upgrade) สานักบรหิ าร
วิชาชพี ครู เครอื ข่ายและพัฒนา
วชิ าคณติ ศาสตร์
วชิ าชพี ครู

การอบรมหลักสตู ร PLC : ห้องบริรกั ษ์ 2 iSUCCESS เกียรติบัตร
3 29 เม.ย. 61 เช่ือมโยงสูก่ ารเลอื่ นวทิ ยฐานะ โรงแรมววี ิช จังหวดั TRAININGS เลขท่ี
CO.,LTD.
ขอนแกน่ 025/2561

สถาบันส่งเสริมการ

การอบรมหลักสูตรการพัฒนา สอนวทิ ยาศาสตร์

ครูสะเตม็ ศกึ ษาดว้ ยระบบ ศนู ย์ฝกึ อบรม และเทคโนโลยี เกยี รตบิ ัตร
สพฐ. 054 (สสวท.) ร่วมกบั เลขท่ี
4 19 – 21 พ.ค. ทางไกล โครงการบูรณาการ ร.ร.บา้ นหนองแสง
61 สะเตม็ ศึกษา ระดับ สานกั งาน 052026/2561
คณะกรรมการ
ประถมศึกษาปที ี่ 4 – 6 เร่ือง

เมืองจาลองในฝัน การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

(สพฐ.)

-7-

ท่ี วัน /เดือน/ เรือ่ ง สถำนที่ หนว่ ยงำนท่ีจัด หลกั ฐำน
ปี

5 19 – 21 การอบรมครูดว้ ยระบบ ศูนย์ฝกึ อบรม ศนู ยฝ์ ึกอบรม เกียรตบิ ัตร
พ.ค. 61 ทางไกล โครงการบรู ณาการ สพฐ. 054 สพฐ. 054 เลขท่ี
ร.ร.บ้านหนองแสง ร.ร.บา้ นหนองแสง
สะเต็มศึกษา ระดบั 133/2561
ประถมศกึ ษาตอนปลาย

การอบรมและพฒั นาตนเอง

ตามโครงการพฒั นาครู

รปู แบบครบวงจร เปน็

6 14 – 15 หลักสูตรระดับพ้นื ฐาน โรงแรมเดอ ศติ า ปรนิ้ หา้ งหุ้นส่วนจากัด เกียรตบิ ตั ร
ก.ค. 61 หลักสูตรการผลิตส่ือ เซส บี.พ.ี เพื่อการพฒั นา เลขท่ี บพ.
มลั ติมีเดยี เพื่อการเรยี นการ บคุ ลากรและสง่ เสรมิ 355/2561
สอนและการประชาสมั พนั ธ์ อ.เมอื ง จ.บุรรี มั ย์ มาตรฐานการศึกษา

ด้วยสมาร์ทโฟน

รหสั หลกั สตู ร 613101014

รุ่นที่ 004

7 31 พ.ค. 61 การสร้างสื่อบทเรียน ห้องเรียนออนไลน์ สรา้ ง นายอภวิ ฒั น์ เกียรติบตั ร
คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (CAI) CAI ดว้ ย Construct 2 วงศก์ ัณหา

ด้วย Construct 2

การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารการ

8 2 ก.ย. 61 สร้างชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ มหาวิทยาลัยราชธานี มหาวิทยาลยั เกยี รตบิ ตั ร
ทางวชิ าชพี Professional จังหวัดอบุ ลราชธานี ราชธานี
Learning Community :
จงั หวดั อุบลราชธานี

PLC

สถาบันส่งเสรมิ การ

9 25 – 26 การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ โรงแรมรอยัลเบญจา สอนวทิ ยาศาสตร์ หนังสือ สพป.
ม.ค. 62 ชีแ้ จงผู้บรหิ ารและหัวหน้า สุขุมวทิ 2 และเทคโนโลยี อบ.5 ท่ี ศธ
ครูพีเ่ ล้ียงด้านสะเต็มศึกษา (สสวท.) รว่ มกับ 04187/155
ของโรงเรียนศนู ย์ฝึกอบรมฯ กรงุ เทพมหานคร ลว. 11 ม.ค.
สานกั งาน
คณะกรรมการ 2562

การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

การอบรมโครงการส่งเสรมิ สานักงานส่งเสรมิ หนงั สือ สพป.
เศรษฐกิจดิจทิ ลั อบ.5 ที่ ศธ
การพัฒนาทักษะด้านโคด้ ดิง้ โรงแรม กระทรวงดจิ ทิ ลั 04187/463
เดอะพาลาสโซ ร่วมกบั สถาบัน ลว. 12 ก.พ.
10 14 – 15 ผา่ นพืน้ ฐานการพัฒนานัก รชั ดาภิเษก เทคโนโลยีพระจอม
ก.พ. 62 ประดษิ ฐ์ดิจิทลั (Depa กรงุ เทพมหานคร เกล้าคณุ ทหาร 2562

Young Maker Space ลาดกระบัง

Development)

-8-

ที่ วัน /เดือน/ เรื่อง สถำนท่ี หนว่ ยงำนท่จี ดั หลกั ฐำน
ปี

การอบรม “หลักสตู รการ สถาบันส่งเสรมิ การ

อบรมครูพี่เล้ียงดว้ ยระบบ สอนวทิ ยาศาสตร์

19 เมษายน ทางไกล โครงการบูรณา สานักงานเขตพน้ื ท่ี และเทคโนโลยี เกยี รติบตั ร
การสะเตม็ ศกึ ษา การศึกษาประถมศึกษา (สสวท.) ร่วมกับ เลขท่ี
11 - 21 ระดบั ประถมศึกษา อุบลราชธานี เขต 1
เมษายน (ป.4 – ป.6) สานกั งาน 60852/2562
(สพป.อบ.1) คณะกรรมการ
2562

เร่อื ง เกบ็ ดาวมาฝากเธอ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

(สพฐ.)

การอบรม “หลักสูตรการ สถาบนั ส่งเสริมการ

12 9 อบรมครดู ้วยระบบทางไกล ศูนยฝ์ กึ อบรม สอนวทิ ยาศาสตร์ เกยี รติบัตร
พฤษภาคม โครงการบูรณาการสะเต็ม สพฐ.054 และเทคโนโลยี เลขท่ี
โรงเรยี น (สสวท.) รว่ มกับ
- 11 ศึกษา 97707/2562
พฤษภาคม ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ บ้านหนองแสง สานักงาน
เรื่อง ขนสง่ ทันใจ ล่นื ไถลก็ คณะกรรมการ
2562 การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
ไม่กลัว

(สพฐ.)

วทิ ยากรการอบรมครูด้วย

25 ระบบทางไกล โครงการ ศูนยฝ์ กึ อบรม สานกั งานเขตพืน้ ที่ เกยี รตบิ ตั ร
เมษายน - บรู ณาการสะเต็มศึกษา สพฐ.054 การศึกษา เลขท่ี
13 26 ระดับประถมศึกษาตอนตน้ โรงเรยี น ประถมศึกษา
พฤษภาคม ระดับประถม ศึกษาตอน 178/2562
บ้านหนองแสง อบุ ลราชธานี เขต 5
2562 ปลาย และระดับ (สพป.อบ.5)

มัธยมศกึ ษาตอนต้น

อบรมผ่านหลักสูตร “สุจริต

5 ไทย” สาหรับขา้ ราชการ

14 พฤษภาคม ผา่ นระบบ E-Learning www.thaihonesty.org เครอื ข่ายสจุ ริตไทย

2562 จาก

www.thaihonesty.org

อบรมผา่ นหลักสูตรการ

15 จัดการเรยี นการสอนโดยใช้ การศกึ ษาทางไกลผ่าน สานกั งาน
15 พฤษภาคม การศกึ ษาทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม DLTV คณะกรรมการ
ดาวเทียม DLTV TELETRAINING การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
2562 TELETRAINING
(สพฐ.)

-9-

ท่ี วนั /เดือน/ เรอื่ ง สถำนที่ หนว่ ยงำนที่จัด หลักฐำน
ปี

รว่ มปลกู ต้นไมต้ ามโครงการ

และกจิ กรรมปลูกตน้ ไมแ้ ละ เว็บไซต์ “รวมใจไทย เวบ็ ไซต์ “รวมใจไทย เกียรตบิ ัตร
19 ปลกู ป่าเฉลิมพระเกียรติ ปลกู ตน้ ไม้ เพ่อื ปลูกตน้ ไม้ เพือ่ ผรู้ ว่ มกิจกรรม
16 พฤษภาคม เน่ืองในโอกาสมหามงคล แผ่นดนิ ” แผ่นดนิ ”
2562 พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก ลาดบั ท่ี
19930
“รวมใจไทย ปลกู ต้นไม้

เพ่ือแผ่นดิน”

29 การอบรมปฏิบัตกิ ารพัฒนา

พฤษภาคม วิทยากรแกนนาด้านการ

- 1 จดั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

17 มิถนุ ายน คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงแรมรอแยล เบญจา สถาบันส่งเสริมการ เกยี รตบิ ัตร
2562 ท่ีสง่ เสริมทักษะการคดิ และ กรงุ เทพมหานคร สอนวิทยาศาสตร์ เลขที่
และ และเทคโนโลยี
31 แกป้ ัญหา 132042/2562
สิงหาคม (สสวท.)

-1

กันยายน

2562

5 – 6 การเข้าร่วมงานชุมนุม ร่วมงานชมุ นุมลกู เสือ สานกั งานลกู เสือ

18 สิงหาคม ลูกเสือสารองแห่งชาติ คร้งั สารองแห่งชาติ คร้งั ท่ี 1 แหง่ ชาติ

2562 ที่ 1 จังหวัดอบุ ลราชธานี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

19 20 – 21 การอบรมโครงการส่งเสริม โรงแรมเนวาด้าแกรนด์ สานักงานสง่ เสรมิ
สงิ หาคม การเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาทกั ษะ อบุ ลราชธานี เศรษฐกจิ ดิจิทลั
2562 ดา้ นโคด้ ดงิ้ สู่สงั คมดิจิทัล (depa) กระทรวง
ดจิ ิทัลเพือ่ เศรษฐกิจ
ในอนาคต ภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื และสงั คม

รนุ่ ท่ี 3

การอบรมโครงการส่งเสรมิ

สถานศกึ ษาและประสาน

ความร่วมมอื กบั หน่วยงาน สานักงานรบั รอง

20 6 ธนั วาคม ตน้ สงั กัด เพ่ือสร้างความรู้ โรงแรมเนวาด้าแกรนด์ มาตรฐานและ
2562 ความเข้าใจ เก่ียวกบั กรอบ อบุ ลราชธานี ประเมนิ คุณภาพ
การศึกษา (องค์การ
แนวทางการประเมนิ

คณุ ภาพภายนอก ประจาปี มหาชน)

งบประมาณ พ.ศ.2563

-10-

ท่ี วัน /เดอื น/ เรอ่ื ง สถำนที่ หนว่ ยงำนทจี่ ดั หลักฐำน
ปี

การนาเสนอกจิ กรรมดเี ด่น

ด้านโคด้ ด้งิ “Unplugged

to Inplug Teaching

กจิ กรรมเรยี นร้ทู ีส่ ่งเสริม

21 20 ทักษะการคิดและ โรงแรมเนวาดา้ แกรนด์ สานักงานส่งเสรมิ
ธนั วาคม แกป้ ัญหา” งาน Coding อุบลราชธานี เศรษฐกิจดิจทิ ลั
2562 Thailand PLC ชุมชนแห่ง กระทรวงดิจิทัลเพ่ือ
การเรียนรูท้ างวชิ าชีพ เศรษฐกจิ และสังคม

ภายใต้โครงการสง่ เสรมิ การ

เรียนรูเ้ พ่อื พฒั นาทักษะด้าน

โคด้ ดงิ้ สูส่ งั คมดิจิทัลใน

อนาคต

22 วันท่ี 7 การอบรมการจดั การเรียน สานักงานคณะกรรมการ สานักงาน เกยี รตบิ ัตร
พฤษภาคม การสอนทางไกล โดยใช้ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน คณะกรรมการ เลขที่
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
2563 เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลใน (สพฐ.) ศพก.สพฐ.ศธ.
สถานการณ์การแพร่ระบาด (สพฐ.) 04005
ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา /ว454
/274310
2019 (COVID-19) /2563

การอบรมหลักสตู รอบรม เกียรติบตั ร

ออนไลนก์ ารจดั การเรียนรู้ สถาบนั ส่งเสรมิ การ เลขที่
สอนวิทยาศาสตร์ Couse-
วนั ท่ี 9 วทิ ยาการคานวณสาหรบั ครู สถาบันสง่ เสริมการสอน และเทคโนโลยี V1:IPST+
พฤษภาคม CS004
23 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 วทิ ยาศาสตรแ์ ละ (สสวท.) +2020-4
2563
Coding Online for เทคโนโลยี (สสวท.)

Grade ๑- ๓ Teacher (C๔

T–๖)

การอบรมหลักสูตรอบรม

24 วนั ที่ 9 ออนไลน์การจัดการเรียนรู้ สถาบันส่งเสรมิ การ เกยี รตบิ ัตร
พฤษภาคม วิทยาการคานวณสาหรับครู สถาบนั สง่ เสริมการสอน สอนวิทยาศาสตร์ เลขท่ี course-
ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 4-6 วิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี
2563 Coding Online for Grade เทคโนโลยี (สสวท.) v1:IPST+
4-6 Teacher (C4T – 7) (สสวท.) CS003
+2020-3

-11-

ที่ วัน /เดอื น/ เร่อื ง สถานท่ี หน่วยงานที่จัด หลักฐาน
ปี
สถาบนั สง่ เสรมิ การ เกียรตบิ ตั ร
การอบรมหลักสูตรอบรม สอนวิทยาศาสตร์ เลขท่ี
และเทคโนโลยี course-
25 วันท่ี 10 ออนไลน์การจัดการเรียนรู้ สถาบนั สง่ เสริมการสอน
พฤษภาคม วิทยาการคานวณสาหรับครู วทิ ยาศาสตรแ์ ละ (สสวท.) v1:IPST+CS0
มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 1-3 เทคโนโลยี (สสวท.) 01+2020-1
2563 Coding Online for Grade สถาบนั ส่งเสรมิ การ
สอนวิทยาศาสตร์ เกียรติบตั ร
7-9 Teacher (C4T – 8) และเทคโนโลยี เลขที่
course-
การอบรมการเขยี น (สสวท.)
v1:IPST+CS0
วันที่ 31 โปรแกรม Scratch สถาบนั ส่งเสรมิ การสอน 06+2020-6
26 ตลุ าคม (Coding Online for
วทิ ยาศาสตรแ์ ละ
2563 Teacher Plus: C4T Plus- เทคโนโลยี (สสวท.)
Scratch)

27 ก า ร อ บ ร ม ก า ร เ ขี ย น สถาบันสง่ เสริมการ เกียรตบิ ัตร
วันท่ี 31 โปรแกรมภาษา Python สถาบนั สง่ เสริมการสอน สอนวิทยาศาสตร์ เลขที่
ตลุ าคม (Coding Online for วทิ ยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี course-
2563 Teacher Plus: C4 T Plus- เทคโนโลยี (สสวท.)
(สสวท.) v1:IPST+CS0
Python) 06+2020-6

28 วนั ท่ี 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการ ศนู ย์ภูมภิ าคว่าด้วยสะ ศูนยภ์ ูมภิ าคว่าดว้ ย
พฤศจิกายน “ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า พ ร้ อ ม เต็มศกึ ษาขององค์การ สะเต็มศึกษาของ
พัฒนาการคิดเชิงคานวณ” รฐั มนตรีศึกษาแหง่ เอเชีย องค์การรฐั มนตรี
2563 ครง้ั ท่ี 1 ศึกษาแหง่ เอเชยี
ตะวันออกเฉยี งใต้ ตะวนั ออกเฉยี งใต้

คาสง่ั

คณะกรรมการดาเนินงาน สานักงานเขต

วนั ท่ี 24 – อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เร่ือง สานกั งานเขตพน้ื ที่ สานักงานเขตพื้นท่ี พ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษา การศกึ ษา การศึกษา
29 25 การบริหารโรงเรยี นสู่ความ อุบลราชธานี เขต 5 ประถมศึกษา ประถมศึกษา
อุบลราชธานี
สงิ หาคม เข้มแข็งอยา่ งมี อบุ ลราชธานี เขต 5

2563 ประสิทธภิ าพ ประจาปี

การศึกษา 2563 เขต 5

ท่ี 332/2563

-12-

ท่ี วัน /เดือน/ เร่อื ง สถานท่ี หน่วยงานทีจ่ ดั หลกั ฐาน
ปี Obec 2021 Webinar สานักงาน
Obec 2021 Webinar
การจัดการเรยี นการสอน คณะกรรมการ
KSP Webinar 2021 การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ออนไลน์ยคุ ปกติใหม่ :
KSP Webinar 2021 (สพฐ.)
วนั ท่ี 18 มุมมองของผู้บริหาร
สานกั งาน
30 พฤษภาคม นกั วชิ าการ และครู คณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
2564 หัวข้อ การสรา้ งห้องเรยี น
(สพฐ.)
ออนไลน์ 1 และการสร้าง
คุรสุ ภา
หอ้ งเรียนออนไลน์ 2
ครุ สุ ภา
การจัดการเรียนการสอน

ออนไลนย์ คุ ปกติใหม่ :

มมุ มองของผบู้ รหิ าร

วันที่ 21 นกั วิชาการ และครู

31 พฤษภาคม หัวขอ้ การส่งเสรมิ ศักยภาพ

2564 การเรียนรดู้ ้วยสื่อวิดีโอ

ออนไลน์ และห้องเรียนกลับ

ด้านดว้ ยวีดโี อแบบ

ปฏิสัมพันธ์

การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร

(Work Shop) ในการ

ประชุมทางวิชาการ

วันท่ี 28 - ออนไลน์ของครุ สุ ภา

32 31 ประจาปี 2564 (KSP
สงิ หาคม Webinar 2021) หลักสตู ร

2564 “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้

ในอนาคต” (Education

Reimagined : The

Future of Learning)

การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร

(Work Shop) ในการ

ประชมุ ทางวชิ าการ

วนั ท่ี 28 - ออนไลน์ของครุ สุ ภา

33 31 ประจาปี 2564 (KSP
สงิ หาคม Webinar 2021) หลักสตู ร

2564 “Homeroom On Site &

Online เพ่อื เสรมิ สรา้ ง

รากฐานกาย อารมณ์ สังคม

สติปญั ญา”

-13-

ที่ วนั /เดอื น/ เร่อื ง สถานที่ หน่วยงานทจี่ ัด หลกั ฐาน
ปี

การอบรมเชิงปฏิบัติการ

(Work Shop) ในการ

34 วนั ท่ี 28 - ประชุมทางวชิ าการ KSP Webinar 2021 ครุ ุสภา
31 ออนไลนข์ องครุ สุ ภา
ประจาปี 2564 (KSP
สงิ หาคม Webinar 2021) หลักสตู ร
2564 “เสียงทีม่ คี วามหมายของ

เยาวชนไทย : พฒั นาได้จาก

การคดิ อยา่ งย่งั ยืน”

การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร

(Work Shop) ในการ

วันท่ี 28 - ประชมุ ทางวชิ าการ

35 31 ออนไลน์ของคุรสุ ภา KSP Webinar 2021 ครุ สุ ภา
สิงหาคม ประจาปี 2564 (KSP

2564 Webinar 2021) หลักสตู ร

“ออนไลนอ์ ย่างไร ให้ไปถึง

สมรรถนะ”

การอบรมเชิงปฏิบัติการ

(Work Shop) ในการ

ประชุมทางวิชาการ

วนั ท่ี 28 - ออนไลนข์ องครุ สุ ภา

36 31 ประจาปี 2564 (KSP KSP Webinar 2021 ครุ สุ ภา
สงิ หาคม Webinar 2021) หลักสูตร

2564 “การผลิตสือ่ วีดีโอออนไลน์

ใหป้ ัง ดว้ ย Line

Application (AR,

Avatar)”

วันที่ 10 การอบรมหลักสูตร สานักงานคณะกรรมการ สานักงาน
37 กนั ยายน หลักสตู รที่ 1 : NEXT การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน คณะกรรมการ
Normal Education (สพฐ.) และ บรษิ ัท การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
2564 ไมโครซอฟต์ (ประเทศ
Reimagined (สพฐ.)
ไทย) จากัด

-14-

ท่ี วัน /เดอื น/ เร่อื ง สถานท่ี หนว่ ยงานทจี่ ดั หลกั ฐาน
ปี

38 วันที่ 11 การอบรมหลักสูตร สานกั งานคณะกรรมการ สานกั งาน
กันยายน หลักสตู รท่ี 2 : กลยุทธ์การ การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน คณะกรรมการ
2564 จัดการเรียนการสอนและ (สพฐ.) และ บริษัท การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
การจัดประชมุ ออนไลน์ใหม้ ี ไมโครซอฟต์ (ประเทศ
ประสทิ ธิภาพในยุค NEXT (สพฐ.)
ไทย) จากัด
Normal

การอบรมหลักสูตร

39 วนั ที่ 18 หลกั สตู รท่ี 3 : มมุ มองใหม่ สานักงานคณะกรรมการ สานักงาน
กันยายน ของการบรหิ ารจัด การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการ
2564 (สพฐ.) และ บริษัท การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
การศึกษา และพมั นาทักษะ ไมโครซอฟต์ (ประเทศ
ผเู้ รียนร้สู กู่ ารเปน็ พลเมือง (สพฐ.)
ไทย) จากดั
ยคุ ดจิ ิทัลของโลกแห่ง

ศตวรรษที่ 21

การอบรมหลักสูตร

40 วันที่ 25 หลักสตู รที่ 4 : การสร้าง สานักงานคณะกรรมการ สานักงาน
กันยายน Blended Learning การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน คณะกรรมการ
2564 Platform for NEXT (สพฐ.) และ บรษิ ัท การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
Normal Education ไมโครซอฟต์ (ประเทศ
Reimagined ดว้ ย (สพฐ.)
ไทย) จากัด

Microsoft 365

41 วันที่ 25 การอบรมหลักสตู ร สานักงานคณะกรรมการ สานกั งาน
กันยายน หลกั สูตรท่ี 5 : การ การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน คณะกรรมการ
2564 ออกแบบและเลือกอปุ กรณ์ (สพฐ.) และ บรษิ ัท การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
Smart & Safety Virtual ไมโครซอฟต์ (ประเทศ
Classroom ด้วย (สพฐ.)
Microsoft Windows ไทย) จากัด

42 วนั ท่ี 2 การอบรมหลักสตู ร สานกั งานคณะกรรมการ สานกั งาน
ตุลาคม หลกั สตู รที่ 6 : การสรา้ งสื่อ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการ
2564 ความรู้แบบปฏสิ มั พนั ธ์บน (สพฐ.) และ บรษิ ทั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
ไมโครซอฟต์ (ประเทศ
แพลตฟอร์มการจดั การ (สพฐ.)
ประสบการณ์การเรียนรู้ ไทย) จากดั
ดว้ ย Microsoft 365

-15-

ท่ี วัน /เดอื น/ เร่อื ง สถานที่ หนว่ ยงานทจ่ี ัด หลกั ฐาน
ปี

43 วนั ที่ 9 การอบรมหลักสตู ร สานกั งานคณะกรรมการ สานักงาน
ตุลาคม หลกั สตู รท่ี 7 : การจัดการ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน คณะกรรมการ
2564 สอบดิจทิ ลั รองรบั การเรียน (สพฐ.) และ บรษิ ัท การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
การสอนรูปแบบผสมผสาน ไมโครซอฟต์ (ประเทศ
(สพฐ.)
อยา่ งปลอดภยั ไทย) จากดั

-16-

ส่วนท่ี 2 ควำมต้องกำรในกำรพัฒนำ

ลักษณะงำนที่ปฏิบตั ิ งำน(Tasks) ผลลัพธ์(Outcomes) ตวั ช้วี ดั (Indicators)
ตำมมำตรฐำนตำแหนง่ 1.1 วางแผนพฒั นามาตรฐาน
การเรยี นร้ขู องผ้เู รียน จัดทา มกี ารกาหนดมาตรฐานการ 1.ผลทเี่ กิดกบั นกั เรียน
1.ด้ำนกำรบรหิ ำรวชิ ำกำรและ แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา เรียนร้ขู องผู้เรียนที่ ผเู้ รียนรอ้ ยละ 90
ควำมเปน็ ผู้นำทำงวิชำกำร ในฐานะชุมชนแหง่ การเรียนรู้ สอดคลอ้ งกับนโยบาย ผ่านการประเมินตาม
ทางวชิ าชีพ สานกั งานคณะกรรมการ มาตรฐานการเรียนร้ขู อง
1.ดา้ นการบริหารวชิ าการและ การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน และ ผ้เู รียน และมคี วามพึงพอใจ
ความเป็นผ้นู าทางวิชาการ 1.2 การจดั ทาและพฒั นา ครอบคลุมภารกิจหลักของ ต่อการจัดการเรียนการสอน
ลกั ษณะงานทีเ่ สนอใหค้ รอบคลมุ หลักสูตรสถานศกึ ษา สถานศกึ ษา มแี ผนพฒั นา ของครู
ถึงการวางแผนพฒั นามาตรฐาน คุณภาพการศึกษา 2.ผลทีเ่ กดิ กบั ครู
การเรยี นร้ขู องผ้เู รยี นการจดั ทา แผนงาน/โครงการโรงเรียน ครรู ้อยละ 90 มคี วาม
และพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา ในฐานะชุมชนแห่งการ ตระหนกั และปฏิบัติตาม
การพัฒนากระบวนการจัดการ เรยี นรู้ มีตารางสังเกตการณ์ หน้าทอี่ ย่างเตม็ ศักยภาพ
เรยี นรู้ทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั และ สอนของครู และการสะทอ้ น เตม็ ความสามารถ เปิด
การปฏบิ ัตกิ ารสอน การสง่ เสริม ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ หอ้ งเรยี นให้เพ่ือนรว่ มงาน
สนบั สนนุ การพฒั นาหรือการนา เข้ามาสังเกตการณ์สอน
สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี มกี ารจัดทาหลักสูตร และรว่ มสะท้อนผลหลังการ
ทางการศึกษา มาใชใ้ นการจัดการ สถานศึกษา พฒั นาให้ จัดการเรียนรู้
เรียนรูก้ ารนเิ ทศ กากบั ติดตาม ทันสมยั เหมาะกับ 3.ผลท่เี กดิ กบั สถำนศกึ ษำ
ประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ของ สถานการณ์ พฒั นาหลักสตู ร โรงเรียนพัฒนาตามแนวทาง
ครใู นสถานศึกษาและมีการ รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ให้ตรงกับ โรงเรียนในฐานะชุมชนแห่ง
ประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ความตอ้ งการของผเู้ รียน การเรียนรู้
สถานศึกษา การศึกษา วเิ คราะห์ และท้องถ่นิ มีการนเิ ทศ
หรือวิจยั เพอ่ื แก้ปัญหาและ กากับ ตดิ ตาม การใช้ 1.ผลท่ีเกิดกับนกั เรยี น
พฒั นา การจัดการเรียนรเู้ พ่ือ หลักสูตร ผู้เรยี นร้อยละ 100 ได้
ยกระดับคุณภาพการศึกษาของ เรยี นรู้ตามหลักสตู ร
สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา ตรงตามความ
ตอ้ งการ ผู้เรียนได้รบั บริการ
ทางการศกึ ษาที่มีคุณภาพ
2.ผลที่เกิดกบั ครู
ครูมีความรู้ความเข้าใจใน
หลกั สูตรสถานศกึ ษา
วเิ คราะห์หลกั สตู ร สามารถ
จดั การเรยี นการสอนได้ตรง

-17-

ตามหลกั สูตร ได้รบั การ
นิเทศ กากบั ตดิ ตามการใช้
หลักสูตร
3.ผลท่เี กิดกบั สถำนศกึ ษำ
สถานศกึ ษามีหลักสูตรที่
ทันสมยั เหมาะกบั
สถานการณ์ สอดคล้องกบั
บรบิ ท ตรงตามความ
ตอ้ งการ
เกิดวฒั นธรรมท่ดี ภี ายใน
องค์กร

1.3 การพัฒนากระบวนการ สง่ เสริมพฒั นาครูจดั การ 1.ผลที่เกิดกบั นกั เรยี น
จัดการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ เรียนรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็น นักเรียนได้ลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ
สาคัญและปฏิบัติการสอน สาคัญ มเี ทคนิคการสอนที่ เกดิ การเรียนรทู้ ่ีคงทน เกดิ
ทกั ษะการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง
หลากหลายเหมาะสมกับ นกั เรยี นต่ืนตวั และ
รายวชิ า มกี ารวิเคราะห์ กระตือรือร้น ชว่ ยใหเ้ รยี นรู้
ผ้เู รียน ออกแบบกิจกรรม ไดด้ ียง่ิ ขน้ึ
การเรยี นรู้ และมเี คร่อื งมือ
วัดและประเมินผลท่ี 2.ผลท่เี กดิ กับครู
หลากหลายเหมาะสมกบั ครรู อ้ ยละ 90 มีแผนการ
ผ้เู รียน จัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผ้เู รยี น
เปน็ สาคญั มเี ทคนิควธิ กี าร
จัดการเรียนร้ทู หี่ ลากหลาย
และบันทึกผลหลงั การ
จัดการเรียนรู้ มีเคร่ืองมือ
วดั และประเมนิ ผลที่
เหมาะสมกับผเู้ รยี น
เหมาะสมกับสถานการณ์
3.ผลท่ีเกดิ กับสถำนศกึ ษำ
สถานศึกษาได้รบั ความ
เชื่อมนั่ จากผมู้ สี ว่ นเก่ียวข้อง

-18-

1.4 การส่งเสรมิ สนับสนนุ ส่งเสรมิ ครใู ห้มีการนาส่อื 1.ผลที่เกดิ กบั นกั เรยี น
การพฒั นาหรือการนาส่ือ
นวัตกรรม และเทคโนโลยี ผลิตส่อื นานวตั กรรมและ นักเรียนมมี สี ่ือเทคโนโลยที ี่
ทางการศึกษามาใชใ้ นการ
จดั การเรยี นรู้ เทคโนโลยที างการศึกษามา ช่วยให้การเรียนรู้ได้ดียง่ิ ขึ้น

ใช้ในการจัดการเรียนรู้มาก เหมาะกับสถานการณ์

ข้ึน พัฒนาการใชส้ อ่ื 2.ผลทเ่ี กิดกบั ครู

อิเล็กทรอนกิ ส์ในการจัดการ ครรู ้อยละ 90 จัดทา

เรยี นร้เู หมาะกับสถานการณ์ รายงานการใชส้ ่ือ ผลิตสื่อ

มกี ารนเิ ทศ กากบั ติดตาม การเรยี นรู้ของตัวเอง นาสื่อ

การใช้สอ่ื อยู่เสมอ นวตั กรรมและเทคโนโลยี

ทางการศึกษามาใช้

3.ผลท่เี กดิ กับสถำนศกึ ษำ

สถานศกึ ษามีสื่อและ

เทคโนโลยที ่เี หมาะสม

ทันสมยั สาหรับนักเรยี น

1.5 การนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม มโี ครงการนเิ ทศภายใน 1.ผลท่เี กดิ กบั นกั เรียน

ประเมนิ ผลการจัด โรงเรียน พัฒนารูปแบบการ นกั เรยี นร้อยละ 100 ได้รับ

การเรยี นร้ขู องครใู น นิเทศภายในของโรงเรียนที่ บรกิ ารดา้ นการศึกษาจาก

สถานศกึ ษา และมกี ารประกัน สามารถเป็นแบบอยา่ งให้กับ ครอู ยา่ งเต็มความสามารถ

คุณภาพการศึกษาภายใน โรงเรียนอ่ืนได้ มปี ระกาศ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

สถานศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาของ 2.ผลที่เกดิ กบั ครู

สถานศึกษา พัฒนาระบบ ครรู ้อยละ 100 ได้รับการ

ประกันคุณภาพ และการ นิเทศภายในอย่างเป็นระบบ

รายงานผลการประเมนิ และตอ่ เน่ือง และนาผลการ

ตนเอง(SAR)ทุกปี นเิ ทศไปพัฒนา/ปรับปรุง

การจัดการเรียนรู้ มรี ายงาน

การประเมนิ ตนเองของครู

3.ผลทเี่ กดิ กับสถำนศกึ ษำ

มคี ะแนนการประเมิน

ตนเองของสถานศึกษา SAR

โดยรวมอยู่ในระดับยอด

เยี่ยม มรี ะบบประกนั

คุณภาพภายในทสี่ รา้ งความ

มนั่ ใจให้ผูท้ ม่ี สี ่วนเกีย่ วข้อง

ในการจัดการศกึ ษา

-19-

1.6 การศึกษา วิเคราะห์ พฒั นาแผนยกระดบั 1.ผลทเี่ กิดกบั นักเรียน
เพือ่ แกป้ ญั หาและพฒั นาการ
จัดการเรยี นรู้ เพ่ือยกระดับ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน นกั เรียนรอ้ ยละ 90 ไดร้ บั
คุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา ครูวเิ คราะหผ์ เู้ รียน การพัฒนาตามศักยภาพ

พัฒนาการจดั การเรยี นรู้ของ และตามความถนดั ของ

ตนเองอยเู่ สมอ มีวจิ ยั ในชน้ั แตล่ ะคน

เรยี นหรอื วจิ ัยหน้าเดียว เพ่อื 2.ผลทเ่ี กิดกับครู

แก้ปัญหาผ้เู รยี น ครูรอ้ ยละ 90 มวี จิ ัยในชน้ั

เรียนหรอื วิจยั หน้าเดียวเพอื่

แก้ปัญหานักเรียน และ

พัฒนานกั เรยี นอยา่ งเปน็

ระบบ

3.ผลทีเ่ กิดกับสถำนศกึ ษำ

สถานศึกษาได้ดาเนินงาน

ตามแผนการยกระดับ

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

สรา้ งความมั่นใจใหผ้ ู้ท่มี สี ่วน

เกีย่ วขอ้ ง

2.ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร งำน(Tasks) ผลลัพธ์(Outcomes) ตัวชว้ี ดั (Indicators)
สถำนศกึ ษำ
2.1บริหารจดั การสถานศกึ ษา มคี ู่มือการบริหารจดั การ 1.ผลท่เี กิดกบั นักเรยี น
ลักษณะงำนที่ปฏิบตั ิ ดา้ นงานวิชาการ งาบคุ คล
ตำมมำตรฐำนตำแหนง่ งบประมาณ บรหิ ารทั่วไป สถานศึกษาทงั้ 4 ฝ่าย และ นกั เรียนร้อยละ 100 เกิด
ตามหลักบริหารกจิ การ
2.ดา้ นการบริหารจัดการ บ้านเมอื งทดี่ ี มีคาสั่งมอบหมายงาน ความเชือ่ มน่ั และภาคภมู ใิ จ
สถานศกึ ษา ให้เปน็ ไปตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั มแี ผนปฏิบตั กิ ารประจาปี ในการบริหารงาน ตัง้ ใจเล่า
นโยบายและตามหลักบริหาร
กิจการบ้านเมืองทดี่ ี มีการประชมุ ครแู ละบุคลากร เรยี น
การบริหารกจิ การผเู้ รยี นและ
การส่งเสรมิ พฒั นาผู้เรยี นการ ทางการศกึ ษา และ 2.ผลที่เกิดกบั ครู
จัดระบบดูแลช่วยเหลือผ้เู รยี น
คณะกรรมการสถานศึกษา ครูร้อยละ 90 ปฏิบตั ิงาน

ขัน้ พ้นื ฐาน ตามท่ไี ด้รับมอบหมายตาม

บทบาทหน้าท่ีอย่างเต็ม

กาลังความสามาถ ปฏบิ ัติ

ตามกฎหมาย ระเบียบ

ข้อบังคบั

3.ผลที่เกิดกับสถำนศึกษำ

มีการบรหิ ารงานท่ีเปน็

ระบบ เป็นไปตามกฎหมาย

ระเบยี บข้อบังคับ ไดร้ ับ

-20-

ความเชือ่ มน่ั ยอมรับจาก
ผ้ปู กครองและชุมชน

2.2 การบริหารกิจการผู้เรียน มสี ารสนเทศเกย่ี วกบั ผู้เรยี น 1.ผลท่ีเกิดกับนกั เรียน
และการสง่ เสรมิ พัฒนาผเู้ รียน
มคี ณะกรรมการนกั เรียนจาก ผู้เรียนร้อยละ 90 ไดร้ บั การ

การมีส่วนรว่ มของนักเรียน พฒั นาดา้ นตา่ ง ๆตาม

และภาคีเครือข่ายผปู้ กครอง โครงการกิจกรรม และร้สู กึ

ใหก้ ารสนับสนุนการศึกษา มสี ว่ นรว่ มในการดาเนนิ การ

มคี รูผูร้ บั ผิดชอบงานกจิ การ กิจการนักเรียน ร้สู กึ รักหวง

นักเรียน รายงานผลการ แหนโรงเรยี นและเป็น

ดาเนนิ การทุกปี อนั หนึ่งอันเดียวกนั

2.ผลที่เกดิ กับครู

ครูเกิดกาลงั ใจในการทางาน

จากความรว่ มใจของครู

นกั เรียนและผูป้ กครองใน

การสนบั สนุนการศึกษา

สง่ ผลตอ่ การจดั การรียนรูท้ ่ี

ง่ายขน้ึ จากการมสี ่วนรว่ ม

ของทกุ ฝ่าย

3.ผลท่ีเกดิ กับสถำนศึกษำ

สถานศกึ ษามคี วามเข้มแข็ง

ไดร้ ับการสนบั สนุนจาก

นักเรียนและผปู้ กครอง

2.3 การจดั ระบบดูแล จดั ระบบดแู ลช่วยเหลอื 1.ผลทเ่ี กิดกับนกั เรียน
ชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน นกั เรยี นตามกระบวนการ นักเรยี นร้อยละ 100 ไดร้ ับ
5 ขน้ั ตอน มีสภานกั เรียน การช่วยเหลอื ตามความ
คณะกรรมการนักเรยี น ตอ้ งการอยา่ งเหมาะสม
โครงการเยีย่ มบ้าน และให้ 2.ผลทเี่ กิดกับครู
ทุนการศึกษา เพอ่ื ความ ครรู ้อยละ 100 รจู้ ัก
เสมอภาคและลดความ นักเรียนเป็นรายบคุ คล
เหล่อื มลา้ ทางการศึกษา เกดิ สัมพนั ธท์ ่ีดี เกิดความรกั
ระหว่างครแู ละนักเรยี น
3.ผลท่เี กิดกับสถำนศึกษำ
ชุมชนเกิดความเชอ่ื มน่ั และ
ไวว้ างใจในการสง่ บตุ รหลาน
เขา้ มาเรียนในโรงเรียน

-21-

การปฏิบัตงิ านในหน้าทีผ่ ูบ้ รหิ ารสถานศึกษาทเี่ ป็นประเด็นทา้ ทายในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น ครู
และสถานศึกษา

ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษาของผู้จัดทาข้อตกลงซ่ึง
ปัจจุบันดารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ รองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ ต้องแสดงให้
เห็นถึงระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวังของวิทยฐานะชานาญการพิเศษ คือการ ริเริ่มพัฒนา (Originate and
Improve) สามารถปรับปรงุ พัฒนางานให้ดกี วา่ เดมิ ได้

ประเด็น ท้าทาย เรื่อง การพัฒนาโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ ในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019 (โควิด-19)

1. สภาพปัญหาการบริหารจัดการสถานศกึ ษาและคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา
การส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ เป็นการระดมสรรพกาลังของครูและบุคลากรในพ้ืนท่ี
เพ่ือร่วมพัฒนาผู้เรียนให้เห็นคุณค่าของการเรียนรู้และมีทักษะการเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลัง (Collaborative
Learning) ซ่ึงโรงเรียนจะมีการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหา และทิศทางการพัฒนาโรงเรียนให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของพ้ืนท่ีเพ่ือจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ หรือ School Improvement Plan และวางระบบการ
พัฒนาบทเรียนร่วมกันเพ่ือชุมชนแห่งการเรียนรู้ หรือ Lesson Study for Learning Community (LSLC) ซ่ึง
ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี เป็นการรวมตวั รวมใจ รวมพลงั ร่วมมือกันของครู ผู้บรหิ าร และ ศึกษานิเทศก์
และนกั การศึกษาในโรงเรยี น เพือ่ พัฒนาการเรยี นร้ขู องผูเ้ รียนเปน็ สาคญั
โรงเรียนชุมชนบ้านนาเยีย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 ได้เห็น
ความสาคัญของกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และทักษะกระบวนการกลุ่ม จึง
ดาเนินการพัฒนาโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ เพ่ือเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง และเพ่ือสร้างการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพอย่างต่อเน่อื ง และเป็นเครื่องมือในการพัฒนาอย่างต่อเนอื่ งและย่ังยืน โดยเรียนรู้จากการปฏบิ ัติงานจริง
ของครู พัฒนาวิชาชีพครูด้วยการพัฒนาผู้เรียน ตลอดจนเป็นการทบทวนการปฏิบัติงานของครูที่มีผลต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียน สร้างการทางานร่วมกันของครูแบบกัลยาณมิตร ร่วมมือรวมพลังของทุกฝ่ายในการพัฒนา
ผู้เรยี น แลกเปลย่ี นเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้รว่ มกันพัฒนาวิธกี ารทางานของครู โดยการจดั กลุ่มครู ท่ีกลุ่ม
สาระการเรยี นรูเ้ ดียวกัน และครูผทู้ ี่สอนระดับชั้นเดียวกันมารว่ มปรึกษาหาแนวทางการพัฒนาผ้เู รียนให้เป็นคนดี
คนเก่งและอยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสุขและปรับประยุกต์การดาเนินงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันใน
การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรน่า 2019 (โควดิ -19)

2. วิธีการดาเนนิ การให้บรรลผุ ล
2.1 จัดสรรงบประมาณเปน็ ค่าใช้จ่ายของ Model Teacher ในการผลติ ส่ือ จัดหาสอื่ และแนวทางการ
จดั การเรยี นรตู้ ามแผนการจดั การเรยี นรู้ ด้วยแนวทางการบรหิ ารจัดการ PISIT-MS (Performance Integated
School Information Technology – Menagement System)
2.2 จัดอบรมความรเู้ ร่อื งโรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้

ขั้นตอนท่ี 1 ระบปุ ัญหา เกย่ี วกบั การจัดการเรียนการสอน/การทางานของครูท่ีเกิดขึ้นใน
สถานศึกษา

ขั้นตอนที่ 2 วเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หา ว่าเกดิ ขึน้ จากสาเหตทุ ีเ่ กดิ ขน้ึ โดยมปี ัจจัยใดเข้ามา
เก่ยี วขอ้ ง มีแนวโน้มของปัญหาอยา่ งไร และมผี ลกระทบใดที่จะเกิดขน้ึ

ขัน้ ตอนที่ 3 ระดมความคิด เพอื่ นาเสนอวิธแี ก้ปัญหา วิธีแก้ปญั หาจากประสบการณ์และ

-22-

ผลการวิจัยทส่ี ามารถอา้ งอิงได้ แลว้ นาเสนอผลการระดมความคดิ เม่ือนาเสนอเสรจ็ ส้ิน ดาเนินการอภปิ รายสรุป
และเลอื กวิธีการแก้ปญั หาท่เี หมาะสม

ขัน้ ตอนที่ 4 ทดลองใชว้ ิธีแกป้ ัญหา นาวิธีแกป้ ญั หาท่ีไดจ้ ากการระดมความคิด ไปทดลองใชใ้ น
การเรยี นการสอนในช้ันเรยี น /ในการทางาน โดยร่วมกันสงั เกตการสอนและเกบ็ ข้อมลู หรือเก็บข้อมลู จากการ
ทดลองใช้ในการทางาน

ขัน้ ตอนที่ 5 สรุปผลวิธีการแก้ปญั หา นาเสนอผลการสงั เกตการสอนและเสนอแนะวิธกี าร
ปรับปรุงแก้ไข แลว้ จึงสรุปผลวิธี การแกป้ ญั หาทใี่ หผ้ ลดตี ่อการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น /การทางาน แลว้ ทาการแบ่งปัน
ประสบการณ์กับชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพอื่น

3.3 การออกแบบการเรียนรู้ การจดั ทาหน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ
PDCA

3.4 สังเกตชัน้ เรยี น สะท้อนผล การจัดการเรียนรขู้ องครูผูส้ อน และกระบวนการเรียนรู้ของผูเ้ รียนการ
เปดิ ชน้ั เรียน (Open Class) และเปิดชัน้ เรยี นออนไลน์

3.5 จดั กิจกรรม Symposium เพื่อแลกเปล่ียนเรยี นรู้

วธิ กี ารและเทคนิคการเรยี นร้ทู ี่สอดคล้องกับการจัดการเรยี นการสอนสู่โรงเรียนในฐานะชมุ ชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ

1. การออกแบบและจัดการเรียนรู้ผ่านกจิ กรรมการเรียนรู้
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ ให้มีความหลากหลายตามสภาพผ้เู รียนตามความ
สนใจและศักยภาพของผเู้ รียน และเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล
3. การจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ีใ่ ห้นกั เรียนลงมือปฏบิ ตั ิ เช่น โครงงาน Active Learning
4. การกระตุ้นการเรียนรขู้ องผู้เรียน โดยเน้นทักษะการคดิ วเิ คราะห์ การตัง้ คาถาม
5. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สอื่ และเทคโนโลยี
6. การจดั การเรยี นการสอนแบบบูรณาการเชื่อมโยงกลุ่มสาระ
7. การประเมินตามสภาพจริง และใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั และติดตามผล รวมท้ังการช่วยเหลือนักเรียน

3. ผลลัพธ์การพัฒนาทคี่ าดหวัง

เชิงปรมิ าณ
1. เกดิ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพขนึ้ ในโรงเรยี น เปน็ เครอ่ื งมือในการพัฒนาอยา่ งต่อเน่ืองและ
ยั่งยนื
2. สร้างการแลกเปลยี่ นเรียนรูอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เน้นการทางานร่วมกนั แบบกัลยาณมิตรจากการ
ปฏิบตั งิ านจรงิ ของครู
3. นกั เรยี นทกุ คนไดร้ บั การพัฒนาตามศักยภาพ

-23-

เชงิ คุณภาพ
1. โรงเรยี นสามารถเปน็ ตวั อย่าง เปน็ แหล่งเรียนรแู้ ละสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหโ้ รงเรียนอ่นื ๆ ในพื้นที่ได้นา
แนวคดิ และแนวทางการพฒั นาโรงเรียนในฐานะชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพใหเ้ กดิ คุณภาพกบั ผู้เรียนอยา่ ง
ทว่ั ถึง
2. ครเู ป็นครูมืออาชพี และร่วมกนั จัดการเรียนการสอนแบบแลกเปลีย่ นเรียนร้ไู ด้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
3. ผู้เรยี นทกุ คนมีทกั ษะการทางานเป็นกลุม่ และทักษะการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

ลงช่อื ............................................................
(นายพิสิษฐ์ แสงทอง)

ตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการโรงเรยี นชุมชนบ้านนาเยีย
1 ตลุ าคม 2564

โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นนาเยยี

สำนกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำอบุ ลรำชธำนี เขต ๔

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน
กระทรวงศึกษำธกิ ำร


Click to View FlipBook Version