The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอร์อัตดนมัติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prateep.r, 2021-10-23 08:15:41

เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอร์อัตดนมัติ

เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอร์อัตดนมัติ

โครงการ

เครอ่ื งจา่ ยเจลแอลกอฮอล์อัตโนมตั ิ
(Automatic Gel Alcohol Dispenser)

จดั ทำโดย
นายสทิ ธพิ ล บุญเรยี น รหัสนกั ศึกษา 6121040004
นายอาทติ ย์ สอดตา รหัสนักศกึ ษา 6121040027
นางสาวสุวภทั ร อวดออ่ น รหัสนักศึกษา 6121040097

โครงการนเ้ี ป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาวิชาโครงการ รหัสวชิ า 2104-8501
ตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.)
สาขาวิชาไฟฟา้ กำลัง

วทิ ยาลยั เทคนิคเพชรบรู ณ์ อาชีวศกึ ษาจังหวดั เพชรบรู ณ์
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงการศึกษาธกิ าร

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

1



ใบตรวจของคณะกรรมการตรวจโครงการ

ช่ือโครงการ : เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอลอ์ ัตโนมัติ

ผ้รู บั ผดิ ชอบ : นายสิทธพิ ล บญุ เรียน
: นายอาทิตย์ สอดตา
: นางสาวสุวภทั ร อวดอ่อน

ครูทป่ี รึกษา : ครศู ักรนิ ทร์ ศรบี รุ ินทร์

แผนกช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ์ สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา อนุมัติให้โครงการเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ เป็นส่วนหน่ึง
ของการศึกษา วชิ าโครงการ รหัส 2104 – 8501 หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับชั้นปี
ท3่ี สาขาวชิ าไฟฟา้ กำลงั

คณะกรรมการตรวจโครงการ

................................................ประธานกรรมการ
(นายประยง น้อยหน่า)

หวั หน้าแผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง

................................................กรรมการ
(นายศักรนิ ทร์ ศรบี ุรนิ ทร์)

ครูทีป่ รกึ ษาโครงการ

................................................กรรมการ
(นายประทีป ราชบรุ ี)
ครูผสู้ อนวิชาโครงการ



ชอ่ื โครงการ : เคร่ืองจา่ ยเจลแอลกอฮอลอ์ ัตโนมัติ
คณะผูจ้ ัดทำ : นายสิทธิพล บญุ เรียน
: นายอาทติ ย์ สอดตา
: นางสาวสวุ ภัทร อวดอ่อน

สาขาวิชา : ช่างไฟฟ้ากำลงั
ครศู ักรนิ ทร์ ศรีบรุ นิ ทร์
ครูท่ปี รกึ ษาโครงการ : ครปู ระทีป ราชบุรี
2563
ครปู ระจำวิชาโครงการ :

ปีการศกึ ษา :

บทคัดยอ่

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด19 โดยงดการ
สัมผัสกับพื้นผิวหรือสัมผัสกับขวดเจลแอลกอฮอล์โดยตรง เพื่อประหยัดเวลาและจำกัดจำนวนคนใน
การจา่ ยเจลแอลกอฮอล์ เพอื่ หยดุ การแพรเ่ ชื้อจากคนสู่คนในระยะใกล้ชดิ

วิธีดำเนินโครงการเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ ศึกษาความเป็นมาและความสำคัญ
ของการสรา้ งและการใช้งานเคร่ืองจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ กำหนดวตั ถุประสงค์ของโครงการ ต้ัง
สมมุติฐานของโครงการ กำหนดขอบเขตการศึกษาของโครงการ ดำเนินการตามลำดับของ
วัตถุประสงคข์ องโครงการ นำผลการสร้างเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ สร้างแบบสอบถามเพอ่ื
ประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับการออกแบบและประสิทธิภาพการใช้งานของเครื่องจ่ายเจล
แอลกอฮอล์อัตโนมัติ นำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปให้ครูที่ปรึกษาแล้วจัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ เพ่ือ
ใช้หาความพึงพอใจของเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ นำเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติท่ี
คณะผู้จดั ทำสร้างข้ึนไปทดลอง แลว้ ใหก้ ลุ่มประชากร และกลมุ่ ตวั อย่างที่ใช้ในการศึกษาของโครงการ
ซึ่ง เป็นนักเรียน แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ด้วยการสุ่ม
อย่างง่าย 4 คน ไปดูการทดลอง และให้กลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวตอบแบบสอบถาม
เพื่อประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับการออกแบบและประสิทธิภาพการใช้งานของเครื่องจ่ายเจล
แอลกอฮอล์อัตโนมัติ การดำเนินโครงการเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ มีค่าความพึงพอใจจาก
ผ้เู ชีย่ วชาญอย่ใู นระดบั มาก เฉล่ยี 4.45



กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงการเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ คณะผู้จัดทำโครงการได้ดำเนินการสำเร็จลุล่วง
ไปด้วยดี เนื่องมาจากคณะผู้จัดทำได้รับการถ่ายทอดเนื้อหาวิชาความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
จากอาจารย์ที่ให้การอบรมสั่งสอน และคอยดูแลให้คำแนะนำในการทำงานของคณะผู้จัดทำโครงการ
ขอขอบคุณครูประทีป ราชบุรี ครูผู้สอนวิชาโครงการที่ให้คำแนะนำในการดำเนินการจัดทำโครงการ
ขอขอบคุณครูศักรินทร์ ศรีบุรินทร ครูที่ปรึกษาโครงการ ที่กรุณาให้คำแนะนำและให้คำปรึกษาอัน
เป็นประโยชน์ต่อการจัดทำโครงการจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีสุดท้ายนี้หากการดำเนินโครงการเครื่อง
จ่ายเจลแอลกอฮอลอ์ ตั โนมัติ มีขอ้ ผิดพลาดประการใดคณะผูจ้ ัดทำต้องขออภยั ไว้ ณ ทน่ี ี้

คณะผู้จัดทำโครงการ

นายสทิ ธิพล บุญเรียน
นายอาทิตย์ สอดตา
นางสาวสวุ ภัทร อวดอ่อน

สารบัญ ง

เรือ่ ง หน้า
ใบตรวจของคณะกรรมการโครงการ
บทคดั ย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญ (ตอ่ ) ง
สารบญั ภาพ จ
สารบัญภาพ (ตอ่ ) ฉ
สารบัญตาราง ช
บทท่ี 1 บทนำ ซ

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา 1
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 2
1.3 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้าของโครงการ 2
1.4 ประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้า 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง
2.1 บอรด์ อาดูโน่ 3
2.2 เซนเซอร์ 18
2.3 ปม๊ั ดูดจา่ ยสารเคมีแบบรีดท่อ 20
2.4 แบตเตอร่ี 21
2.5 อปุ กรณ์การใชใ้ นการทำเครือ่ งจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ 23
บทท่ี 3 ขั้นตอนและวธิ กี ารดำเนนิ งาน
3.1 ขน้ั ตอนในการปฏิบัติงาน 28
3.8 สถิติทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 32
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
4.1 การวิเคราะห์ความพึงพอใจเครอื่ งจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ 33
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผล อภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ 35
5.2 ปญั หาและอุปสรรคในการจดั ทำโครงการ 35
5.3 ข้อเสนอแนะ 35



สารบัญ (ตอ่ )

เร่ือง
ภาคผนวก ก

ประมวลผลประเมินความพึงพอใจเกย่ี วกบั การออกแบบและประสทิ ธภิ าพ
การใช้งานของเครื่องจา่ ยเจลแอลกอฮอล์อตั โนมัติ
ภาคผนวก ข
รปู ภาพการดำเนินโครงการเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ
ภาคผนวก ค
ประวัตผิ ้จู ดั ทำ
บรรณานกุ รม

สารบญั ภาพ ฉ

ภาพท่ี 2.1 บอร์ด Arduino ต่อกับ LDE หน้า
ภาพท่ี 2.2 บอร์ด Arduino ต่อกบั บอร์ด XBee Shield 3
ภาพที่ 2.3 บอร์ด Arduino Uno R3 4
ภาพท่ี 2.4 บอร์ด Arduino Uno R2 4
ภาพที่ 2.5 บอร์ด Arduino Uno SMD 5
ภาพที่ 2.6 บอร์ด Arduino Duo 5
ภาพท่ี 2.7 บอรด์ Arduino Leonardo 6
ภาพท่ี 2.8 บอรด์ Arduino MEGA ADK R3 7
ภาพที่ 2.9 บอร์ด Arduino Mega 2560 R3 8
ภาพท่ี 2.10 บอร์ด Arduino Micro 9
ภาพที่ 2.11 บอร์ด Arduino Nano 10
ภาพที่ 2.12 บอร์ด Arduino Mini 11
ภาพที่ 2.13 บอร์ด Arduino Pro Mini 12
ภาพที่ 2.14 การต่อการ USB ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์กบั บอร์ด Arduino 14
ภาพท่ี 2.15 เลือกรนุ่ บอรด์ Arduino ทตี่ อ้ งการ upload 15
ภาพท่ี 2.16 เลอื กหมายเลข Comport ของบอร์ด 15
ภาพที่ 2.17 กดปุ่ม Verify เพ่ือตรวจสอบความถกู ต้องและ Compile โค้ชโปรแกรม 16
ภาพที่ 2.18 Upload โค้ชโปรแกรม 16
ภาพท่ี 2.19 แสดงส่วนประกอบต่าง ๆของบอรด์ Arduino Uno 17
ภาพท่ี 2.20 โมดลู เซนเซอรต์ รวจจับอณุ หภมู คิ วามร้อน 17
ภาพที่ 2.21 เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคล่อื นไหว 19
ภาพที่ 2.22 โมดลู ตรวจจับเสน้ ขาวดำ Infrared Line Tracking 19
ภาพท่ี 2.23 ปั๊มดดู จ่ายสารเคมีแบบรีดท่อ DC 12V 19
ภาพท่ี 2.24 รูปรา่ งของแบตเตอรแ่ี บบต่าง ๆ 20
ภาพท่ี 2.25 รปู แสดงสว่ นประกอยภายในของถ่ายไฟฉายนิจลิ -แคดเมียม 21
ภาพที่ 2.26 ส่วนประกอยภายในของถ่ายไฟฉาย 21
ภาพที่ 2.27 เซลล์แบบโวลตา 22
ภาพที่ 2.28 บอร์ด Arduino Uno R3 22
ภาพที่ 2.29 โมดลู ตรวจจับเส้นขาวดำ Infrared Line Tracking 23
ภาพที่ 2.30 แบตเตอรี่ Battery 23
ภาพท่ี 2.31 สายจมั๊ เปอร์ 24
24

สารบัญภาพ (ตอ่ ) ช

ภาพที่ 2.32 ปั๊มดูดจ่ายสารเคมแี บบรีดท่อ Peristaltic Pump หน้า
ภาพที่ 2.33 กล่องพลาสติกกันน้ำ 25
ภาพที่ 2.34 เจลแอลกอฮอล์ 25
ภาพที่ 2.35 สายยางทนสารเคมี Silicone 26
ภาพท่ี 2.36 Relay 1 Ch 26
ภาพที่ 3.1 เจาะรูกล่องพลาสติก 27
ภาพท่ี 3.2 แตง่ รูกล่องพลาสตกิ 29
ภาพที่ 3.3 เจาะรูฝากล่องพลาสติกและใส่สายยางทนสารเคมี 29
ภาพที่ 3.4 ติดกาวร้อนรอบๆบริเวณสายยางทนสารเคมี 29
ภาพท่ี 3.5 ตัดแผน่ พลาสติกกั้นแบตเตอรภี่ ายในกลอ่ งพลาสตกิ 30
ภาพท่ี 3.6 เจาะรูข้างกล่องเพื่อใสส่ าย Adapter 30
31

สารบญั ตาราง ซ

ตารางที่ 2.1 ข้อมูลจำเฉพาะ บอรด์ Arduino Uno หน้า
ตารางที่ 2.2 ข้อมูลจำเฉพาะ บอรด์ Arduino Duo 5
ตารางท่ี 2.3 ข้อมลู จำเฉพาะ บอรด์ Arduino Leonard 6
ตารางที่ 2.4 ข้อมูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino MEGA ADK 8
ตารางท่ี 2.5 ข้อมูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino Mega 2560 9
ตารางท่ี 2.6 ข้อมลู จำเฉพาะ บอรด์ Arduino Micro 10
ตารางที่ 2.7 ข้อมูลจำเฉพาะ บอรด์ Arduino Nano 11
ตารางที่ 2.8 ข้อมลู จำเฉพาะ บอรด์ Arduino Mini 12
ตารางท่ี 2.9 ข้อมูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino Pro Mini 13
ตารางที่ 4.1 ผลการทดสอบความพึงพอใจของครูผสู้ อน 14
33

1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา
ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เป็นไวรัสที่ถูกพบครั้งแรกในปี 1960 แต่ยังไม่ทราบ

แหล่งที่มาอย่างชัดเจนว่ามาจากที่ใด แต่เป็นไวรัสที่สามารถติดเชื้อได้ทั้งในมนุษย์และสัตว์
ปัจจุบันได้มีการค้นพบไวรัสสายพันธุ์นี้แล้วทัง้ หมด 6 สายพันธุ์ ส่วนสายพันธุ์ที่กำลังแพร่ระบาด
หนักทั่วโลกตอนนี้เป็นสายพันธุ์ที่ยังไม่เคยพบมาก่อนซึ่งพึ่งพบในมนุษย์เป็นครั้งแรกในปลายปี
2562 คือ สายพันธุ์ที่ 7 จึงถูกเรียกว่าเป็น ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ในภายหลังไวรัสโคโรนาได้
ถูกตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า โควิด-19 (COVID-19) อาการของไวรัสโควิด-19 ที่สังเกตได้ง่าย ๆ
ด้วยตวั เอง มดี งั นี้ มไี ข้ เจ็บคอ ไอแหง้ ๆ น้ำมกู ไหล หายใจเหนื่อยหอบ

สถาณการณโ์ ควดิ -19 ในปัจจุบนั มีผตู้ ดิ เชือ้ สะสมทว่ั โลกทะลุเกิน 51 ลา้ นคนและยังเพ่ิม
จำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้มีผู้เสียชีวิตสะสมทั่วโลกมากกว่า 1 ล้านคน หรือประมาณ 2.47%
จำนวนผู้ที่รักษาหายมากกว่า 36 ล้านคน หรือประมาณ 70.23% ทั่วโลกมีผู้ติดเชื้อทั้งหมด 215
ประเทศและเขตปกครองพิเศษ 10 ประเทศ ประเทศที่มียอดผู้ติดเชื้อสะสมสูงสุด ได้แก่
สหรัฐอเมริกา (USA) อินเดีย (India) บราซิล (Brazil) ฝรั่งเศส (France) รัสเซีย (Russia) สเปน
(Spain) อาร์เจนติน่า (Argentina) สหราชอาณาจักร (UK) โคลัมเบีย (Colombia) อิตาลี (Italy)
ประเทศไทยอยู่อันดับที่ 149 ขณะนี้ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อสะสมมากกว่า 3,000 คน มีผู้เสยี ชวี ติ
จำนวน 60 คน ทำให้รัฐบาลประกาศสถานการณ์ฉุกเฉนิ ในทุกเขตท้องที่ท่ัวราชอาณาจักร

การติดเชื้อเหล่านี้สามารถติดต่อจากคนสู่คน โดยผ่านละอองฝอยที่เกิดขึ้นเมื่อผู้ติดเชื้อ
ไอหรือจาม ละอองฝอยเหล่านี้สามารถที่จะกระจายไปและเข้าไปทางปากหรือจมูกของคนที่อยู่
ใกล้ ๆ ได้ นี่คือเหตุผลที่ทำให้การแพร่กระจายจากคนสู่คน ส่วนใหญ่เกิดขึ้นกับคนใกล้ชิด ดังนั้น
ควรมีการทำความสะอาดพื้นผิวเป็นประจำโดยเฉพาะในบริเวณโดยรอบที่ใกล้เคียงกับผู้ติดเชื้อ
COVID-19 และมือเป็นอวัยวะที่สัมผัสกับพื้นผิวจำนวนมาก ซึ่งสามารถปนเปื้อนกับไวรัสได้ จึง
ควรหลีกเลยี่ งนำมือมาสมั ผสั ตา จมูก หรือปาก เพราะมอื ท่ีปนเปื้อนสามารถนำไวรสั จากพื้นผิวมา
สู่ร่างกายได้ ดังนั้น ทางผู้จัดทำเห็นวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการป้องกันการ
แพร่กระจายของ COVID-19 คอื ทำความสะอาดมือด้วยการลา้ งมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ และสวม
หน้ากากอนามัยเพือ่ ป้องกันการรบั เชือ้ มาจากคนใกล้ชิด ทางผู้จัดทำจงึ ไดท้ ำการศึกษาวิธีล้างมือ
โดยงดการสัมผัสเจลแอลกอฮอล์โดยตรงคือเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ เครื่องจ่ายเจล
แอลกอฮอล์อัตโนมัตินี้จะช่วยลดจำนวนการแพร่เชื้อ โดยงดการสัมผัสกับตัวขวดเจลโดยตรงได้
และได้ลดจำนวนของบุคลากรในการในการตรวจผ่านจุดคัดกรองมากขึ้น เพื่อไม่ให้บุคลากรอยู่

2

ร่วมกันเป็นกลุ่มอย่างใกล้ชิดมากเกินไป ทางผู้จัดทำจึงได้คิดสร้างเครื่องจ่ายเจลเเอลกอฮอล์
อัตโนมตั ินขี้ น้ึ มา
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1.2.1 เพอ่ื งดการสัมผสั กบั พนื้ ผิวหรอื สัมผัสกับขวดเจลแอลกอฮอล์โดยตรง
1.2.2 เพ่อื ประหยดั เวลาและจำกดั จำนวนคนในการจา่ ยเจลแอลกอฮอล์
1.2.3 เพอ่ื หยดุ การเเพรเ่ ช้ือจากคนสู่คนในระยะใกล้ชิดได้
1.3 ขอบเขตการศึกษาค้นควา้ ของโครงการ
1.3.1 การออกแบบเคร่อื งจา่ ยเจลแอลกอฮอล์อตั โนมัติ

1.3.1.1 เคร่ืองจา่ ยเจลแอลกอฮอล์อตั โนมัติมขี นาด4.5x6.5x3.5น้ิวและสามารถเคล่ือนย้ายได้
1.3.1.2 สถานทีใ่ นการทดลองเครือ่ งจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมตั ภิ ายในแผนกชา่ งไฟฟ้า

กำลัง วิทยาลัยเทคนคิ เพชรบูรณ์
1.3.2 การออกแบบโครงสรา้ ง

ทฤษฎกี ารจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมตั ิ จะใช้แบตเตอร่ีโดยการนำไปชาร์จกบั ไฟฟา้ เพื่อเก็บ
ไฟฟ้าไว้ในตวั เเบตเตอร่ีและใช้บอร์ด Arduino R3 เปน็ ตัวควบคมุ เซนเซอร์
1.4 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั ของโครงการ

1.4.1 ได้ควบคุมการแพรก่ ระจายของเชอ้ื ไวรสั ภายในวทิ ยาลยั โดยผ่านการทำความสะอาดมือโดย
ไร้การสัมผสั

1.4.2 ได้ลดจำนวนบคุ ลากรในการตรวจผ่านจุดคัดกรองหน้าวิทยาลัย
1.4.3 ประหยดั เวลาในการตรวจผ่านจดุ คดั กรองหน้าวิทยาลัย เพ่อื ท่นี กั เรียน นกั ศึกษาจะได้ทำ

กิจกรรมหนา้ เสาธงโดยพรอ้ มเพยี งกัน

3

บทที่ 2
เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

การจัดทำโครงการในครั้งน้ีทางผู้จัดทำแสดงเห็นถึงความสำคัญในการหยุดแพร่กระจายของ
เชื้อไวรัส โควิด-19 จากคนสู่คนในระยะใกล้ชิดได้โดยงดการสัมผัสโดยตรงจึงได้ศึกษาเอกสารและ
เว็บไซตท์ ี่เก่ียวข้องมาจัดทำเคร่ืองจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมตั ิการจัดทำโครงการเพื่อให้สอดคล้องกับ
วตั ถุประสงคโ์ ดยมีรายละเอียดดงั ต่อไปนี้

1. บอรด์ อาดโู น่ (Arduino)
2. เซนเซอร์ (Sensor)
3. ปมั๊ ดูดจา่ ยสารเคมีแบบรีดท่อ (Peristaltic Pump)
4. แบตเตอรี่ (Battery)
1. บอร์ดอาดูโน่ (Arduino)
Arduino เปน็ บอรด์ ไมโครคอนโทรเลอร์ตระกลู AVR ทม่ี ีการพัฒนาแบบ Open Source คือ
มีการเปิดเผยข้อมูลทั้งด้าน Hardware และ Software ตัวบอร์ด Arduino ถูกออกแบบมาให้ใช้งาน
ได้ง่ายและถูกนำมาใช้ร่วมกันในภาษา C ซึ่งภาษา C นี้เป็นลักษณะเฉพาะ ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผู้
เริ่มต้นศึกษา ผู้ใช้งานยังสามารถดัดแปลงเพิ่มเติมหรือพัฒนาต่อยอดทั้งตัวบอร์ดและโปรแกรมต่อได้
อีกดว้ ย
ความง่ายของบอร์ด Arduino ในการต่ออุปกรณ์เสริมต่างๆ คือผู้ใช้งานสามารถต่อวงจร
อเิ ล็กทรอนิกส์จากภายนอกแล้วเช่อื มต่อเข้ามาทีข่ า I/O ของบอร์ด

ภาพที 2.1 บอรด์ Arduino ต่อกบั LDE
หรอื เพ่อื ความสะดวกสามารถเลือกตอ่ กบั บอร์ดเสรมิ (Arduino Shield) ประเภทต่างๆ

4

ภาพท่ี 2.2 บอรด์ Arduino ต่อกับบอร์ด XBee Shield
เ ช่ น Arduino XBee Shield, Arduino Music Shield, Arduino Relay Shield, Arduino GPRS
Shield เปน็ ตน้ มาเสียบกบั บอรด์ บนบอร์ด Arduino แล้วเขยี นโปรแกรมพัฒนาตอ่ ได้เลยและ

1.1 บอรด์ Arduino มีดว้ ยกันหลักๆ ประมาณ 9 บอรด์ ดังนี้
1.1.1 Arduino Uno

ภาพที่ 2.3 บอรด์ Arduino Uno R3
คำว่า Uno เป็นภาษาอิตาลี ซึ่งแปลว่า หนึ่ง เป็นบอร์ด Arduino Uno R3 รุ่นแรกที่ออกมา
มีขนาดประมาณ 68.6x53.4mm เป็นบอร์ดมาตรฐานที่นิยมใช้งานมากที่สุด เนื่องจากเป็นขนาดท่ี
เหมาะสำหรับการเริ่มต้นเรียนรู้ Arduino และมี Shields ให้เลือกใช้งานได้มากกว่าบอร์ด Arduino
ร่นุ อืน่ ๆท่ีออกแบบมาเฉพาะมากกว่า โดยบอร์ด Arduino Uno ไดม้ ีการพัฒนาเรอ่ื ยมา ตง้ั แต่ R2 R3
และร่นุ ยอ่ ยทเ่ี ปลย่ี นชปิ ไอซเี ป็นแบบ SMD

5

ภาพที่ 2.4 บอรด์ Arduino Uno R2

ภาพท่ี 2.5 บอร์ด Arduino Uno SMD

ตารางที่ 2.1 ข้อมูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino Uno

ขอ้ มูลจำเฉพาะ

ชิปไอซีไมโครคอนโทรเลอร์ AT mega328

ใช้แรงดันไฟฟา้ 5V

รองรับการจา่ ยแรงดันไฟฟา้ (ทีแ่ นะนำ) 7 – 12V

รองรับการจา่ ยแรงดนั ไฟฟา้ (ทจ่ี ำกัด) 6 – 20V

พอร์ต Digital I/O 14 พอรต์ (มี 6 พอรต์ PWM output)

พอรต์ Analog Input 6 พอรต์

กระแสไฟทจี่ ่ายได้ในแต่ละพอร์ต 40mA

กระแสไฟทีจ่ า่ ยได้ในพอรต์ 3.3V 50mA

พนื้ ทโ่ี ปรแกรมภายใน 32KB พน้ื ท่ีโปรแกรม, 500B ใช้โดย

Bootloader

พื้นท่แี รม 2KB

พน้ื ท่หี นว่ ยความจำถาวร (EEPROM) 1KB

6

ความถคี่ รสิ ตลั 16MHz
ขนาด 68.6x53.4 mm
นำ้ หนกั 25 กรัม

1.1.2 Arduino Duo

ภาพที่ 2.6 บอรด์ Arduino Duo

Duo เป็นภาษาอิตาลี แปลวา่ สอง เป็นรุ่นทเี่ พม่ิ พอรต์ ให้มากข้ึนเป็น 54 พอร์ตดิจิตอลอินพุต
เอาต์พุต และ 12 พอร์ตอนาล็อกอินพุต 2 พอร์ตอนาล็อกเอาต์พุต เพิ่มพื้นที่โปรแกรมเป็น 512KB
สามารถใช้งานพื้นที่ได้เต็มไม่มี Bootloader เนื่องจากสามารถใช้กับพอร์ต USB ได้โดยตรง มีขนาด
บอร์ด 101.52x53.3mm สามารถใช้ Shields ของ Arduino Uno ได้ แต่บางตัวจำเป็นต้องแก้ขาให้
ถูกต้อง จากรูปที่ 4 จะเห็นได้ว่าบอร์ดได้เปลี่ยนมาใช้ชิปไอซีแบบ SMD จึงไม่นิยมนำมาใช้ในแบบ
Standalone แต่นิยมนำมาใช้ในงานที่จำเป็นต้องพื้นที่โปรแกรมมากขึ้น ทำงานที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
บอร์ด Arduino Duo ใช้ชิปไอซีเบอร์ AT91SAM3X8E ซึ่งเป็นชิปไอซีที่ใช้เทคโนโลยี ARM Core
สถาปัตยกรรม 32 บิต เร่งความถี่คริสตัลขึ้นไปสูงถึง 84Mhz จึงทำให้สามารถงานด้านการคำนวน
หรือการประมวลผลอัลกอริทึมได้เร็วกว่า Arduino Uno มาก แต่เนื่องจากชิปไอซีทำงานที่แรงดัน
3.3V ดังนั้นการนำไปใช้งานกับเซ็นเซอร์ควรระวังไม่ให้แรงดัน 5V ไหลเข้าบอร์ด ควรใช้วงจรแบ่ง
แรงดนั เพอ่ื ช่วยให้ลอจกิ ลดแรงดันลงมาใหเ้ หมาะสม

ตารางท่ี 2.2 ข้อมูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino Duo

ข้อมูลจำเฉพาะ

ชิปไอซีไมโครคอนโทรเลอร์ AT91SAM3X8E

ใชแ้ รงดนั ไฟฟ้า 3.3V

7

รองรับการจา่ ยแรงดันไฟฟา้ (ทแ่ี นะนำ) 7 – 12V
รองรบั การจ่ายแรงดันไฟฟ้า (ท่จี ำกดั ) 6 – 16V
พอร์ต Digital I/O 54 พอรต์ (มี 12 พอร์ต PWM output)
พอร์ต Analog Input 2 พอรต์
กระแสไฟฟ้ารวมทจ่ี ่ายไดใ้ นทุกพอรต์ 130mA
กระแสไฟท่จี า่ ยได้ในพอร์ต 3.3V 800mA
กระแสไฟท่ีจา่ ยได้ในพอรต์ 5V 800mA
พื้นทโ่ี ปรแกรมภายใน 512KB พืน้ ท่โี ปรแกรม
พน้ื ท่แี รม 2KB
พื้นทห่ี น่วยความจำถาวร (EEPROM) 96KB
ความถีค่ รสิ ตลั 84MHz
ขนาด 101.52x53.3 mm
น้ำหนัก 36 กรมั

1.1.3 Arduino Leonardo

ภาพที่ 2.7 บอร์ด Arduino Leonardo

บอร์ด Arduino Leonardo เป็นบอร์ดที่เลือกใช้ชิปไอซีเบอร์ ATmega32u4 ที่รองรับการ
เชื่อมต่อกับพอร์ต USB ได้โดยตรง ทำให้บอร์ดสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อจำลองตัวเองให้เป็นเมาส์
หรือคีย์บอร์ดได้ ทำงานที่แรงดัน 5V ทำให้ไม่มีปัญหากับเซ็นเซอร์ หรือ Shields ที่ใช้งานกับ
Arduino Uno

8

ตารางที่ 2.3 ขอ้ มูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino Leonard

ขอ้ มูลจำเฉพาะ

ชปิ ไอซีไมโครคอนโทรเลอร์ ATmega32u4

ใช้แรงดันไฟฟา้ 5V

รองรบั การจ่ายแรงดนั ไฟฟา้ (ท่แี นะนำ) 7 – 12V

รองรับการจา่ ยแรงดนั ไฟฟ้า (ท่จี ำกดั ) 6 – 20V

พอร์ต Digital I/O 20 พอร์ต (มี 7 พอรต์ PWM output)

พอรต์ Analog Input 12 พอรต์

กระแสไฟฟ้ารวมท่ีจา่ ยได้ในทุกพอรต์ 40mA

กระแสไฟทจี่ า่ ยได้ในพอร์ต 3.3V 50mA

พน้ื ทีโ่ ปรแกรมภายใน 32KB แต่ 4KB ถูกใช้โดย Bootloader

พน้ื ที่แรม 2.5KB

พน้ื ท่ีหนว่ ยความจำถาวร (EEPROM) 1KB

ความถค่ี ริสตัล 16MHz

ขนาด 68.6x53.3 mm

น้ำหนกั 20 กรมั

1.1.4 Arduino MEGA ADK

ภาพท่ี 2.8 บอร์ด Arduino MEGA ADK R3

บอร์ด Arduino MEGA ADK ใช้ชิปไมโครคอนโทรเลอร์เบอร์ ATmaega2560 มีชปิ ไอซี USB
Host เบอร์ MAX3421e มาให้บนบอร์ด ใช้สำหรับเชื่อมต่อกับโทรศัพท์มือถือ android ผ่าน OTG มี
พอร์ตดิจิตอลอินพุตเอาต์พุตจำนวน 54 พอร์ต มีอนาล็อกอินพุตมาให้ 16 พอร์ต ทำงานที่ความถี่
16MHz บอร์ด Arduino MEGA ADK จะแตกต่างกับบอร์ด Arduino Duo ตรงที่ชิปบนบอร์ดน้ัน

9

ฉลาดไมเ่ ทา่ และใช้ความถ่ตี ่ำกวา่ ดงั น้นั จึงไม่เหมาะจะนำไปใชก้ บั งานคำนวณ แต่เหมาะสำหรบั งานท่ี
ใช้การเช่ือมต่อกับโทรศพั ท์มอื ถือ android มากกวา่

ตารางที่ 2.4 ขอ้ มูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino MEGA ADK

ข้อมูลจำเฉพาะ

ชปิ ไอซีไมโครคอนโทรเลอร์ ATmega2560

ใช้แรงดันไฟฟา้ 5V

รองรับการจา่ ยแรงดนั ไฟฟา้ (ท่ีแนะนำ) 7 – 12V

รองรบั การจ่ายแรงดนั ไฟฟ้า (ท่จี ำกดั ) 6 – 20V

พอรต์ Digital I/O 54 พอร์ต (มี 15 พอร์ต PWM output)

พอร์ต Analog Input 16 พอรต์

กระแสไฟฟา้ รวมที่จา่ ยได้ในทุกพอร์ต 40mA

กระแสไฟทจ่ี า่ ยได้ในพอรต์ 3.3V 50mA

พน้ื ที่โปรแกรมภายใน 256KB แต่ 8KB ถูกใชโ้ ดย Bootloader

พ้ืนทีแ่ รม 8KB

พ้นื ที่หน่วยความจำถาวร (EEPROM) 4KB

ความถ่คี ริสตัล 16MHz

ขนาด 101.52x53.3 mm

นำ้ หนัก 36 กรมั

1.1.5 Arduino Mega 2560

ภาพท่ี 2.9 บอรด์ Arduino Mega 2560 R3

10

บอร์ด Arduino Mega 2560 จะเหมือนกับ Arduino MEGA ADK ต่างกันตรงท่ีบนบอร์ดไม่
มี USB Host มาให้ การโปรแกรมยังต้องทำผ่านโปรโตคอล UART อยู่ บนบอร์ดใช้ชิปไอซี
ไมโครคอนโทรเลอรเ์ บอร์ ATmega2560

ตารางที่ 2.5 ข้อมูลจำเฉพาะ บอรด์ Arduino Mega 2560

ข้อมูลจำเฉพาะ

ชปิ ไอซไี มโครคอนโทรเลอร์ ATmega2560

ใชแ้ รงดนั ไฟฟา้ 5V

รองรบั การจ่ายแรงดันไฟฟา้ (ทแี่ นะนำ) 7 – 12V

รองรับการจา่ ยแรงดนั ไฟฟ้า (ทจ่ี ำกดั ) 6 – 20V

พอร์ต Digital I/O 54 พอรต์ (มี 15 พอรต์ PWM output)

พอร์ต Analog Input 16 พอร์ต

กระแสไฟฟ้ารวมทจ่ี า่ ยได้ในทุกพอรต์ 40mA

กระแสไฟท่ีจ่ายได้ในพอร์ต 3.3V 50mA

พืน้ ทีโ่ ปรแกรมภายใน 256KB แต่ 8KB ถูกใชโ้ ดย Bootloader

พืน้ ท่แี รม 8KB

พน้ื ทห่ี น่วยความจำถาวร (EEPROM) 4KB

ความถีค่ รสิ ตัล 16MHz

ขนาด 101.52x53.3 mm

นำ้ หนกั 35 กรมั

1.1.6 Arduino Micro

ภาพท่ี 2.10 บอร์ด Arduino Micro

บอร์ด Arduino Micro ออกแบบใหม้ ขี นาดทีเ่ ล็ก และทนั สมัยกว่าบอร์ด Arduino Mini หรอื
Arduino Nano เนื่องจากบนบอร์ดใช้ชิปไอซีไมโครคอนโทรเลอร์เบอร์ AT mega32u4 ซึ่งมาพอร์ต
USB สามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง และมีดิจิตอลอินพุตเอาต์พุตมากถึง 20 พอร์ต มี

11

พื้นที่เก็บโปรแกรมขนาด 32KB แต่ต้องใช้พื้นที่สำหรับ Bootloader ไป 4KB มีขนาดเพียง
48x18mm เนื่องจากบอร์ดใช้ชิปไอซีตัวเดียวกับ Arduino Leonardo ทำให้สามารถทำให้บอร์ด
จำลองตัวเองเป็นเมาส์หรือคยี ์บอร์ดเชอ่ื มต่อกบั คอมพวิ เตอรไ์ ด้

ตารางที่ 2.6 ข้อมูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino Micro

ข้อมูลจำเฉพาะ

ชิปไอซไี มโครคอนโทรเลอร์ ATmega32u4

ใชแ้ รงดนั ไฟฟา้ 5V

รองรับการจ่ายแรงดันไฟฟา้ (ที่แนะนำ) 7 – 12V

รองรับการจา่ ยแรงดันไฟฟา้ (ที่จำกัด) 6 – 20V

พอร์ต Digital I/O 20 พอร์ต (มี 7 พอรต์ PWM output)

พอร์ต Analog Input 12 พอรต์

กระแสไฟฟา้ รวมที่จา่ ยไดใ้ นทกุ พอรต์ 40mA

กระแสไฟที่จ่ายไดใ้ นพอร์ต 3.3V 50mA

พ้นื ท่ีโปรแกรมภายใน 32KB พ้นื ที่โปรแกรม, 4KB ใช้โดย Bootloader

พ้นื ที่แรม 2.5KB

พ้นื ท่ีหน่วยความจำถาวร (EEPROM) 1KB

ความถี่คริสตัล 16MHz

ขนาด 48x18 mm

น้ำหนกั 13 กรมั

1.1.7 Arduino Nano

ภาพท่ี 2.11 บอร์ด Arduino Nano

บอร์ด Arduino Nano ออกแบบมาให้มีขนาดเล็ก และใช้กับงานทั่วๆไป ใช้ชิปไอซี
ไมโครคอนโทรเลอรเ์ บอร์ ATmega168 หรือเบอร์ ATmega328 (มรี ุน่ 2.3 กับ 3 ตอนซอ้ื ต้องเช็คดีๆ

12

ก่อน) โปรแกรมผ่านโปรโตคอล UART มีชิปUSB to UART มาให้ ใช้ Mini USB เชื่อมต่อกับ
คอมพวิ เตอร์ มีพอร์ตดจิ ิตอลอินพตุ เอาต์พตุ 14 พอร์ต มีพอรต์ อนาล็อกอินพตุ 8 พอรต์ บนบอรด์ ยังมี
เรกกูเลเตอร์ สามารถจ่ายไฟได้ตั้งแต่ 7 – 12V เพื่อให้บอร์ดทำงานได้ (จ่ายไฟที่ขา VIN) กรณีมี
แหล่งจา่ ยไฟ 5V อยแู่ ล้วกจ็ ่ายเข้าได้เลยท่ขี า 5V

ตารางท่ี 2.7 ขอ้ มลู จำเฉพาะ บอรด์ Arduino Nano

ขอ้ มูลจำเฉพาะ

ชปิ ไอซีไมโครคอนโทรเลอร์ ATmega168 หรอื ATmega328

ใชแ้ รงดันไฟฟา้ 5V

รองรับการจ่ายแรงดันไฟฟา้ (ท่แี นะนำ) 7 – 12V

รองรับการจา่ ยแรงดนั ไฟฟ้า (ที่จำกดั ) 6 – 20V

พอรต์ Digital I/O 14 พอรต์ (มี 6 พอรต์ PWM output)

พอรต์ Analog Input 6 พอรต์

กระแสไฟฟ้าทจ่ี า่ ยไดใ้ นแตล่ ะพอร์ต 40mA

กระแสไฟทจ่ี ่ายได้ในพอรต์ 3.3V 50mA

พ้นื ทโ่ี ปรแกรมภายใน 16KB หรือ 32KB พื้นที่โปรแกรม, 500B ใช้โดย

Bootloader

พ้นื ที่แรม 1 หรือ 2KB

พ้ืนทห่ี น่วยความจำถาวร (EEPROM) 512B หรอื 1KB

ความถี่คริสตลั 16MHz

ขนาด 45x18 mm

น้ำหนกั 5 กรมั

1.1.8 Arduino Mini

ภาพท่ี 2.12 บอร์ด Arduino Mini

13

บอรด์ Arduino Mini มีขนาดเลก็ กวา่ บอร์ด Arduino อื่น ๆอยมู่ าก แต่ยงั คงความสามารถไว้
เทา่ กบั บอรด์ Arduino Uno R3 แถมยังมีพอร์ต A6 และ A7 เพมิ่ ขึ้นมา ทำให้บอรด์ มีอนาล็อกอินพุต
เพิ่มมากขึ้น จากเดิมมี 6 พอร์ต เพิ่มเป็น 8 พอร์ต เนื่องจากบอร์ด Arduino Mini เน้นที่ขนาดเล็ก
ดงั น้ันจึงไม่สามารถทำการโปรแกรมได้โดยตรง หากต้องการโปรแกรมบอร์ดจำเปน็ ต้องซ้ือโมดูล USB
to UART มาใช้แยกตางหาก แต่ข้อดีของการไม่สามารถเสียบโปรแกรมได้โดยตรงคือหากโปรเจคอยู่
ตัวแล้ว ความเสี่ยงทีจ่ ะถูกนำมาเขียนโปรแกรมเข้าไปใหมก่ ็จะลดน้อยลง บอร์ด Arduino Mini ยังคง
มีรูปแบบคล้ายๆกับ Arduino เดิม คือใช้ชิป AT mega328 ที่ความถี่ 16MHz ภายในบอร์ดสามารถ
ใชแ้ หลง่ จ่ายไฟ 7 – 12V มาจ่ายได้ หากมแี หล่งจ่ายไฟ 5V กส็ ามารถนำมาจา่ ยไดเ้ ลย

ตารางที่ 2.8 ข้อมูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino Mini

ขอ้ มูลจำเฉพาะ

ชิปไอซีไมโครคอนโทรเลอร์ ATmega328

ใชแ้ รงดันไฟฟ้า 5V

รองรบั การจา่ ยแรงดนั ไฟฟา้ (ทแี่ นะนำ) 7 – 12V

รองรับการจา่ ยแรงดันไฟฟา้ (ที่จำกดั ) 6 – 20V

พอร์ต Digital I/O 14 พอร์ต (มี 6 พอร์ต PWM output)

พอร์ต Analog Input 8 พอร์ต

กระแสไฟฟา้ ทีจ่ ่ายได้ในแตล่ ะพอรต์ 40mA

พ้ืนทีโ่ ปรแกรมภายใน 16KB หรือ 32KB พื้นที่โปรแกรม, 500B ใช้โดย

Bootloader

พน้ื ท่แี รม 2KB

พนื้ ที่หนว่ ยความจำถาวร (EEPROM) 1KB

ความถค่ี ริสตัล 16MHz

ขนาด 30x18 mm

น้ำหนัก ไมร่ ะบุ

14

1.1.9 Arduino Pro Mini

ภาพที่ 2.13 บอร์ด Arduino Pro Mini

บอรด์ Arduino Pro Mini เป็นบอรด์ ทแ่ี ตกตา่ งจากบอรด์ Arduino Mini คอื ย้ายชอ่ ง A4 A5
A6 A7 ออกมาภายในบอร์ด เพื่อให้บอร์ดมีขนาดที่เล็กลงกว่าเดิมอีก และมีให้เลือกใช้ทั้ง 5V และ
3.3V ก่อนซื้อจึงควรดูให้แน่ใจเสียก่อน บอร์ด Arduino Pro Mini ได้ใช้ไอซีเบอร์ ATmega328
เช่นเดิม แต่มีขนาดใหญ่ขึ้นเล็กน้อย ทำให้ไอซีดูเต็มบอร์ดมากขึ้น และในโมเดลที่ใช้แรงดัน ไฟ 3.3V
ลดความถี่ลงเป็น 8MHz ใช้พื้นที่ Bootloader น้อยลง เหลือเพียง 500B การโปรแกรมยังคงต้องใช้
โมดลู USB to UART ในการเช่อื มต่อเพอ่ื โปรแกรมเชน่ เดิม

ตารางที่ 2.9 ขอ้ มูลจำเฉพาะ บอร์ด Arduino Pro Mini

ข้อมูลจำเฉพาะ

ชิปไอซีไมโครคอนโทรเลอร์ ATmega328

ใช้แรงดันไฟฟา้ 3.3V หรอื 5V

รองรบั การจา่ ยแรงดนั ไฟฟ้า 3.35 – 12V (ในโมเดลใช้ไฟ 3.3V) หรือ 5 –

12V (ในโมเดลใช้ไฟ 5V)

พอรต์ Digital I/O 14 พอร์ต (มี 6 พอร์ต PWM output)

พอร์ต Analog Input 6 พอรต์

กระแสไฟฟา้ ทจ่ี ่ายไดใ้ นแตล่ ะพอร์ต 40mA

พื้นท่ีโปรแกรมภายใน 32KB พ ื ้ น ท ี ่ โ ป ร แ ก ร ม , 500B ใ ช ้ โ ด ย

Bootloader

พ้นื ที่แรม 2KB

พน้ื ท่หี นว่ ยความจำถาวร (EEPROM) 1KB

ความถี่คริสตัล 8MHz (ในโมเดลใช้ไฟ 3.3V) หรือ 16MHz (ใน

โมเดลใชไ้ ฟ 5V)

ขนาด 30x18 mm

น้ำหนัก ไม่ระบุ

15

1.2 จุดเดน่ ท่ที ำให้บอรด์ Arduino เปน็ ท่ีนยิ ม
1.2.1 งา่ ยตอ่ การพัฒนา มีรูปแบบคำส่งั พืน้ ฐาน ไม่ซบั ซ้อนเหมาะสำหรบั ผเู้ ร่ิมตน้
1.2.2 มี Arduino Community กลุ่มคนทร่ี ว่ มกนั พัฒนาท่ีแข็งแรง
1.2.3 Open Hardware ทำใหผ้ ใู้ ช้สามารถนำบอรด์ ไปต่อยอดใชง้ านไดห้ ลายด้าน
1.2.4 ราคาไม่แพง
1.2.5 Cross Platform สามารถพฒั นาโปรแกรมบน OS ใดก็ได้

1.3 รปู แบบการเขยี นโปรแกรมบน Arduino

ภาพท่ี 2.14 การต่อการ USB ระหว่างคอมพวิ เตอร์กบั บอร์ด Arduino
1.3.1 เขียนโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ ผ่านทางโปรแกรม Arduino IDE ซึ่งสามารถดาวน์

โหลดไดจ้ าก Arduino.cc/en/main/software
1.3.2 หลังจากที่เขียนโค้ดโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้ใช้งานเลือกรุ่นบอร์ด Arduino ที่ใช้

และหมายเลข Com port

ภาพที่ 2.15 เลอื กรุน่ บอร์ด Arduino ทต่ี อ้ งการ upload

16

ภาพท่ี 2.16 เลือกหมายเลข Comport ของบอรด์
1.3.3 กดปุม่ Verify เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและ Compile โคด้ โปรแกรม จากนั้นกดปุ่ม

Upload โค้ด โปรแกรมไปยงั บอร์ด Arduino ผา่ นทางสาย USB เมื่ออับโหลด
เรียบร้อยแล้ว จะแสดงข้อความแถบข้างล่าง “Done uploading” และบอร์ดจะเร่ิม
ทำงานตามทเี่ ขียนโปรแกรมไว้ไดท้ ันที

ภาพที่ 2.17 กดปุ่ม Verify เพ่ือตรวจสอบความถกู ต้องและ Compile โค้ชโปรแกรม

17

ภาพที่ 2.18 Upload โค้ชโปรแกรม
1.4 Layout & Pin out Arduino Board (Model: Arduino UNO R3)

ภาพที่ 2.19 แสดงส่วนประกอบต่าง ๆของบอรด์ Arduino Uno

18

1.4.1 USB Port ใช้สำหรับต่อกับ Computer เพื่ออับโหลดโปรแกรมเข้า MCU และจ่ายไฟ
ให้กบั บอร์ด

1.4.2 Reset Button เป็นป่มุ Reset ใช้กดเม่อื ต้องการให้ MCU เริม่ การทำงานใหม่
1.4.3 ICSP Port ของ Atmega16U2 เป็นพอร์ตทใ่ี ช้โปรแกรม Visual Com port บน

Atmega16U2
1.4.4 I/OPort: Digital I/O ตง้ั แต่ขา D0 ถึง D13 นอกจากน้ี บาง Pin จะทำหน้าที่อน่ื ๆ

เพ่ิมเตมิ ด้วย เช่น Pin0,1 เป็นขา Tx, Rx Serial, Pin3,5,6,9,10 และ 11 เป็นขาPWM
1.4.5 ICSP Port: Atmega328 เป็นพอร์ตท่ใี ชโ้ ปรแกรม Bootloader
1.4.6 MCU: Atmega328 เป็น MCU ท่ใี ชบ้ นบอร์ด Arduino
1.4.7 I/O Port: นอกจากจะเป็น Digital I/O แล้ว ยังเปล่ยี นเปน็ ชอ่ งรบั สญั ญาณอนาลอ็ ก

ต้ังแต่ขา A0-A5
1.4.8 Power Port: ไฟเลีย้ งของบอร์ดเม่ือตอ้ งการจ่ายไฟใหก้ บั วงจรภายนอก ประกอบดว้ ย

ขาไฟเล้ยี ง +3.3 V, +5V, GND, Vin
1.4.9 Power Jack: รบั ไฟจาก Adapter โดยที่แรงดนั อยรู่ ะหวา่ ง 7-12 V
1.4.10 MCU ของ Atmega16U2 เป็น MCU ที่ทำหน้าที่เป็น USB to Serial โดยAt mega-

328 จะติดตอ่ กบั Computer ผ่าน Atmega16U2

2. เซนเซอร์ (Sensor)

เซนเซอร์ (Sensor) คือ ชุดอุปกรณ์ วงจร หรือ ระบบที่ทําหน้าที่ตรวจวัดการเปลี่ยนแปลง
คณุ สมบตั ิ หรือลักษณะของส่ิงตา่ งๆ โดยรอบวัตถุเป้าหมาย และนำข้อมูลจำนวนมหาศาล (Big Data)
ที่ได้จากการตรวจวัด เข้าสู่กระบวนการแจกแจง และวิเคราะห์พฤติกรรมของการเปลี่ยนแปลง
ประมวลผลเป็นองค์ความรู้และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ให้มนุษย์สามารถนำองค์
ความรู้มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพลดขั้นตอนของกระบวนการทำงานปัจจุบันมีการนำระบบ sensor
มาใช้บนโทรศัพท์มือถือ ในหลายรูปแบบ เช่น G-sensor ระบบตรวจจับความเคลื่อนไหว,
Accelerometer Sensor ระบบหมุนภาพ อัตโนมัติ, Orientation Sensor เซ็นเซอร์ปรับมุมมอง
หน้าจอ, Sound Sensor เซ็นเซอร์ตรวจวัดระดับเสียง, Magnetic Sensor ตรวจวัดความเข้ม
สนามแม่เหล็ก, Light Sensor ตรวจจับแสงสว่างสำหรับการปรับแสงบนหน้าจออัตโนมัติ และ
Proximity Sensor ระบบเปิด/ปิดหนา้ จออัตโนมตั ขิ ณะสนทนาแนบหู เป็นต้น ซ่งึ เรามกั พบคุณสมบัติ
เหล่านี้ได้กับโทรศัพท์มือถือ แบบ Smartphone ทั้งในระบบ IOS และ Android OS อุปกรณ์
เซนเซอร์สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ตามคณุ สมบตั ใิ นการตรวจวัด ประกอบด้วย

เซนเซอรด์ ้านกายภาพ (Physical Sensor)
เซนเซอร์ดา้ นเคมี (Chemical Sensor)
เซนเซอรท์ างชีวภาพ(Biosensor)

19
2.1 เซนเซอรด์ ้านกายภาพ (Physical Sensor)

เซนเซอร์ที่ใช้ในการตรวจวัดคุณสมบัติทางกายภาพต่างๆ เป็นเซ็นเซอร์ที่ใช้เซลล์พิเศษที่มี
ความไว ต่อ แสง, การเคลอ่ื นไหว, อณุ หภูมิ, สนามแมเ่ หล็ก, แรงโนม้ ถ่วง, ความชื้น, การสั่นสะเทือน,
แรงดัน, สนามไฟฟ้า, เสียง และลักษณะทางกายภาพอื่นๆ ของสภาพแวดล้อมภายนอก/ภายใน เช่น
แรงยืด, การเคลื่อนไหวของอวัยวะ รวมทั้ง สารพิษ, สารอาหาร, และสภาพแวดล้อมการเผาผลาญ
ภายใน เช่น ระดบั น้ำตาล, ระดับออกซเิ จน, ฮอร์โมน, สารสือ่ ประสาท เปน็ ตน้

ภาพที่ 2.20 โมดูลเซนเซอรต์ รวจจบั อุณหภูมิความร้อน

ภาพที่ 2.21 เซ็นเซอร์ตรวจจบั ความเคลือ่ นไหว

ภาพที่ 2.22 โมดูลตรวจจบั เสน้ ขาวดำ Infrared Line Tracking
2.2 เซนเซอรด์ ้านเคมี (Chemical Sensor)

เซนเซอร์ที่ใช้ในการตรวจวัดสารเคมีต่างๆ โดยอาศัยปฏิกิริยาจำเพาะทางเคมี และมีการ
แปลงเป็นข้อมูลหรือสัญญาณที่สามารถอ่านวิเคราะห์ได้ เช่น เซนเซอร์ตรวจวัดสารเคมีปนเปื้อนใน
สิ่งแวดล้อม หรือดินและน้ำเซนเซอร์ และ อุปกรณ์ในการตรวจวิเคราะห์ทดสอบ สัมพันธ์กันอย่างไร?
ทิศทางการพัฒนาอุปกรณใ์ นการตรวจวิเคราะห์ทดสอบมีแนวโน้มจะประยุกต์เป็นอุปกรณ์เซนเซอร์ท่ี

20

เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่านผลได้ง่าย แสดงผลเป็นระบบดิจิตอลหรือตัวเลข โดยไม่จำ
เป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการตรวจวิเคราะห์และอ่านผลผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ดังกล่าว ได้ด้วย
ตัวเอง (Point-of-Care: PoC) จากลักษณะเฉพาะของเซนเซอร์ที่สามารถใช้เป็นอุปกรณ์ในการตรวจ
วเิ คราะหท์ ่มี ีขนาดพกพาสะดวกและใช้งานง่ายนั้น จงึ ถกู นำ มาประยกุ ตใ์ ช้ในอุตสาหกรรมตา่ งๆ

2.3 เซนเซอรท์ างชีวภาพ(Biosensor)
เซนเซอร์ที่อาศัยเทคนิคการนำ สารชีวภาพ (Biological Recognition Material) มาเป็นตัว

ทำปฏิกิริยาจำเพาะกับสารเป้าหมาย เช่น เซนเซอร์ที่ใช้ในการตรวจวัดระดับน้ำ ตาลในเลือด ในยุค
4.0 เทคโนโลยี Sensor มีความสำคัญมากต่อการทำงานกับระบบเก็บข้อมูลอัตโนมัติต่างๆ ผ่าน
เครือข่ายของวัตถุที่เรียกว่า อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง หรือ Internet of Things (IoT) และ AI
เน่ืองจาก ระบบ Sensor ในปจั จุบนั มีทิศทางที่คาดว่าจะกา้ วสู่ คำวา่ วตั ถอุ จั ฉริยะ (Smart Objects)
โดยปัจจุบนั ได้มีการเชื่อมโยงและส่ือสารเข้ากับวัตถุต่างๆ รอบตวั ไมว่ ่าจะเป็นรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า
ในบ้าน และแม้แต่สัตว์เล้ียงท่ีบ้าน ก็สามารถเชื่อมโยงสือ่ สาร และตอบสนองผ่าน IoT ซึ่งทั้งหมดต้อง
อาศัยเซนเซอร์ที่มีขนาดเล็กลง ฉลาดขึ้น และราคาที่ถูกลง ซึ่งมีการคาดการณ์ว่า วัตถุอัจฉริยะท่ี
เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตจะมีมากถึง 13 ล้านล้านตัวภายในปี 2025 สำหรับระบบอัจฉริยะต่างๆ รวมทั้ง
บ้านอัจฉริยะ (Smart Home) ระบบขนส่งอัจฉริยะ (Intelligent transport) เมืองอัจฉริยะ (Smart
City) เกษตรกรรมอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ระบบดูแลสุขภาพอัจฉริยะ (Smart Healthcare)
เปน็ ต้น
3. ปั๊มดูดจ่ายสารเคมแี บบรีดท่อ (Peristaltic Pump)

ภาพที่ 2.23 ปั๊มดูดจ่ายสารเคมีแบบรดี ท่อ DC 12V
เป็นป๊มั ดูดจ่ายสารละลายแบบรดี ทอ่ ซึง่ ประกอบด้วยหัวปัม๊ (Pump Head) มอเตอร์(Driver)
และสายยาง (Tubing) ใช้ดดู จ่ายสาร
เป็นปั๊มที่สามารถรใช้ได้กับหัวเป็นชนิด YZ1515X,YZ2515X,YZII15,YZII25,และ DG1,DG-
2, DG-4 ปัม๊ สามารถปรบั อตั ราการดดู จ่ายของเหลวได้ในช่วง 0.2 ไมโครลติ รต่อนาทีถงึ 500 มลิ ลลิ ติ ร
ต่อนาที พร้อมทั้ง Dispensing Volume จาก 0.01 มิลลิลิตร ถึง 9,900 มิลลิลิตร ข้ึนอยู่กับสายยาง
และชนิดของหวั ปม๊ั

21
4. แบตเตอร่ี (Battery)

แบตเตอรี่ (Battery) เป็นอปุ กรณ์ท่ีประกอบด้วย เซลลไ์ ฟฟ้าเคมี หน่ึงเซลล์หรือมากกว่า ที่มี
การเชื่อมต่อภายนอกเพื่อให้กำลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า แบตเตอรี่มีขั้วบวก (Anode) และขั้วลบ
(Cathode) ขั้วที่มีเครื่องหมายบวกจะมีพลังงานศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าขั้วที่มีเครื่องหมายลบ ขั้วที่มี
เครอื่ งหมายลบ คอื แหล่งทม่ี าของอิเล็กตรอนที่เมื่อเชอ่ื มต่อกับวงจรภายนอกแลว้ อเิ ล็กตรอนเหล่านี้จะ
ไหลและส่งมอบพลังงานให้กับอุปกรณ์ภายนอก เมื่อแบตเตอรี่เชื่อมต่อกับวงจรภายนอก สาร
อิเล็กโทรไลต์ มีความสามารถที่จะเคลื่อนที่โดยทำตวั เป็นไอออน ยอมให้ปฏิกิริยาทางเคมีทำงานแล้ว
เสร็จในขั้วไฟฟ้าที่อยู่ห่างกัน เป็นการส่งมอบพลังงานให้กับวงจรภายนอก การเคลื่อนไหวของไอออน
เหล่านั้นที่อยู่ในแบตเตอรี่ที่ทำให้เกิดกระแสไหลออกจากแบตเตอรี่เพื่อปฏิบัติงาน ในอดีตคำว่า
"แบตเตอรี่" หมายถึงเฉพาะอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ แต่การใช้งานได้มีการพัฒนาให้
รวมถึงอุปกรณ์ท่ปี ระกอบดว้ ยเซลลเ์ พยี งเซลล์เดียว

ภาพที่ 2.24 รูปรา่ งของแบตเตอร่แี บบต่าง ๆ
4.1 เซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมี ประกอบด้วย ขั้วไฟฟ้าบวก ขั้วไฟฟ้าลบและสารเคมีภายในเซลล์ เม่ือ
เกิดปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์จะทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วเซลล์ เมื่อต่อเซลล์ไฟฟ้าเคมี
เข้ากับวงจรไฟฟา้ จะทำใหเ้ กิดกระแสไฟฟ้าในวงจรได้เซลล์ไฟฟา้ เคมีแบ่งออกได้ 2 ประเภท ได้แก่

4.1.1 เซลล์ปฐมภูมิ (Primary Cell) โดยลักษณะของเซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิ เมื่อใช้
ไปนาน ๆ ความต่างศกั ย์ไฟฟา้ จะลดลงจนกระทัง่ ใช้ต่อไปไม่ได้ เชน่ ถา่ นไฟฉายท่วั ๆ ไป

ภาพที่ 2.25 รูปแสดงส่วนประกอยภายในของถ่ายไฟฉายนิจลิ -แคดเมยี ม

22
4.1.1 เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary Cell) เมื่อใช้ไฟฟ้าลดลงแล้วสามารถทำให้
ความต่างศักยไ์ ฟฟา้ เพ่ิมขึน้ ได้โดยการอดั ไฟหรือประจุไฟ (Charge) เชน่ แบตเตอรรี่ ถยนต์

ภาพท่ี 2.26 สว่ นประกอยภายในของถา่ ยไฟฉาย
หลกั การทำงาน

แบตเตอรี่แปลงพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยตรง แบตเตอรี่ประกอบด้วยเซลล์
แบบโวลตาได้มากกว่าหนึ่งเซลล์ แต่ละเซลล์ประกอบด้วยสอง ครึ่งเซลล์ ที่เชื่อมต่อเรียงกันเป็นแถว
โดยสารอิเลก็ โทรไลต์ที่เป็นสื่อกระแสไฟฟ้าที่มีไอออนที่มีประจุลบ (anion) และไอออนที่มีประจุบวก
(cation) ครึ่งเซลล์หนึ่งตัวจะมีอิเล็กโทรไลต์และขั้วลบ (อิเล็กโทรดที่แอนไอออนวิ่งเข้าหา) อีกครึ่ง
เซลล์หนึ่งจะมีอิเล็กโทรไลต์และขั้วบวก อิเล็กโทรที่แคทไอออนวิ่งเข้าหา Redox ปฏิกิริยา Redox
เป็นตัวให้พลังงานกับแบตเตอรี่ แคทไอออนจะลดลง (อิเล็กตรอนมีการเพิ่ม) ที่แคโทดระหว่างการ
ชาร์จประจุ ในขณะที่แอนไอออนจะถูกออกซิไดซ์ (อิเล็กตรอนจะถูกลบออก) ที่ขั้วบวกระหว่างการ
ชาร์จ ในระหว่างการดีสชาร์จกระบวนการจะเป็นตรงกันข้าม ขั้วไฟฟ้าทั้งสองไม่ได้สัมผัสกัน แต่
เชื่อมต่อทางไฟฟ้าโดย อิเล็กโทรไลต์ เซลล์บางตัวใช้อิเล็กโทรไลต์แตกต่างกันสำหรับแต่ละครึ่งเซลล์
ตวั คัน่ ช่วยให้ไอออนไหลระหว่างครึง่ เซลล์ แต่จะช่วยปอ้ งกันการผสมของอิเลก็ โทรไลต์ท้ังสองดา้ น

ภาพท่ี 2.27 เซลลแ์ บบโวลตา (เซลลท์ ีส่ รา้ งแรงเคล่ือนไฟฟ้าโดยการแปลงทยี่ ้อนกลับไม่ไดจ้ าก
พลงั งานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ไม่สามารถประจุใหม่ได้)

23
5. อุปกรณ์การใช้ในการทำเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอลอ์ ัตโนมัติ

5.1 บอร์ด Arduino Uno R3 รุ่นแรกที่ออกมา มีขนาดประมาณ 68.6x53.4mm เป็น
บอรด์ มาตรฐานท่นี ิยมใชง้ านมากทีส่ ุด เนอ่ื งจากเป็นขนาดที่เหมาะสำหรบั การเริ่มต้นเรยี นรู้ Arduino
และมี Shields ให้เลือกใช้งานได้มากกว่าบอรด์ Arduino รุ่นอื่น ๆที่ออกแบบมาเฉพาะมากกว่า โดย
บอร์ด Arduino Uno ได้มีการพัฒนาเรือ่ ยมา ตง้ั แต่ R2 R3 และร่นุ ย่อยทีเ่ ปล่ยี นชปิ ไอซีเปน็ แบบSMD

ภาพที่ 2.28 บอร์ด Arduino Uno R3
5.2 เซนเซอร์โมดูลตรวจจับเส้นขาวดำ TCRT5000 Sensor Modules tracking
sensor tracking module โมดูลอ่านค่าสะท้อนกลับของแสง ใช้ไฟ 3.3-5V เหมาะสำหรับใช้กับ
Arduino ให้เอาต์พุตออกมา 2 แบบคือแบบดิจิตอลสามารถปรับค่าที่ต้องการได้ เมื่อค่าที่อ่านได้ถึง
ระดับที่ต้องการก็จะส่งค่า 1 ออกมา ถ้ายังไม่ถึงระดับก็จะส่งค่า 0 ออกมา และอีกแบบคือเอาต์พุต
แบบอนาล็อก อา่ นคา่ ได้เปน็ ตวั เลข 0-1023 หรอื สัญญาณไฟในชว่ ง 0-5V
สามารถนำไปประยุกตก์ ับงานไดห้ ลายแบบ เช่น

5.2.1 ใชเ้ ป็นตวั ตรวจจับเสน้ สขี าวกับสีดำสำหรับรถ smart car
5.2.2 ใช้เปน็ สวติ ช์แบบไรส้ มั ผัส
5.2.3 ใช้เป็นเซนเซอรห์ ลกี เลีย่ งการชน

ภาพที่ 2.29 โมดลู ตรวจจบั เสน้ ขาวดำ Infrared Line Tracking

24
5.3 แบตเตอรี่ Battery เป็นอุปกรณท์ ี่ประกอบด้วย เซลล์ไฟฟ้าเคมี หนึ่งเซลล์หรือมากกวา่
ที่มีการเชื่อมต่อภายนอกเพื่อให้กำลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า แบตเตอรี่มีขั้วบวก (Anode) และขั้วลบ
(Cathode) ขั้วที่มีเครื่องหมายบวกจะมีพลังงานศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าขั้วที่มีเครื่องหมายลบ ขั้วที่มี
เครอื่ งหมายลบ คือแหลง่ ท่มี าของอเิ ลก็ ตรอนท่ีเมื่อเช่ือมตอ่ กับวงจรภายนอกแล้วอเิ ล็กตรอนเหล่าน้ีจะ
ไหลและส่งมอบพลังงานให้กับอุปกรณ์ภายนอก เมื่อแบตเตอรี่เชื่อมต่อกับวงจรภายนอก สาร
อิเล็กโทรไลต์ มีความสามารถที่จะเคลื่อนที่โดยทำตัวเป็นไอออน ยอมให้ปฏิกิริยาทางเคมีทำงานแลว้
เสร็จในขั้วไฟฟ้าที่อยู่หา่ งกัน เป็นการส่งมอบพลังงานให้กับวงจรภายนอก การเคลื่อนไหวของไอออน
เหล่านั้นที่อยู่ในแบตเตอรี่ที่ทำให้เกิดกระแสไหลออกจากแบตเตอรี่เพื่อปฏิบัติงาน ในอดีตคำว่า
"แบตเตอรี่" หมายถึงเฉพาะอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ แต่การใช้งานได้มีการพัฒนาให้
รวมถึงอปุ กรณ์ทีป่ ระกอบดว้ ยเซลล์เพยี งเซลลเ์ ดยี ว

ภาพที่ 2.30 แบตเตอรี่ Battery
5.4 สายจั้มเปอร์ เป็นคู่ของขา prong ใช้ในการต่อเชื่อมจุด ในแผ่นเมนบอร์ดหรือ
อแดปเตอร์การ์ด การเซท็ Jumper เป็นการวางปลั๊กบนขา ก็ทำให้การต่อเช่ือมเสร็จสมบูรณ์ ซึ่ง การ
เซ็ท Jumper เป็นการบอกกับเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ทราบถึง การคอนฟิกและการทำงานที่ต้องการ
ในบางครั้งคำสั่งสามารถปรับการตั้ง Jumper โดยตัวเอง เมื่อมีการเพิ่มอุปกรณ์ใหม่ แนวโน้มล่าสุด
อุปกรณ์แบบ plug and play ไม่จำเป็นต้องใช้การเซ็ท Jumper แบบ Manual กลุ่มของ Jumper
ในบางคร้ังเรยี กว่า Jumper block

ภาพท่ี 2.31 สายจัม้ เปอร์

25
5.5 ปั๊มดูดจ่ายสารเคมีแบบรีดท่อ Peristaltic Pump เป็นปั๊มดูดจ่ายสารละลายแบบรีด
ทอ่ ซง่ึ ประกอบดว้ ยหวั ปม๊ั (Pump Head) มอเตอร(์ Driver) และสายยาง (Tubing) ใชด้ ูดจา่ ยสาร

ภาพที่ 2.32 ปั๊มดูดจ่ายสารเคมีแบบรดี ท่อ Peristaltic Pump
5.6 กล่องพลาสติกกันน้ำ เป็นกล่องสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าหรืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อติดต้ัง
สวิตช์, ลูกบิดและจอแสดงผลและเพื่อป้องกันไฟฟ้าช็อตไปยังผู้ใช้อุปกรณ์และปกป้องเนื้อหาจาก
สภาพแวดล้อม กล่องเป็นส่วนเดียวของอุปกรณ์ที่ผู้ใช้เห็น สำหรับความต้องการใช้ประโยชน์
คุณสมบัติและประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับวัสดุทีเลือกใช้ โดยพิจารณาจากหน้างานเพื่อให้เหมาะสมทั้ง
ขนาดและวัตถุประสงค์ในการใช้งาน กล่องไฟฟ้าและตู้ไฟฟ้ายังเป็นตัวกระจายความร้อนการรบกวน
คล่นื ความถ่ีวทิ ยแุ ละการปอ้ งกนั การเกดิ ไฟฟา้ สถติ

ภาพท่ี 2.33 กล่องพลาสติกกันน้ำ
5.7 เจลแอลกอฮอล์ เปน็ สารล้างมือ (hand sanitizer) หรือ สารระงบั เช้อื ในมอื (อังกฤษ:
hand antiseptic)คือ สิ่งใช้ทำความสะอาดมือในฐานะเป็นเคร่ืองเสริมหรือเป็นทางเลือกเพิ่มเติมจาก
น้ำและสบู่ โดยอาจอยูใ่ นรูปเจล, โฟม หรือของเหลวอ่ืน เป็นต้น ส่วนประสมหลักทอี่ อกฤทธ์ิ คอื ไอโซ
โพรพรานอล (isopropanol), เอทานอล (ethanol), เอ็น-โพรพานอล (n-propanol) หรือ โพวิโดน-
ไอโอดีน (povidone-iodine) และส่วนประสมที่ไม่ออกฤทธิ์มักเป็นสารเพิ่มความเข้มข้น เช่น ในรูป
เจลมักใส่กรดพอลิอะคริลิค (polyacrylic acid), ในรูปของเหลวมักใส่สารจำพวกฮิวเม็กแทนต
(humectant) อาทิ กลีเซอรีน (glycerin) นอกจากนี้ อาจใส่ โพรพิลีนไกลคอล (propylene glycol)

26
และน้ำมันหอมระเหย (essential oil) สกัดจากพืชดว้ ย โดยสารล้างมือทีท่ ำจากแอลกอฮอล์เปน็ หลัก
นั้นมปี ระสิทธภิ าพกำจัดเชื้อโรคดยี ่ิงกวา่ สบู่ธรรมดา และไม่ทำใหม้ ือแหง้ สากมากเทา่ สบู่

ภาพท่ี 2.34 เจลแอลกอฮอล์
5.8 สายยางทนสารเคมี (Silicone) ทอ่ ทเี่ ปน็ ยางดดู สง่ นำ้ หรอื ทอ่ ทที่ ำจากยางสำหรับดูดส่ง
น้ำต้องมีความเหนียวที่สูงและจะต้องสามารถโค้งงอได้ซึ่งหากอยากเห็นนี้จะมีการเสริมผ้าใบแล้วก็มี
ชั้นความหนาทีท่ นไมน่ ปรมิ าณที่สมควรและการใชแ้ รงงานจะได้สำหรับดูดสง่ นำ้ มนั ระบบชลประทาน
งานก่อสรา้ งทำการเกษตรหรอื แม้แต่โรงงานท่ัวไปหรือการประปา ซ่ึงด้านชน้ั ในจะประกอบไปด้วยยาง
สังเคราะห์ที่มีคุณลักษณะทนต่อ แรงดันที่สูงรวมทั้งยังมีฉันที่ควรมีส่วนประกอบเสริมแรงด้วยผ้าใบ
สังเคราะห์ทนแรงกดดันสูงเสริมด้วยลวดเหล็กเพื่อคุ้มครองป้องกันการยุบแบรนด์ของท่อหรือการกด
ทับแล้วก็ยังชั้นในหรือชั้นนอกและก็สังคมจะทนการเสียดสีแล้วก็สภาพอากาศเจริญก็เลยทำให้
เหมาะสมกับการใช้แรงงานดา้ นน้โี ดยเฉพาะซงึ่ อยากได้ความยดื หยนุ่ และกค็ วามเหนียว

ภาพท่ี 2.35 สายยางทนสารเคมี Silicone

27

5.9 รีเลย์ (relay) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์ตัด-ต่อวงจร โดยใช้
แม่เหล็กไฟฟ้า และการที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด เพราะเมื่อจ่ายไฟให้กับตัว
รีเลย์ มันจะทำให้หน้าสัมผัสติดกัน กลายเป็นวงจรปิด และตรงข้ามทันทีที่ไม่ได้จ่ายไฟให้มัน มันก็จะ
กลายเปน็ วงจรเปิด ไฟทีเ่ ราใชป้ ้อนให้กบั ตวั รีเลย์กจ็ ะเปน็ ไฟทม่ี าจาก เพาเวอรฯ์ ของเครือ่ งเรา ดังนั้น
ทันทที ี่เปิดเคร่อื ง ก็จะทำให้รีเลย์ทำงาน

หน้าที่ของรีเลย์ คือ เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ตรวจสอบสภาพการณ์ของทุกส่วน ใน
ระบบกำลังไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลาหากระบบมกี ารทำงานที่ผิดปกติ รีเลย์จะเป็นตัวสั่งการให้ตัด
สว่ นทีล่ ัดวงจรหรือสว่ นท่ีทำงานผดิ ปกติ ออกจากระบบทันทโี ดยเซอรก์ ิตเบรกเกอร์จะเป็นตัว
ท่ตี ัดสว่ นทีเ่ กิดฟอลตอ์ อกจากระบบจริงๆ

ประโยชน์ของรเี ลย์
1. ทำให้ระบบส่งกำลังมีเสถียรภาพ (Stability) สูงโดยรีเลย์จะตัดวงจรเฉพาะส่วนที่เกิด
ผดิ ปกติ ออกเทา่ น้นั ซึ่งจะเป็นการลดความเสยี หายให้แก่ระบบนอ้ ยทส่ี ดุ
2. ลดค่าใชจ้ า่ ยในการซอ่ มแซมสว่ นทเี่ กิดผิดปกติ
3. ลดความเสยี หายไม่เกดิ ลุกลามไปยังอุปกรณ์อ่ืนๆ
4. ทำให้ระบบไฟฟา้ ไมด่ ับท้งั ระบบเม่ือเกิดฟอลต์ขึ้นในระบบ

คุณสมบัตทิ ีด่ ีของรเี ลย์
1. ต้องมีความไว (Sensitivity) คือมีความสามารถในการตรวจพบสิ่งที่ผิดปกติเพียงเล็กนอ้ ย
ได้
2. มีความเร็วในการทำงาน (Speed) คือความสามารถทำงานได้รวดเร็วทันใจ ไม่ทำให้เกิด
ความเสียหายแก่อุปกรณแ์ ละไม่กระทบกระเทือนต่อระบบ โดยทั่วไปแลว้ เวลา ที่ใชใ้ นการตัด
วงจรจะขน้ึ อย่กู ับระดบั ของแรงดนั ของระบบด้วย
ระบบ 6-10 เควี จะตอ้ งตดั วงจรภายในเวลา 1.5-3.0 วนิ าที
ระบบ 100-220 เควี จะตอ้ งตดั วงจรภายในเวลา 0.15-0.3 วินาที
ระบบ 300-500 เควี จะตอ้ งตดั วงจรภายในเวลา 0.1-0.12 วนิ าที

ภาพท่ี 2.36 relay 1 Ch

28

บทท่ี 3
ข้นั ตอนและวธิ กี ารดำเนนิ งาน

กระบวนการในการสร้างเครือ่ งจ่ายเจลแอลกอฮอลอ์ ัตโนมตั ิ มีขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
ดงั แสดงไวด้ ้วยแผนผัง แสดงขั้นตอนการทำงาน (Flow Chart) โดยรายละเอยี ดต่าง ๆ มีดงั นี้

เริม่ ต้น

ศกึ ษาข้อมลู ที่เก่ยี วข้อง

ออกแบบเครือ่ งจา่ ยเจลแอลกอฮอล์

สรา้ งเคร่อื งจา่ ยเจลแอลกอฮอล์

ปรับปรงุ แก้ไข

ทดสอบ
เคร่ืองจา่ ยเจลแอลกอฮอล์

การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิติ

สิ้นสุดโครงงาน
แผนผัง ขน้ั ตอนการดำเนินงาน
ขั้นตอนในการปฏบิ ตั งิ านจรงิ และภาพทำงานจรงิ

29
ภาพท่ี 3.1 เจาะรูกลอ่ งพลาสติก
ภาพที่ 3.2 แตง่ รูกล่องพลาสติก
ภาพท่ี 3.3 เจาะรฝู ากล่องพลาสตกิ และใสส่ ายยางทนสารเคมี

30
ภาพท่ี 3.4 ติดกาวร้อนรอบๆบรเิ วณสายยางทนสารเคมี
ภาพที่ 3.5 ตดั แผ่นพลาสติกก้ันแบตเตอรภี่ ายในกลอ่ งพลาสติก

31
ภาพที่ 3.6 เจาะรูขา้ งกล่องเพ่ือใสส่ าย Adapter

32

คณะผู้จดั ทำการวเิ คราะหข์ ้อมูล ดังน้ี
3.1 นำแบบสอบถามที่แจกให้แก่ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 4 คน มาตรวจสอบความสมบูรณ์หาค่าความถ่ี
ของคำตอบของความคิดเห็นในการจัดทำเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติในแต่ละข้อวิเคราะห์
ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม แล้วนำเสนอข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดอันดับความคิดเห็นของ
ผู้เชี่ยวชาญต่อเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติสำหรับคนที่ใช้เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ
โดยใช้ค่าเฉลีย่ ̅ และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (SD) แล้วนำค่าเฉลย่ี มาจดั ตามเกณฑ์

คา่ เฉลย่ี ต้งั แต่ 3.50 - 4.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากท่สี ุด
คา่ เฉลย่ี ต้ังแต่ 2.50 – 3.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก
ค่าเฉลีย่ ต้งั แต่ 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ นอ้ ย
คา่ เฉลย่ี ต้งั แต่ 1.00 – 1.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับ น้อยท่สี ดุ

สถติ ิทีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
3.2 ค่ารอ้ ยละ
สตู ร คา่ รอ้ ยละของรายการใด = จำนวนความถี่ของรายการน้นั X 100

ความถ่ีทั้งหมด
3.2.1 คา่ เฉล่ยี เลขาคณิต (Arithmetic Mean) (ศรีลักษณ์, 2539:31-32)
สตู ร ̅ = ∑

N

เมอื่ ̅ คอื คา่ เฉล่ยี เลขาคณิต

∑ คือ ผลรวมของขอ้ มูลท้ังหมด

N คอื จำนวนขอ้ มูลท้ังหมด

33

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

ในการวิจัยครงั้ นี้ คณะผจู้ ัดทำนำเสนอการนำวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตามลำดับ ดังตอ่ ไปน้ี
4.1 การวเิ คราะหค์ วามพึงพอใจเคร่ืองจา่ ยเจลแอลกอฮอล์อตั โนมัติ
4.2 การวเิ คราะหป์ ระสิทธภิ าพการทำงานของเครอ่ื งจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ

4.1 การวเิ คราะห์ความพงึ พอใจเครือ่ งจ่ายเจลแอลกอฮอล์อตั โนมัติ
ตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะหก์ ารหาข้อมูลความพึงพอใจด้านโครงสร้างและการใชง้ านของเครื่องจ่าย
เจลแอลกอฮอลอ์ ตั โนมัติ
ระดบั ความพงึ พอใจ
5 – 4.5 (มากที่สุด) 4.4 – 4 (มาก) 3.9 – 3.5 (ปานกลาง) 3.4 – 3 (ปรับปรุง) 2.9 - 2 (แย่) 1.9 – 0
(แยม่ าก)

ข้อที่ ด้านรูปแบบ ค่าเฉลยี่ ระดับความพึงพอใจ

1 วสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ีใช้มีความเหมาะสม 4.25 มาก
4.5 มากทส่ี ดุ
2 ความแข็งแรงของเครือ่ งจา่ ยเจล 4.5 มากที่สุด
แอลกอฮอลอ์ ตั โนมัติ 4.25
4.75 มาก
3 สามารถเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ได้งา่ ย 4.45 มากที่สดุ

4 เคร่อื งจา่ ยเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัตมิ ี มาก
คณุ ภาพและมีความสวยงาม

5 มคี วามปลอดภยั ในการใชเ้ คร่ืองจ่ายเจล
แอลกอฮอลอ์ ัตโนมัติ

เฉลย่ี

34

จากตารางท่ี 4.1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู พบวา่ ผูเ้ ชี่ยวชาญมคี วามพึงพอใจในด้านโครงงานเคร่ืองจ่าย
เจลแอลกอฮอลอ์ ัตโนมัติ

ผลการวิเคราะห์พบว่าครูผู้เชี่ยวชาญมีความพึงพอใจในด้านโครงสร้างเครื่องจ่ายเจล
แอลกอฮอล์อัตโนมัติ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.45 ครูผู้เชี่ยวชาญ มีความพึงพอใจในด้าน
การทำงานของเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ เป็นไปตามเงื่อนไขในระดับมากที่สุด ที่ค่าเฉล่ีย
4.75 ส่วนด้านการออกแบบและขนาดโครงสร้างภายนอกครูผู้เชี่ยวชาญมีความพึงใจในระดับ มาก
ค่าเฉลีย่ 4.25
ข้อเสนอแนะของครูผ้เู ชย่ี วชาญมี ดังน้ี

1. การเจาะยดึ อุปกรณ์ควรเจาะให้มีความสวยงาม
2. ควรตดิ ปา้ ยสญั ลกั ษณก์ บั เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมตั ิ

35

บทท่ี 5
สรปุ วิจารณผ์ ลและขอ้ เสนอแนะ

รายงานการวิจัยเร่อื ง การทดสอบประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองจา่ ยเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ ผู้วจิ ยั
ได้เสนอสรุปผลการทดลองจำนวน 3 หัวขอ้ ดังตอ่ ไปนี้
5.1 สรปุ ผลการทดลอง

เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติทำงานได้ปกติ อุปกรณ์ทุกตัวทำงานปกติ สั่งให้ Relay
ทำงาน 1 วินาที และสง่ั ใหห้ ยุดการทำงาน 3 วินาที เครอื่ งจ่ายเจลแอลกอฮอล์อตั โนมัตมิ ีความแข็งแรง
และปลอดภยั ในการใช้งาน ไดท้ ดลองภายในช้นั เรยี นผลทดลองคือเคร่ืองจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ
ทำงานไดป้ กติ
5.2 วจิ ารณก์ ารทดลอง

เมื่อเสียบสายอะแดปเตอร์เซนเซอร์มีความไวต่อแสงสีขาวทำให้การทำงานของเซนเซอร์ไม่
เสถียรภาพ ทำให้มีการจ่ายเจลแอลกอฮอล์โดยอัตโนมัติ โดยที่ไม่มีบุคคลเดินผ่านหรือสัมผัสกับ
เซนเซอร์โดยตรง
5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 การเจาะยึดอุปกรณค์ วรเจาะใหม้ ีความสวยงาม
5.3.2 ควรตดิ ป้ายสญั ลกั ษณ์กับเครอ่ื งจา่ ยเจลแอลกอฮอล์อัตโนมตั ิ

ภาคผนวก ก
ประมวลผลประเมนิ ความพึงพอใจเกีย่ วกับการออกแบบและประสิทธภิ าพการใช้งานของ

เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอลอ์ ัตโนมัติ

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ เคร่ืองจ่ายเจลแอลกอฮอลอ์ ตั โนมตั ิ
สาขาวชิ าไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนคิ เพชรบรู ณ์

คำช้แี จง ใหผ้ ปู้ ระเมินใส่เครือ่ งหมาย / ลงในช่องวา่ งด้านลา่ งนต้ี ามความคิดเห็นของผู้ให้ข้อมูลซ่ึงจะมี
ระดบั คะแนนของความคิดเห็นดา้ นความพึงพอใจของผูใ้ ช้ดงั ตอ่ ไปน้ี

ข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

1. สถานะ นกั เรยี น ครู บคุ ลากร ประชาชนทั่วไป โปรดระบุ.......................

2. สังกัดคณะ/สำนกั /สถาบัน/หน่วยงาน……………………………………………………………………………………..

3. วุฒิการศึกษา ต่ำกว่าปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี

4. อายุ ตำ่ กว่า 20 ปี 20–40 ปี 41 ปีข้นึ ไป

ความพึงพอใจต่อโครงการ

ระดบั ความพึงพอใจ 5 = ดมี าก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรงุ

รายการประเมิน ระดบั ความพอใจ
5 4 3 21

1. วสั ดอุ ปุ กรณ์ทใ่ี ช้มคี วามเหมาะสม

2. ความแข็งแรงของเคร่ืองจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ

3. สามารถเคลอ่ื นยา้ ยอุปกรณ์ได้งา่ ย

4. เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติมีคุณภาพและมีความ

สวยงาม

5. มีความปลอดภัยในการใช้เครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อัตโนมตั ิ

ข้อเสนอแนะ

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ...........................................ผ้ปู ระเมนิ
(.........................................................)

ตำแหน่ง....................................................
วนั ที.่ ........./............./.............

ภาคผนวก ข
รปู ภาพการดำเนนิ โครงการเครื่องจ่ายเจลแอลกอฮอล์อตั โนมตั ิ

รูปภาพการดำเนนิ โครงการเคร่อื งจา่ ยเจลแอลกอฮอลอ์ ตั โนมตั ิ

1. เขียนโคด้ โปรแกรมลงบอร์ด Arduino Uno
2. ทำการตอ่ วงจรเข้ากบั Senser และ Relay
3. ทำการต่อข้วั มอเตอร์ป๊ัมDCเขา้ กับแบตเตอร่ีโดยใชแ้ บตเตอร่ีเป็นแหล่งจา่ ย

4. ทำการทดสอบประสทิ ธิภาพในการจ่ายเจลแอลกอฮอล์ และปรับค่า Delay ใหม้ คี วามเหมาะสม

5. ใช้ Adapter ในการจ่ายไฟใหบ้ อร์ด Arduino Uno แทนการใช้สาย USB ต่อเขา้ กับโนต้ บุ๊ค

6. ทำการประกอบชนิ้ ส่วนเข้ากับกล่องโดยติดตง้ั บอร์ด Arduino Uno, Senser, Relay อยู่กบั ตวั ฝา
กล่อง โดยให้แบตเตอรี่อยู่ฝั่งเดียวกับตัวกล่อง และให้มอเตอร์ปั๊มDC อยู่ใต้ขวดเจลแอลกอฮอล์เพ่ือ
ประสิทธภิ าพใหก้ ารไหลของเจลแอลกอฮอล์


Click to View FlipBook Version