รายงานสรปุ การเรียน (Coaching Techniques)
นางสาวอสั รา อมู า
นักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั นราธวิ าสราชนครนิ ทร์
สำนักงานยตุ ิธรรมจงั หวดั ยะลา
พฤศจิกายน ๒๕๖๕
ก
คำนำ
รายงานสรุปการเรียน (Coaching Techniques) ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสรุปการเรียนรู้งานเกี่ยวกับ
สำนกั งานยุตธิ รรมจงั หวดั ยะลา โดยเปดิ โอกาสให้เจา้ หนา้ ที่และนักศึกษาสหกจิ ศกึ ษาได้ศึกษา เรียนรู้ ทำเข้าใจ
รปู แบบแผนงานและกระบวนการทำงานของแตล่ ะฝ่าย รวมถึงกลุ่มของสำนักงานยุติธรรมจังหวดั ยะลาได้อย่าง
ถูกต้อง โดยได้ศึกษาผ่านแหล่งความรู้ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น แหล่งความรู้จากเจ้าหน้าที่ผู้สอน หนังสือ หรือจาก
การลงปฏิบัติ รวมทัง้ แหลง่ ความรู้จากสอ่ื ออนไลน์ตา่ งๆ
ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ ดร.อภิรัชศักดิ์ รัชนีวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา
ที่เปิดโอกาสให้ได้เรียนรู้ ศึกษา และขอขอบคุณเจ้าหน้าท่ีสำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลาทุกท่านที่สละเวลา
ให้ความรู้ ให้คำปรึกษาและแนวทางการศึกษา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่
ผู้ที่สนใจเกีย่ วกับแนวทางดา้ นการบริการประชาชนของสำนกั งานยุติธรรมจังหวัดยะลา หากมีสิ่งใดที่บกพรอ่ ง
ผู้จดั ทำยนิ ดีรับข้อเสนอแนะ เพื่อนำไปปรับปรุงตอ่ ไป
นางสาวอัสรา อมู า
ข หนา้
สารบญั ก
ข
เรอื่ ง ๑
1
คำนำ 1
สารบัญ
กระทรวงยตุ ธิ รรม 1
2
ส่วนราชการในสงั กัดสำนกั งานกระทรวงยุติธรรม 4
หนว่ ยงานในบังคับบัญชารัฐมนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ิธรรม 4
หน่วยงานทีจ่ ัดตง้ั ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันเพอ่ื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย 4
4
(องคก์ ารมหาชน) พ.ศ. 2554 4
อำนาจหน้าท่ีของสว่ นกลางในกระทรวงยุติธรรม 4
สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 4
บทบาทหน้าท่ีของสำนักงานปลดั กระทรวงยุติธรรม 5
วิสัยทัศนข์ องสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 5
ค่านยิ มของสำนักงานปลัดกระทรวงยตุ ิธรรม 6
พันธกิจ 6
ยทุ ธศาสตร์ 6
สำนักงานยุติธรรมจงั หวัด 6
อำนาจหน้าทสี่ ำนักงานยตุ ิธรรมจงั หวดั ยะลา 6
หนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมระดับจังหวดั กรณีจังหวัดยะลา 6
หน่วยงานราชการสว่ นกลางที่ตงั้ อยใู่ นสว่ นภมู ิภาค 8
วิสยั ทัศน์ (VISION) 12
พันธกิจ (MISSION) 12
“I AM YPJ” 13
โครงสรา้ งของสำนักงานยุตธิ รรมจังหวดั ยะลา ๑4
14
ฝา่ ยอำนวยการ
งานสารบรรณและธรุ การ
งานประชาสมั พันธ์
งานการเงนิ การบัญชี
งานบุคคล
กลมุ่ อำนวยความยตุ ธิ รรมและนติ กิ าร
กฎหมายที่เกยี่ วข้องกบั สำนกั งานยตุ ธิ รรมจังหวดั
ค
สารบญั
สำนักงานยุติธรรมจงั หวดั ยะลา (ต่อ) หนา้
พระราชบญั ญัติคา่ ตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลย
ในคดอี าญา พ.ศ. ๒๔๔๔ ๑4
พระราชบัญญัติคมุ้ ครองพยานในคดอี าญา พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑8
พระราชบัญญตั ิกองทนุ ยตุ ิธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ 20
พระราชบญั ญตั ิไกลเ่ กล่ียข้อพิพาท พ.ศ. ๒๕๖๒ 21
กองทุนยตุ ิธรรม ๒5
การบริการประชาชนของสำนักงานยุติธรรม 25
ยุตธิ รรมใส่ใจ 26
คลนิ กิ ยุติธรรม 27
กลุ่มพัฒนาและสง่ เสริมระบบงานยตุ ิธรรม ๒8
งาน 5 ส 28
งานเยี่ยมญาติผา่ นจอภาพ 30
ศนู ย์ยตุ ิธรรมชุมชน 32
อา้ งอิง 41
ประวัติผ้จู ัดทำ ๔2
ภาคผนวก 43
๑
กระทรวงยตุ ธิ รรม (Ministry of Justice)
กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางประเภทกระทรวงของไทย
ซึ่งมีภารกิจเป็นหน่วยงานหลักของกระบวนการยุติธรรม ในการดำเนินการเพื่อพัฒนากฎหมายและระบบ
บริหารจัดการของกระบวนการยุติธรรมอย่างเป็นเอกภาพ โปร่งใส คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ช่วยเหลือและให้ความรู้แก่ประชาชนทางกฎหมาย ป้องกนั ปราบปราม แก้ไข ฟืน้ ฟสู มรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
รวมทั้งป้องกัน แก้ไขปัญหาอาชญากรรมในสังคมและอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ การฟื้นฟูกิจการของลูกหน้ี
การบงั คับคดีแพ่ง บังคับคดลี ้มละลาย บงั คบั คดที างอาญาและบำบดั แกไ้ ขฟนื้ ฟผู ู้กระทำผิด
กระทรวงยุติธรรมก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2534 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุติธรรมและมีการ
เปลย่ี นชือ่ เป็นกระทรวงยุติธรรมในวนั ที่ 12 มนี าคม พ.ศ. 2496 มีพระดลุ ยพากย์สวุ มัณฑ์ (ป่ิณฑ์ ปทั มสถาน)
เป็นปลัดกระทรวงยุติธรรมคนสุดท้าย ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2492 ถึง 11 มีนาคม พ.ศ.
2495 และเป็นปลัดกระทรวงยุติธรรมคนแรกดำรงตำแหน่งระหว่างวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2495 ถึง วันที่
12 มีนาคม พ.ศ. 2496 และในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2496 ได้มีการโปรดเกล้าสัญญาธรรมศักดิ์เป็น
ปลัดกระทรวงคนที่สอง ต่อมาในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559
มีผลใช้บังคับ ส่งผลให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานคณะกรรมการคุมประพฤติ
ปลดั กระทรวงยุติธรรมเป็นรองประธานกรรมการคมุ ประพฤติ
ส่วนราชการในสงั กดั กระทรวงยตุ ธิ รรม ประกอบด้วย
1. สำนักงานรฐั มนตรี
2. สำนักงานปลดั กระทรวงยุติธรรม
3. กรมบังคับคดี
4. กรมคุมประพฤติ
5. กรมราชทัณฑ์
6. กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
7. กรมคุ้มครองสทิ ธิและเสรีภาพ
8. กรมพินจิ และค้มุ ครองเดก็ และเยาวชน
9. สำนักงานกิจการยตุ ิธรรม
10. สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
หนว่ ยงานในบงั คับบัญชารฐั มนตรวี ่าการกระทรวงยุติธรรม
สำนกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ (สำนักงาน ป.ป.ส)
หน่วยงานที่จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การ
มหาชน) พ.ศ. 2554
1. สถาบนั เพ่ือการยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน) เป็นองค์การมหาชนตามพระราชบัญญัติ
องคก์ ารมหาชน พ.ศ. 2542
2. สถาบันอนุญาโตตุลาการ เปน็ องคก์ ารมหาชนตามพระราชบัญญตั เิ ฉพาะ
๒
อำนาจหนา้ ทขี่ องสำนกั งานปลดั กระทรวงยุติธรรม มีอำนาจหน้าท่ี ดังตอ่ ไปน้ี
ปฏิบัติราชการทั่วไปของสำนักงานปลัดกระทรวงและราชการอื่นที่มิได้แยกให้เป็นหน้าที่ของกองหรือ
สว่ นราชการใดโดยเฉพาะอำนาจหน้าที่ดงั กลา่ วให้รวมถึง
๑. ปฏบิ ัตงิ านสารบรรณของสำนกั งานปลดั กระทรวง และของกระทรวง
๒. ดำเนนิ การเกี่ยวกบั งานชว่ ยอำนวยการและงานเลขานุการของสำนักงานปลัดกระทรวง
๓. ประชาสมั พันธ์และเผยแพร่กิจกรรมของหน่วยงานในสงั กัดกระทรวง
๔. ประสานราชการกบั หน่วยงานท้งั ภายในและภายนอกกระทรวง
๕. ปฏบิ ัตงิ านร่วมกับหรอื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอนื่ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย
โดยแบ่งงานภายในออกเปน็ ๒ ฝา่ ย ๒ กลุ่มงาน ดังน้ี
๑. ฝา่ ยสารบรรณ มหี นา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบเกี่ยวกบั
- งานสารบรรณของสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมและของกระทรวงยุติธรรม ได้แก่
การรับ – ส่งหนังสือ และเอกสารราชการ การจัดทำทะเบียนหนังสือเข้า - ออก การลงทะเบียนรับหนังสือ
การลงทะเบียนเอกสารออกเลขที่ของหนังสือ การคุมบัญชีหนังสือเวียนของกระทรวง การควบคุม ตรวจสอบ
จัดเก็บ รักษา ค้นหา ยืม คืนเอกสาร สิ่งพิมพ์ และหนังสือราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม
การสำรวจและการทำลายเอกสารตามระเบียบสำนกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ
มอบหมาย
๒. ฝา่ ยบริหารทั่วไป มีหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั
- ดำเนนิ การเกยี่ วกบั งานธรุ การท่วั ไป การพิมพห์ นังสือ ร่างโตต้ อบหนงั สือ
- ดูแลและดำเนินการตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.๒๕๕๐
และดำเนินการตามระเบยี บการรักษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ.๒๕๔๔
- ดำเนนิ การเกย่ี วการเงิน การบญั ชีของกอง
- ดำเนินการบรหิ ารจัดการเกย่ี วกับพสั ดุ ครุภณั ฑ์ของกอง
- ดำเนนิ การเกย่ี วกับการบริหารงานบคุ คลเบ้อื งตน้ ของกอง
- ดำเนนิ การดูแล website ของกอง
- ดำเนนิ การจัดทำสมุดโทรศพั ทก์ ระทรวงยตุ ิธรรมประจำปี
- ดำเนินการเกี่ยวกับงานรักษาความปลอดภัยของบุคคลที่มาติดต่อราชการซึ่งเข้า-ออก
ภายในสถานท่ีราชการของกระทรวงยุติธรรม และการบริหารจัดการสถานทที่ ีก่ องรับผดิ ชอบ
- ดำเนินการเรอื่ งการขอบตั รผ่านเขา้ ทำเนียบรฐั บาล และรฐั สภาของผูบ้ ริหาร
- ดูแลบริหารจัดการ อำนวยความสะดวกในการใช้ห้องประชุม และการจัดประชุม
ของกระทรวง
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ
มอบหมาย
๓. กลมุ่ งานชว่ ยอาํ นวยการและประสานราชการ มหี น้าทค่ี วามรับผดิ ชอบเก่ยี วกับ
- ดำเนินการเกี่ยวกับการช่วยอํานวยการนักบริหาร โดยการรวบรวมเสนอข้อมูล พิจารณา
วิเคราะห์ กลั่นกรอง เรื่องต่างๆ ของกระทรวงรวมทั้งเสนอความคิดเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยสั่งการ
ของผ้บู รหิ ารกระทรวง
๓
- การดําเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการนักบริหารของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
การจัดตารางนัดหมาย ประสานงาน อํานวยความสะดวกต่างๆ ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเรื่องก่อน
นําเสนอผู้บริหาร ติดตามข้อมูลตามแผนงานและโครงการที่ผู้บริหารให้ความสนใจและสั่งการ ช่วยสรุปเรื่อง
และวิเคราะห์เรื่อง เพื่อช่วยในการสั่งการของผู้บริหาร ตลอดจนการจัดเตรียมการประชุมและจดบันทึก
รายงานการประชมุ
- ติดต่อประสานงานกับส่วนราชการในสงั กัดและหนว่ ยงานอนื่ ๆ ดาํ เนนิ การตรวจเยี่ยม/ตรวจ
ราชการของปลดั กระทรวงยุติธรรม
- ดําเนินการจัดข้าราชการในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมไปร่วมงาน
พระราชพธิ รี ัฐพิธี ศาสนพิธี และงานพิเศษอื่นๆ
- อํานวยการประสานงานและกํากับติดตามงานรัฐพิธี งานพิธีการในโอกาสต่างๆ และงาน
กิจการพิเศษอ่นื ๆ ของผบู้ รหิ ารระดับสูงของกระทรวงยุติธรรม
- จัดทําและรวบรวมร่างคําขวัญ คํากล่าวปราศรัย สุนทรพจน์ ปาฐกถา คําบรรยาย
และเอกสารต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งของผบู้ ริหารระดบั สูงของกระทรวงยุติธรรม
- ดําเนินเกี่ยวกับการขอพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ ขอพระราชทานเพลิงศพและเครื่อง
ประกอบเกยี รติยศของข้าราชการกระทรวงยตุ ิธรรม
- ดาํ เนินการเร่ืองการขอบัตรผา่ นเขา้ ทําเนยี บรฐั บาลและรัฐสภาของผู้บรหิ าร
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ทไ่ี ด้รับมอบหมาย
๔. กลุ่มงานประชาสัมพนั ธ์ มีหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบเกย่ี วกบั
- ดำเนินการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัยและประเมินผลเพื่อพัฒนาระบบ
การประชาสัมพันธ์
- การจัดทำแผนประชาสมั พันธ์ และเป็นศนู ยก์ ลางการรวบรวม การใหบ้ ริการข้อมูลข่าวสาร
ประชาสัมพันธ์ของกระทรวง
- กำกับดูแลและติดตามประเมินผล และการรายงานผลการดำเนินงานประชาสัมพันธ์
ตามแผนงานประชาสัมพนั ธ์
- ดำเนินการพัฒนาระบบเทคนิคและวิธีการประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร
กิจกรรมและผลการดำเนินงานของสำนักงานปลดั กระทรวงยตุ ิธรรมและกระทรวงยตุ ิธรรม
- ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ การออกแบบศิลปกรรม การถ่ายภาพนิ่ง ภาพสไลด์ การถ่ายวีดีทัศน์
การจดั กิจกรรมภายใน ภายนอกกระทรวง งานพธิ ีการต่าง ๆ การจดั บอรด์ นิทรรศการในงานพิธีตา่ งๆ ตลอดจน
การผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์และประสานงานกับบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกเพื่อการผลิตสื่อวิทยุ
โทรทศั น์ วิทยกุ ระจายเสียง
- รวบรวมผลการดำเนินงาน ข่าวสารของกระทรวงยุติธรรม วิเคราะห์ข่าวที่มีผลกระทบ
ทางสื่อมวลชน รวมทั้งเสนอแนะวิธีการ แนวทางการประชาสัมพันธ์ต่อโฆษกกระทรวงยุติธรรมและรองโฆษก
กระทรวงยตุ ิธรรม เพ่อื ประโยชนใ์ นการใหข้ ้อมลู ข่าวสารของกระทรวงยุตธิ รรม
- การจดั แถลงข่าวชแ้ี จงทำความเข้าใจแก่สอ่ื มวลชนและประชาชน
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ
มอบหมาย
๔
สำนกั งานปลดั กระทรวงยุตธิ รรม
บทบาทหนา้ ท่ขี องสำนักงานปลัดกระทรวงยตุ ธิ รรม
สำนกั งานปลดั กระทรวงยตุ ิธรรม มีหนา้ ที่เสนอแนะนโยบายและยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวง ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรี จัดทำแผนแม่บทกระทรวง
ยุติธรรม การบริหารงานบุคคล การบริหารการเงิน การประชาสัมพันธ์ ดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายในความ
รบั ผดิ ชอบของกระทรวงยุตธิ รรม
วสิ ยั ทัศนข์ องสำนกั งานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม
"บรหิ ารจัดการงานกระทรวงยุติธรรมอย่างเป็นเลศิ "
ค่านิยมของสำนักงานปลดั กระทรวงยุตธิ รรม
"บรหิ ารจดั การอยา่ งมอื อาชีพ ด้วยจติ บริการ"
พันธกิจ
๑. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และมขี ีดสมรรถนะสูง
๒. พฒั นาระบบการจดั การความรู้ด้านการบริหารงานยตุ ิธรรม
๓. พฒั นาการอำนวยการ และประสานการปฏบิ ัติงานด้วยจิตบริการ
๔. ส่งเสรมิ และบรู ณาการความรว่ มมอื กบั ทุกภาคส่วนทัง้ ในและตา่ งประเทศ
๕. พฒั นาระบบการส่ือสารองคก์ ารอย่างมีคณุ ภาพ
๖. พัฒนาและดำเนินการตามกฎหมายและระบบงานยุตธิ รรมอย่างมีคณุ ภาพ
ยทุ ธศาสตร์
๑. พัฒนาประสทิ ธิภาพระบบการอำนวยการและการจดั การ
๒. พัฒนาประสทิ ธภิ าพระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
๓. เสริมสรา้ งและพฒั นาการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล
๔. พฒั นาเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื และยุติธรรมทางเลือก
๕. สนบั สนนุ และสง่ เสริมการอำนวยความยุติธรรม
สำนกั งานยตุ ธิ รรมจงั หวดั
สำนักงานยุติธรรมจังหวัด เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายในสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ในฐานะผู้แทน
กระทรวงยุติธรรมและสำนักงานปลัดกระทวงยุติธรรมและทำหน้าท่ีในการบริหารจดั การกระบวนการยตุ ิธรรม
ที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด รวมทั้งดำเนินการระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ซึ่งได้ดำเนินการ
จัดตงั้ มาตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2548 ในทกุ จงั หวดั (78 จังหวัด) ตอ่ มาได้มีการจดั ตั้ง สยจ.สาขาขน้ึ ตัง้ แตป่ งี บประมาณ
พ.ศ. 2559 จำนวน 5 สาขา ได้แก่ สยจ.เชียงใหม่ สาขาฝาง สยจ.สุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย สยจ.ยะลา
สาขาเบตง สยจ.ตาก สาขาแมส่ อด และสยจ.สรุ นิ ทร์ สาขารตั นบรุ ี และได้จัดต้ัง สยจ.บึงกาฬ ข้นึ มาในภายหลัง
ต่อมาปี พ.ศ. 2563 ได้มหี นังสอื เร่ืองการบริหารสำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลาและสำนักงานยุติธรรม
จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานยุติธรรมสุราษฎร์ธานี สำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา มีอำนาจในการบริหารงาน
๕
และการบังคับบัญชาพนักงานราชการและลูกจ้างช่วั คราว รวมถึงการบริหารงบประมาณการคลังและพัสดุของ
สำนักงานยุตธิ รรมจงั หวดั สาขาในพ้ืนท่ี
สำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา ได้จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงยุติธรรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับลงวันที่ ๒๖ เมษายน
๒๕๖๒ โดยได้กำหนดให้มีสำนักงานยุติธรรมจังหวัด ๑-๑๘ เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค และต่อมาได้มี
ประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เรื่อง การกำหนดที่ตั้งของสำนักงานยุติธรรมจังหวัด ๑-๑๘
พ.ศ. ๒๕๖๒ ลงวันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับลงวันที่ ๓๑
กรกฎาคม ๒๕๖๒ ข้อ ๑๘ กำหนดที่ตั้งสำนักงานยุติธรรมจังหวัด ๑๘ ให้ตั้งอยู่ ณ จังหวัดยะลา มีหน้าท่ี
และอำนาจในจังหวัดยะลา
สำนักงานยตุ ิธรรมจงั หวัดยะลา มีอำนาจหน้าท่ดี งั น้ี
1. จัดทำแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงยุติธรรมในระดับจังหวัดให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของ
กลุ่มจังหวัด รวมทง้ั คำของบประมาณจังหวดั และงบประมาณกลุ่มจงั หวัด
2. พฒั นาและส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนในภารกจิ ของกระทรวงยุติธรรม ศนู ย์ยุติธรรมชุมชน
และเครอื ขา่ ยกระทรวงยตุ ธิ รรม
3. ดำเนินงานกองทุนยุติธรรมและงานช่วยเหลือประชาชนทีต่ กเป็นเหย่ืออาชญากรรม รวมทั้งจำเลยท่ี
ถูกดำเนินคดีอาญาโดยมิได้เป็นผู้กระทำความผิดตามกฎหมายว่าด้วยค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทน
รวมถึงค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญาในระดับจังหวัด เพื่อให้เกิดการอำนวยความยุติธรรมและลดความ
เหลื่อมล้ำในการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน ดำเนินงานเกี่ยวกับงานเลขานุการคณะกรรมการ
พฒั นาการบริหารงานยตุ ิธรรมและคณะอนุกรรมการทค่ี ณะกรรมการดังกล่าวแต่งต้ัง
4. ดำเนินงานเกี่ยวกับงานเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมระดับจังหวัดและ
คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการดงั กล่าวแต่งตัง้
5. ปฏบิ ัติงานรว่ มกบั หรือสนบั สนุนการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวขอ้ งหรือที่ได้รบั มอบหมาย
หน่วยงานในสังกดั กระทรวงยุติธรรมระดับจังหวดั จังหวัดยะลา
1. สำนกั งานยุตธิ รรมจังหวดั ยะลา
2. สำนักงานบงั คับคดีจังหวดั ยะลา
3. สำนักงานคมุ ประพฤติจังหวัดยะลา
4. สถานพินจิ เด็กและเยาวชนจงั หวัดยะลา
5. ศูนยฝ์ กึ และอบรมเด็กและเยาวชนเขต 9
6. เรอื นจำกลางจังหวัดยะลา
๖
หน่วยงานราชการส่วนกลางทต่ี ง้ั ในสว่ นภมู ภิ าค
1. เรือนจำอำเภอเบตง
2. สำนักงานบังคับคดจี งั หวัดยะลา สาขาเบตง
3. สำนักงานยุติธรรมจังหวดั ยะลา สาขาเบตง
วิสัยทศั น์ (VISION)
เป็นองค์กรขบั เคล่ือนบูรณาการงานยตุ ิธรรมในการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย เขา้ ถึงและ
มีส่วนร่วมในกระบวนยตุ ิธรรมจงั หวดั ชายแดนใตเ้ พื่อลดความเหล่ือมลำ้ ในสังคม
พนั ธกิจ (MISSION)
๑. จดั ทำแผนปฏิบตั ิราชการของกระทรวงยตุ ธิ รรม
๒. พัฒนาและส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของประชาชน
๓. กองทนุ ยุติธรรมและงานช่วยเหลอื ประชาชน
๔. งานเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมระดับจังหวัด
" I AM YPJ " เราผยู้ ึดถอื อดุ มการณ์ความศรัทธาในผลผลติ ความยตุ ิธรรมเพื่อมาตภุ ูมจิ งั หวัดยะลา
I หรือ Idialism คอื ผ้ยู ดึ ถืออุดมการณ์
A หรือ Adhesion คือ การยึดม่นั /ความศรัทธา
M หรือ Motherland คือ มาตภุ มู ิ
Y หรือ Yield คือ ผลผลติ
P หรอื Province คือ จงั หวัด
J หรือ Justice คอื ความยุติธรรม
โครงสรา้ งของสำนกั งานยุตธิ รรมจงั หวัดยะลา
สำนกั งานยุตธิ รรมจังหวัดยะลา
ฝ่ายอำนวยการ กลุม่ อำนวยความยุติธรรม กลุ่มพฒั นาและสง่ เสรมิ
และนิติการ ระบบงานยตุ ธิ รรม
1. ฝา่ ยอำนวยการ
มหี นา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบเก่ียวกบั งานเลขานุการของยตุ ิธรรมจังหวัด งานธุรการท่ัวไป งานบริหารงาน
บคุ คล งานการเงิน งานงบประมาณ งานพัสดุ อาคารสถานที่และยานพาหนะ งานประสัมพนั ธง์ านศูนย์บริการ
ข้อมลู กระทรวงยุติธรรม งานประสานและสนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของหน่วยงานสังกดั กระทรวงยุติธรรมที่ไม่มี
หนว่ ยงานในจังหวดั งานกรรมการจังหวัดในฐานะผู้แทนกระทรวงยุติธรรม งานสนับสนนุ การตรวจราชการของ
กระทรวงยุติธรรมและส่วนราชการสังกัดกระทรวงยตุ ิธรรม
๗
งานท่ฝี า่ ยอำนวยการตอ้ งรับผิดชอบ มีดงั น้ี
1. งานสารบรรณ
1.1 งานรับ-ส่ง และลงทะเบยี นหนงั สอื ราชการ
1.2 งานคัดแยกหนังสอื และการเสนอหนงั สอื
1.3 งานรา่ งโตต้ อบหนงั สือราชการ
1.4 งานเกบ็ รกั ษา ยมื และทำลายหนังสอื ราชการ
1.5 งานแจ้งเวียนหนังสือราชการ คำสั่ง ประกาศ ให้หน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องรับทราบเพื่อถือ
ปฏบิ ตั ิ
1.6 งานค้นหาเอกสารต่างๆ ใหก้ ับงานต่างๆ ในฝา่ ย/กลุ่ม
1.7 งานลงเวลาและตรวจสอบการปฏิบตั ิราชการ
1.8 งานเดนิ หนงั สือ
1.9 การจดั ทำคำส่ังเวรรักษาการณ์
2. งานเอกสารการพมิ พ์
2.1 การพมิ พ์หนงั สือราชการ
2.2 การพมิ พแ์ บบฟอร์มต่างๆ
2.3 การทำสำเนาหนังสอื เชน่ ถา่ ยเอกสาร อัดสำเนา
2.4 การเรยี บเรยี งและจดั ทำรูปเล่ม
2.5 การจดั พมิ พค์ ำสงั่
3. งานประชุม
3.1 การจดั ทำหนงั สือเชญิ ประชมุ และเชญิ ประชมุ
3.2 การประสานดา้ นสถานทีแ่ ละอาหารในการประชุม
3.3 การจัดเตรียมเอกสารในการประชุม
3.4 การบนั ทกึ การประชุม
3.5 การจัดสง่ รายงานกรประชุม
4. งานประชาสมั พนั ธ์
4.1 การนำเสนอขอ้ มลู ข่าวสารผ่านเฟสบคุ๊ line
4.2 การประสานงานกับหนว่ ยงานภายในและภายนอกในการประชาสัมพนั ธ์
5. งานพสั ดุ
5.1 งานประสานการจัดซือ้ จัดจา้ ง
5.2 งานทะเบียนคุมพัสดุและรายงานการเบกิ จา่ ยพัสดุ
5.3 งานเบกิ จ่ายพัสดุ
๘
6. งานการเงนิ
6.1 การเบิกจ่ายงบประมาณต่างๆ ของสำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา เช่น ค่าพัสดุ ค่าจ้าง และ
ค่าตอบแทน
6.2 การเบกิ จา่ ยค่าตอบแทนอื่นๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง
7. งานงบประมาณ
7.1 การจดั ทำคำขอตั้งงบประมาณ
7.2 การจดั ทำแผนการใช้จ่าย
7.3 การควบคุม ดูแลและกำกบั การเบิกจา่ ยงบประมาณ
8. งานบคุ คล
8.1 การบริหารและพฒั นาระบบบรหิ ารทรัพยากรบุคคลของสำนกั งานยตุ ธิ รรมจงั หวัดยะลา
8.2 การเล่อื นข้นั เงินเดือน
8.3 การสรรหา บรรจุ แต่งตงั้ โอน ยา้ ยสับเปล่ยี นและการใหอ้ อกจากราชการ
8.4 จดั ทำทะเบยี นประวตั ิและข้อมลู บคุ คล
8.5 การประเมินประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลการปฏบิ ัตงิ าน
๘.6 การพิจารณาบำเหนจ็ ความชอบ เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์
8.7 การเกษียณอายุ บำเหน็จบำนาญ สิทธทิ ดแทน
8.8 การดำเนินการทางวนิ ยั และพิทกั ษร์ ะบบคณุ ธรรม
งานสารบรรณและธุรการ
“งานสารบรรณ” หมายถึง งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่ การจัดทำ การรับ การส่ง
การเกบ็ รกั ษา การยืม จนถึงการทำลาย
“หนังสือ” หมายถึง หนังสอื ราชการ
“อิเล็กทรอนิกส์” หมายถึง การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ
วิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกันและใหห้ มายความรวมถงึ การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรือ
อุปกรณท์ ี่เกยี่ วข้องกับการประยุกต์ใช้วิธตี า่ งๆ
“ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายถึง การรับส่งขอ้ มูลข่าวสาร หรือหนังสอื ผ่านระบบสื่อสารดว้ ย
วธิ ีการทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์
“ส่วนราชการ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งใน
ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศและ
ให้หมายความรวมถงึ คณะกรรมการด้วย
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ ปฏิบัติงานในเรื่อง
ใดๆ และให้หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะ
เดยี วกัน
๙
หนังสือเวยี น คือ หนังสือที่มีถึงผู้รับเป็นจำนวนมาก มีใจความอย่างเดียวกัน ให้เพิ่มรหัสตัวพยัญชนะ ว
หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง ซึ่งกำหนดเป็นเลขที่หนังสือเวียนโดยเฉพาะ เริ่มตั้งแต่เลข 1 เรียงเป็นลำดับไป
จนถึงสิ้นปีปฏิทิน หรือใช้เลขที่ของหนังสือทั่วไปตามแบบหนังสือภายนอกอย่างหนึ่งอย่างใด เมื่อผู้รับได้รับ
หนังสือเวียนแล้วเหน็ ว่าเรื่องนัน้ จะต้องให้หน่วยงานหรือบุคคล ในบังคับบัญชาในระดับต่างๆ ได้รับทราบด้วย
กใ็ ห้มีหนา้ ท่จี ดั ทำสำเนา หรือจัดส่งใหห้ น่วยงาน หรือ บคุ คลเหล่าน้ันโดยเรว็
ความสำคญั ของงานสารบรรณ
๑. เปน็ เอกสารราชการ บันทกึ งาน หลักฐานราชการอนื่ ๆ ของหน่วยงาน
๒. เป็นเครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการอ้างองิ
๓. เปน็ เครื่องมือท่ีช่วยในการบรหิ ารราชการ
๔. เปน็ หลกั ฐานราชการมคี ณุ ค่า
๕. เปน็ เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการติดตอ่ สือ่ สาร
สาระสำคญั ของสารบรรณตามระเบียบงานสารบรรณ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ (ฉบับท๒ี่ ) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ.๒๕๖๐ มีสาระสำคัญ ดงั นี้
หมวดที่ ๑ ชนดิ ของหนังสอื
1. หนังสอื ราชการ คือ เอกสารท่ีหลักฐานในราชการ ได้แก่
- สว่ นราชการถงึ สว่ นราชการ
- ส่วนราชการถึงบคุ คลภายนอก
- หน่วยงานอืน่ ถงึ สว่ นราชการ
- เอกสารท่ีทางราชการจดั ทำขน้ึ เพื่อเป็นหลกั ฐานในราชการ
- เอกสารทท่ี างราชการจัดทำขน้ึ ตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบงั คับ
2. ชนิดของหนงั สอื ราชการ หนังสือราชการ มี 7 ชนิด คอื
1. หนังสอื ภายนอก
หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีโดยใช้กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือ
ติดตอ่ ระหวา่ งสว่ นราชการ หรือส่วนราชการมถี งึ หนว่ ยงานอื่นใดซงึ่ มิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถึงบคุ คลภายนอก
2. หนังสอื ภายใน
หนังสือภายใน คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือ
ติดตอ่ ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรอื จังหวดั เดยี วกัน ใช้กระดาษบันทกึ ข้อความ
3. หนงั สอื ประทบั ตรา
หนงั สอื ประทบั ตรา คือ หนงั สอื ทีใ่ ชป้ ระทบั ตราแทนการลงช่ือของหวั หนา้ ส่วนราชการระดับกรม
ขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
เป็นผู้รบั ผดิ ชอบลงชือ่ ย่อกำกบั ตรา
๑๐
4. หนงั สอื สง่ั การ
หนังสอื สง่ั การมี 3 ชนิด ได้แก่ คำส่งั
4.1 คำสั่ง คือ บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสัง่ การให้ปฏิบัติโดยชอบดว้ ยกฎหมายใช้กระดาษ
ตราครฑุ
4.2 ระเบียบ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้โดยจะอาศัยอำนาจของกฎหมาย
หรอื ไมก่ ็ไดเ้ พื่อถอื เป็นหลักปฏิบตั งิ านเปน็ การประจำ ใชก้ ระดาษตราครุฑ
4.3 ข้อบังคับ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมาย
ทบ่ี ญั ญัติใหก้ ระทำได้ ใชก้ ระดาษตราครุฑ
5. หนงั สือประชาสมั พันธ์
หนงั สอื ประชาสมั พนั ธม์ ี 3 ชนดิ ได้แก่
5.1. ประกาศ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบ หรือแนะแนวทาง
ปฏิบัติใชก้ ระดาษตราครฑุ
5.2. แถลงการณ์คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการ ของทาง
ราชการ หรือเหตกุ ารณ์หรอื กรณีใดๆ ให้ทราบชัดเจนโดยทว่ั กัน ใช้กระดาษตราครฑุ
5.3. ขา่ ว คอื บรรดาขอ้ ความท่ที างราชการเหน็ สมควรเผยแพรใ่ หท้ ราบ
6. หนังสอื ที่เจ้าหนา้ ท่ีทำข้ึน หรือรับไวเ้ ป็นหลักฐานในราชการ
หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ คือ หนังสือที่ทางราชการทำขึ้น
นอกจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น หรือหนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึง
ส่วนราชการและส่วนราชการรับไว้เป็นหลักฐานของทางราชการมี ๔ ชนิด คือ หนังสือรับรอง รายงานการ
ประชมุ บนั ทกึ และหนงั สืออื่น
6.1 หนังสือรับรอง คือ หนังสือที่ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่บุคคล นิติบุคคล หรือ
หน่วยงาน เพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดให้ปรากฏแก่บุคคลโดยทั่วไป ไม่จำเพาะเจาะจง ใช้กระดาษ
ตราครุฑ
6.2 รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วม ประชุมและมติ
ของทีป่ ระชมุ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน
6.3 บนั ทกึ คือ ขอ้ ความซึ่งผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้บังคับบัญชาสั่งการแก่
ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือข้อความที่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานระดับต่ำกว่าส่วนราชการระดับกรมติดต่อกันในการ
ปฏิบัตริ าชการ โดยปกติให้ใชก้ ระดาษบันทกึ ขอ้ ความ
6.4 หนงั สอื อื่น คอื หนงั สือหรือเอกสารอื่นใดท่ีเกิดขึ้นเนอื่ งจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีเพื่อ
เป็นหลักฐานในราชการ ซึ่งรวมถึงภาพถ่าย ฟิล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพและสื่อกลางบันทึก
ข้อมูลด้วย หรอื หนังสอื ของบุคคลภายนอกทีย่ ืน่ ต่อเจ้าหนา้ ที่และเจา้ หนา้ ทไี่ ด้รบั เขา้ ทะเบียนรับหนังสือของทาง
ราชการแล้วมีรูปแบบตามที่กระทรวง ทบวง กรม จะกำหนดขึ้นใช้ตามความเหมาะสม เว้นแต่มีแบบตาม
๑๑
กฎหมายเฉพาะเร่อื งใหท้ ำตามแบบ เชน่ โฉนด แผนที่ แบบ แผนผัง สัญญา หลกั ฐาน การสืบสวนและสอบสวน
และคำร้อง เป็นตน้
๗. หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์(E-Book)
E-Book ย่อมาจากคำว่า Electronic Book หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรม
คอมพวิ เตอรม์ ลี กั ษณะเปน็ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มขอ้ มูลทีส่ ามารถอา่ นเอกสารผ่านทาง
หน้าจอคอมพวิ เตอร์ ทั้งในระบบออฟไลน์ และออนไลน์
คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ ของหนังสือ เว็บไซต์
ต่างๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ
เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบและสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการ
หน่งึ ทสี่ ำคัญกค็ ือ หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ สส์ ามารถปรับปรงุ ให้ทนั สมยั ไดต้ ลอดเวลาซง่ึ คุณสมบัตเิ หลา่ นี้จะไม่มี
ในหนังสอื ธรรมดาทัว่ ไป
ประเภทของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มกี ารจดั เก็บข้อมลู อยู่หลายประเภท ไมว่ า่ จะเป็นข้อความ รูปภาพ เสยี ง
ภาพเคลื่อนไหว ซ่งึ แบ่งออกไดห้ ลายประเภทตามคุณสมบัติดังน้ี
1. Text books บรรจุข้อมูลในรูปตัวหนังสือ ในลักษณะเชิงเส้นตรง ซึ่งใช้ในการค้นหาโดยเครื่องมือ
ชว่ ยสบื ค้น (search engine) หรือใช้ browser
2. Picture books บรรจุภาพนิ่งชนดิ ตา่ งๆ ซง่ึ ไม่มีเสยี ง
3. Talking books เป็นหนังสือที่มีเสียงพูด เสียงบรรยาย ดนตรีและเสียงประกอบ เพื่อประกอบ
การนำเสนอข้อมลู ซง่ึ นยิ มใชใ้ นกลมุ่ ผู้สญู เสียการมองเหน็
4. Moving picture books บรรจุภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ซึ่งอยู่บนฐานของเทคนิคภาพเคลื่อนไหว
หรอื วดี โี อ
5. Multimedia books เป็นหนังสือที่ประกอบไปด้วยสื่อ 3 ส่วนคือ ข้อความ เสียงและรูปภาพ
ซึ่งเป็นลกั ษณะของหนงั สอื สอ่ื ประสม
6. Polymedia books จะใช้สื่อทั้งแบบอิเล็กทรอนิกส์และไม่ใช่อิเล็กทรอนิกส์ร่วมกัน เช่น กระดาษ
และซีด–ี รอม
7. Hypermedia books ลักษณะคล้ายกับ Multimedia books ข้อมูลมีลักษณะไม่เป็นเส้นตรง
มกี ารเช่อื มโยงข้อมูลโยงใยเปน็ เครือข่ายท่ซี ับซ้อน
8. Intelligent electronic books เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีการวิเคราะห์พฤติกรรม
และความต้องการของผู้ใชเ้ พ่อื ปรับใหเ้ หมาะท่จี ะปฏสิ มั พนั ธ์กบั ผ้ใู ช้แต่ละคน
9. Telemedia books เป็นหนังสือที่สร้างเพื่อความสะดวกในการติดต่อเกี่ยวกับการส่งข้อความ
หรอื ปรบั ปรุงข้อมูลให้ทนั สมยั
10. Cyber books บรรจุข้อมูลในลักษณะเสมือนจริงไว้ เพื่อทดลองปฏิบัติการ เช่น ห้องฝึกงาน
ของชา่ งเครอ่ื ง เป็นตน้ ซ่ึงจะเป็นการเตรียมประสบการณใ์ หผ้ ้อู า่ นในสิ่งที่สนใจ
หมวดท่ี ๒ การรบั และส่งหนงั สือ
หนังสือรบั คอื หนังสือท่ีได้รับเขา้ มาจากภายนอกให้เจ้าหน้าท่ขี องหน่วยงานสารบรรณกลางปฏิบัติ
ตามท่กี ำหนด
๑. จัดลำดับความสำคญั และความเร่งด่วนของหนังสือเพือ่ ดำเนินการก่อนหลงั
๑๒
๒. ประทับตรารับหนังสือตามแบบที่ ๑๒ ทีม่ ุมด้านขวาของหนงั สอื โดยกรอกรายละเอยี ด
- เลขรับ ใหล้ งเลขท่รี ับตามเลขทรี่ บั ในทะเบยี น
- วันท่ี ใหล้ งวนั เดอื น ปี ทรี่ ับหนังสือ
- เวลา ให้ลงเวลาทร่ี ับหนังสือ โดยตรารับมี ขนาด ๒.๕ x ๕ ซ.ม.
หนังสอื ส่ง คือ หนงั สือท่สี ง่ ออกไปภายนอกใหป้ ฏบิ ตั ิตามที่กำหนดไว้
๑. ใหเ้ จ้าของเรอื่ งตรวจความเรยี บร้อยของหนังสือ รวมทัง้ สงิ่ ทจี่ ะสง่ ไปดว้ ยใหค้ รบถว้ น
๒. เม่ือเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานสารบรรณกลาง ได้รับเรื่องและดำเนินการลงทะเบียน
ส่งหนังสือในทะเบียนหนังสือสง่ ตามแบบที่ ๑๔
งานประชาสัมพนั ธ์
งานประชาสัมพนั ธ์ PR (Public Relationship) หรอื งานประชาสมั พันธเ์ ปน็ ตำแหนง่ งานทเี่ ก่ยี วข้องกับ
การส่ือสารขอ้ มลู เพอ่ื ให้เกิดความเขา้ ใจเปน็ หลัก นักประชาสมั พันธ์ทดี่ จี ำเป็นจะต้องเปน็ ผ้ทู ่ีมีความสามารถใน
การส่งสารอย่างมีประสิทธิภาพหาช่องทางในการสื่อสารที่ดี โดยเน้นที่ความเข้าใจของผู้รับสารเป็นหลักและ
จำเป็นอยา่ งย่งิ ทจ่ี ะไม่ทำให้สารทสี่ ่งออกไปน้นั ถูกบดิ เบือน การประชาสัมพันธเ์ ป็นช่องทางหน่ึงท่ชี ว่ ยให้องค์กร
สามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลภายนอก อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ด้านดีให้เป็นที่จดจำ โดยมี
นักประชาสัมพันธ์ หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าเจ้าหน้าท่ี PR จะเป็นผู้ที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการส่งข้อมูล
ข่าวสารท่ดี ี
ประเภทของสอื่ ทีใ่ ช้งานประชาสมั พันธ์ ไดแ้ ก่
- ส่ือสิ่งพิมพ์ เชน่ หนงั สือ โปสเตอร์ ไวนลิ ปา้ ยโฆษณา แผนพับ และเอกสารตา่ งๆ
- สอื่ อนิ เทอรเ์ นต็ เช่น หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ e-book ไฟลส์ ำเร็จรปู pdf โปสเตอรร์ ูปภาพ
- สื่อบุคคลมายถึง บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ซึ่งสามารถถ่ายทอด
สาระความรู้ แนวคดิ และประสบการณ์ไปสูค่ นอนื่ เช่น วทิ ยากร
- ทีม่ าของสอื่ แต่ละประเภท
- สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยี ได้รับจากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กลุ่มงานนโยบายยุทธศาสตร์
ดา้ นความมั่นคง
- สำนกั งานยุติธรรมจังหวดั ยะลา
- เวบ็ ไซต์กระทรวงยุติธรรม
- แอพลเิ คช่ันยตุ ธิ รรมใสใ่ จ Justice Care
- บทความจากผู้อำนวยการและเจ้าหนา้ ท่สี ำนกั งานยุติธรรมจังหวดั ยะลา
งานการเงินการบัญชี
ความรู้เรื่องงบประมาณแผ่นดิน คือ เงินของแผ่นดินที่กฎหมายอนุญาตให้รัฐบาลนำไปใช้จ่าย
ในการบริราชการแผ่นดิน และรวมทง้ั ทีอ่ งค์กรอน่ื ๆของรฐั นำไปใชจ้ า่ ยตามอำนาจหนา้ ที่และภารกจิ ทีก่ ำหนดไว้
ในรัฐธรรมนูญ งบประมาณรายจ่ายของแผน่ ดนิ น้ีได้มาจากเงินภาษีอากรของประชาชน โดยผา่ นความเห็นชอบ
จากตัวแทนของประชาชนคือรัฐสภา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสภาผู้แทนราษฎรก่อน ด้วยเหตุนี้รัฐธรรมนูญ
๑๓
จึงได้มีการบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายเป็นจำนวนเงินที่อนุญาตให้
จ่ายหรือให้ก่อหนี้ผูกพันได้ ตามวัตถุประสงค์และภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณ
รายจ่าย ซึ่งตามบทบัญญัติแห่งพระราบัญญัติวิธีงบประมาณ มาตรา 4 กำหนดหลักการของงบประมาณ
แผน่ ดินและการจัดทำงบประมาณดังนี้
๑. งบประมาณรายจ่ายเป็นอำนาจการใช้จ่ายเงินแผ่นดินของรัฐบาลได้อนุญาตให้ไว้ในรูปแบบ
ของพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ซึ่งรัฐบาลกระทำภายใต้กรอบวัตถุประสงค์ในระยะเวลา
ทกี่ ฎหมายกำหนดหรอื อนญุ าตไว้ เท่านน้ั
๒. การใช้จ่ายเงินแผน่ ดิน ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี จะกระทำได้เฉพาะภายใน
งบประมาณนั้นๆ เมื่อล่วงพันปีงบประมาณไปแล้วจะไม่ถือเป็นการจ่ายเงินในระบบงบประมาณแผ่นดิน
กล่าวคือ ต้องนำส่งคลัง เว้นแต่จะได้ดำเนินการโดยวิธีการกันเงินไว้เบิกเหลือมข้ามปีตามวิธีการที่กฎหมาย
บัญญัตไิ ว้
ประเภทของงบประมาณแผน่ ดิน แบ่งไดด้ งั น้ี
1. งบประมาณสมดุล (Balance Budget) หมายถึง งบประมาณที่รายได้ของรัฐบาลรวมกันแล้ว
เท่ากับรายจ่ายของรัฐบาลพอดี ดังน้นั รัฐบาลไม่จำเป็นต้องกูเ้ งนิ มาใชจ้ ่ายหรอื นำเงินคงคลงั ออกมาใช้
2. งบประมาณไม่สมดุล (Unbalanced Budget) หมายถึง งบประมาณที่รายได้ของรัฐบาล
ไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐบาล ถ้ารายได้ของรัฐบาลสูงกว่ารายจ่ายของรัฐบาลเรียกว่า งบประมาณเกินดุล
(Surplus Budget) ซึ่งรัฐบาลจะมีรายได้เหลือจากการใช้จ่าย เงินคงคลังของรัฐบาลจะเพิ่มขึ้น ถ้ารายได้
ของรัฐบาลต่ำกว่ารายจ่ายของรัฐบาล เรียกว่า งบประมาณขาดดุล (Deficit Budget) ซึ่งรัฐบาลจะต้องกู้เงิน
หรอื นำเงนิ คงคลังออกมาใช้จา่ ย
หลกั การจำแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ จำแนกออกเป็น ๒ ลักษณะ ได้แก่
๑. รายจา่ ยของสว่ นราชการ และรฐั วิสาหกิจ
๒. งบรายจ่ายกลาง
งานบคุ คล มีหน้าท่ี คือ
1. การบริหารและพฒั นาระบบบรหิ ารทรัพยากรบุคคลของสำนกั งานยุตธิ รรมจังหวัด
2. การเล่อื นขน้ั เงนิ เดือน
3. การสรรหา บรรจุ แต่งต้ัง โอน ย้ายสับเปล่ยี นและการใหอ้ อกจากราชการ
4. จดั ทำทะเบยี นประวัตแิ ละข้อมลู บคุ คล
5. การประเมินประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลการปฏิบตั งิ าน
6. การพิจารณาบำเหนจ็ ความชอบ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์
7. การเกษยี ณอายุ บำเหน็จบำนาญ สิทธทิ ดแทน
๑๔
2. กลุ่มอำนวยความยุตธิ รรมและนิติการ
มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการประสานให้ความช่วยเหลือประชาชนด้านกฎหมายและ
กระบวนการยุติธรรม งานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน งานเสริมสร้างความเป็นธรรมและอำนวย
ความยุติธรรมที่ได้รับมอบหมาย การให้คำปรึกษากฎหมาย การรับเรื่องราวร้องทุกข์ การไกล่เกล่ีย
ประนีประนอมข้อพิพาท กองทุนยุติธรรม บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบกรมคุ้มครองสิทธิ์และเสรีภาพ เช่น
การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายคือให้คำปรึกษากฎหมาย ร้องเรียนเรื่องราวร้องทุกข์ ส่งเสริมสิทธิ
ผ้ตู อ้ งหาในการสอบสวนคดีอาญา ตดิ ตามค่าตอบแทนผู้เสยี หายหรอื ค่าตอบแทนและค่าใชจ้ า่ ยจำเลย
การอำนวยความสะดวกในเร่ืองความเปน็ ธรรมในสังคมสิ่งท่ีสำคัญคือต้องมีสานสัมพันธท์ ่ีดี ทำตัวให้เล็ก
กว่าชาวบ้านและจับมือร่วมมือกับผู้นำชุมชน เปรียบตัวเองให้เหมือนถังขยะสามารถรับรู้เรื่องราวทุกอย่าง
ทชี่ าวบ้านขอความช่วยเหลือและรอ้ งทุกข์
กฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับสำนักงานยุตธิ รรมจงั หวดั
๑. พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา
พ.ศ. ๒๕๕๔
๒. พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๕๖
๓. พระราชบัญญัตกิ องทุนยตุ ิธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘
๔. พระราชบัญญัติการไกล่เกลีย่ ข้อพพิ าท พ.ศ. ๒๕๖๒
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา
พ.ศ. 2544
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา
พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นกฎหมายที่ให้สิทธิแก่ผู้เสียหายในคดีอาญาในการขอรับเงินช่วยเหลือจากรัฐ ในกรณีท่ี
ผู้เสียหายได้รับความเสียหายจากการกระทำในคดีอาญา ได้รับความเดือดร้อน รัฐจึงยื่นมือเข้าช่วยเหลือจึงถอื
ว่าเป็นสวัสดิการของรัฐประเภทหนึ่ง โดยผู้เสียหายที่มีสิทธิจะได้รับค่าตอบแทนตามกฎหมายดังกล่าว
จะต้องเป็นบุคคลซึ่งได้รับความเสียหายถึงแก่ชีวิตร่างกาย หรือจิตใจอันเน่ืองมาจากการกระทำความผิดอาญา
ของบุคคลอื่นโดยที่ตนมิได้มีส่วนเกี่ยวข้องด้วยในการกระทำความผิดนั้น ดังนั้น หากว่าผู้เสียหายมีส่วน
เกี่ยวข้องด้วยในการกระทำความผิด ผู้เสียหายก็ไม่มีสิทธิที่จะขอรับค่าตอบแทน แม้ว่าผู้เสียหายจะได้รับ
ค่าตอบแทนจากรัฐ ตามกฎหมายดังกล่าวแล้ว ก็ไม่เป็นการตัดสิทธิผู้เสียหายที่จะพึงได้ตามกฎหมายอื่นอีก
และผู้เสียหายมีสิทธิที่จะได้รับค่าตอบแทนดังกล่าว เฉพาะสำหรับฐานความผิดที่กระทำต่อผู้เสียหายตาม
รายการท่รี ะบุไวท้ ้ายพระราชบัญญัตินเี้ ทา่ น้ัน โดยคา่ ตอบแทนทีผ่ ้เู สยี หายจะขอรับไดน้ ั้น
สาระสำคัญพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา
พ.ศ. 2544 มดี งั นี้
๑๕
1. คำจำกัดความ
“ผเู้ สียหาย” หมายความวา่ บคุ คลซึ่งได้รบั ความเสียหายถงึ แกช่ ีวติ หรือร่างกายหรือจิตใจ เน่ืองจาก
การกระทำความผิดอาญาของผอู้ ่ืน โดยตนมไิ ด้มสี ว่ นเก่ียวขอ้ งกับการกระทำความผิดนน้ั
“จำเลย” หมายความวา่ บคุ คลซง่ึ ถกู ฟ้องต่อศาลวา่ ได้กระทำความผิดอาญา
“ค่าตอบแทน” หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่ผู้เสียหายมีสิทธิได้รับเพื่อตอบ
แทนความเสยี หายท่ีเกิดขน้ึ หรอื เน่ืองจากมีการกระทำความผดิ อาญาของผู้อ่นื
“ค่าทดแทน” หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่จำเลยมีสิทธิได้รับเนื่องจาก
เป็นจำเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังระหว่างการพิจารณาคดีและมีคำพิพากษาถึงที่สุดในคดีนั้นฟังเป็นยุติว่า
จำเลยมิได้เปน็ ผู้กระทำความผิดหรอื การกระทำความผิดของจำเลยไม่เปน็ ความผดิ
การให้ความช่วยเหลือของพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่
จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 โดยจะให้ความช่วยเหลอื ทางการเงินแก่บุคคล 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1. ผเู้ สียหายในคดีอาญา
2. จำเลยในคดีอาญา
2. ผเู้ สยี หายทีม่ สี ทิ ธไิ ดร้ บั ค่าตอบแทนตามพระราชบัญญตั ินต้ี อ้ งมีลกั ษณะดังต่อไปน้ี
1. เปน็ บุคคลซ่งึ ได้รบั ความเสียหายถงึ แก่ชวี ติ ร่างกายหรือจิตใจ เน่อื งจากการกระทำความผิดอาญา
ของผู้อน่ื
2. ตอ้ งเปน็ ความเสยี หายที่เกดิ จากการกระทำความผิดทางอาญาของบุคคลอ่ืน
3. ผูท้ ่ีไดร้ บั ความเสยี หายต้องไม่มีส่วนรว่ มหรอื สนับสนุนการกระทำผดิ ดงั กลา่ ว
4. ความผดิ นั้นตอ้ งเป็นความผิดตามรายการทรี่ ะบุไวท้ ้ายพระราชบัญญตั ินี้เทา่ น้ัน ซึง่ ได้แก่
- ความผดิ เก่ียวกบั เพศ (มาตรา 276 – 287)
- ความผดิ ต่อชวี ติ (มาตรา 288 – 294)
- ความผดิ ต่อรา่ งกาย (มาตรา 295 – 300)
- ความผดิ ฐานทำใหแ้ ทง้ ลูก (มาตรา 301- 305)
- ความผิดฐานทอดทงิ้ เดก็ คนปว่ ย หรือคนชรา (มาตรา 306- 308)
3. วธิ กี ารยน่ื และระยะเวลาในการยืน่ คำขอรบั สิทธิ์กรณีผู้เสยี หาย
ผู้เสียหาย ทายาทของผู้เสียหายหรือผู้รับมอบอำนาจสามารถยื่นเรื่องขอรับสิทธิ์ได้ที่สำนักงาน
ยุติธรรมจังหวัดทั่วประเทศ ผู้เสียหายสามารถยื่นคำขอภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ผู้เสียหายได้รู้ถึงการกระทำ
ความผดิ จำเลย นับแตว่ นั ทถ่ี อนฟอ้ งหรือมีคำพิพากษาจากศาลอันถงึ ท่สี ุดว่าจำเลยไม่มคี วามผดิ
4. เอกสารทผี่ ู้เสียหายต้องยนื่
1. สำเนาบตั รประจำตวั ประชาชน/บัตรประจำตวั เจ้าหน้าทขี่ องรัฐ (ผ้เู สยี หายและผ้มู ีสทิ ธิย์ น่ื )
2. สำเนาทะเบยี นบ้านของผู้เสียหายและผู้มสี ทิ ธิ์ย่ืน
3. สำเนาทะเบยี นสมรส
๑๖
4. สำเนาสูติบตั ร
5. สำเนาใบเปลย่ี นช่ือ/สกุล
6. หนังสอื มอบอำนาจ
7. ใบเสรจ็ ค่ารักษาพยาบาลและอน่ื ๆ (ถ้ามี)
8. สำเนาใบรับรองแพทย์
9. สำเนาบันทึกรายงานการสอบสวนของสถานีตำรวจและสำเนารายงานประจำวนั เกย่ี วกับคดี
10. สำเนาใบมรณะบัตร
11. สำเนาใบชันสตู รแพทย์
12. สำเนาหลักฐานการไดร้ ับค่าชดเชยคา่ เสยี จากหน่วยงานอนื่
13. ใบแต่งทนาย (ถา้ มี)
14. สัญญาจา้ งว่าความพร้อมสำเนาบัตรของทนายความ
15. หนังสอื รบั รองรายได้
16. สำเนาบัตรประจำตวั ของผรู้ ับรองรายได้ (ผู้ใหญบ่ า้ น กำนัน หรือบคุ คลท่นี า่ เชอื่ ถอื )
17. สำเนาทะเบยี นบ้านของผูร้ ับรองรายได้
5. อัตราการจา่ ยค่าตอบแทนของผูเ้ สียหายในคดีอาญา
กรณีบาดเจบ็
1. คา่ ใชจ้ ่ายทีจ่ ำเปน็ ในการรกั ษาพยาบาล ใหจ้ ่ายเท่าทีจ่ า่ ยจรงิ แตไ่ ม่เกิน 40,000 บาท
2. คา่ ฟืน้ ฟูสมรรถภาพทางรา่ งกายและจติ ใจ ใหจ้ ่ายเท่าที่จา่ ยจริงแต่ไมเ่ กิน 20,000 บาท
3. ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างที่ไม่สามารถประกอบการงานได้ตามปกติ ให้จ่ายตาม
อัตราจ้างขั้นต่ำตามจังหวัดที่เกิดเหตุ เป็นระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ไม่สามารถประกอบการงาน
ได้ตามปกติ
4. คา่ ตอบแทนความเสยี หายอื่นตามท่คี ณะกรรมการเห็นสมควร ใหจ้ ่ายไมเ่ กิน 50,000 บาท
กรณเี สยี ชวี ติ
1. คา่ ตอบแทน ให้จ่ายเป็นเงินตัง้ แต่ 30,000 บาท แต่ไม่เกนิ 100,000 บาท
2. ค่าจดั การศพ ใหจ้ ่ายจำนวน 20,000.03 บาท
3. คา่ ขาดอุปการะเลยี้ งดู ให้จ่ายจำนวนไม่เกิน 40,000 บาท
4. คา่ เสียหายอ่นื ใหจ้ า่ ยตามทีค่ ณะกรรมการเหน็ สมควรแตไ่ มเ่ กนิ 40,000 บาท
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง คณะกรรมการจะกำหนดให้
ผู้เสียหายได้รับค่าตอบแทนเพียงใดหรือไม่ก็ได้ โดยคำนึงถึงพฤติการณ์และความร้ายแรงของการกระทำ
ความผิดและสภาพความเสียหายทีผ่ ู้เสียหายไดร้ ับ รวมท้งั โอกาสที่ผูเ้ สียหายจะได้รับการบรรเทาความเสียหาย
โดยทางอื่นดว้ ย
๑๗
6. การไดร้ ับคา่ ทดแทนและค่าใช้จ่ายแกจ่ ำเลยในคดีอาญา
จำเลยท่ีมีสทิ ธไิ ด้รับค่าทดแทนและคา่ ใชจ้ ่ายตามพระราชบญั ญัติน้ี ตอ้ งมลี กั ษณะดังต่อไปน้ี
1. เปน็ บคุ คลซึง่ ถูกฟ้องไดว้ า่ กระทำความผดิ อาญา
2. จำเลยทีถ่ ูกดำเนินคดโี ดยพนกั งานอัยการ
3. ถูกคุมขังในระหว่างพิจารณาคดีและปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าจำเลยมิได้เป็นผู้กระทำคว ามผิด
และมกี ารถอนฟอ้ งในระหว่างดำเนินคดี หรือปรากฏตามคำพิพากษาอันถึงที่สดุ ในคดนี ัน้
4. ขอ้ เทจ็ จรงิ ฟงั เป็นยตุ วิ ่าจำเลยมไิ ด้เป็นผูก้ ระทำความผดิ หรอื การกระทำของจำเลยไม่เปน็ ความผิด
ในคดีที่มีจำเลยหลายคน จำเลยคนใดถึงแก่ความตายก่อนมีคำพิพากษาถึงที่สุดและ
คณะกรรมการเห็นสมควรจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายให้แก่จำเลยอื่นที่ยังมีชีวิตอยู่ถ้าเป็นเหตุอยู่ในลักษณะ
คดี จำเลยทถ่ี ึงแก่ความตายน้นั มีสิทธิได้รบั คา่ ทดแทนและคา่ ใช้จ่ายตามพระราชบญั ญตั นิ ้ีได้ดว้ ย
7. วิธกี ารยนื่ และระยะเวลาในการยน่ื คำขอรับสิทธ์ิ กรณีจำเลย
1. จำเลย หรือผรู้ บั มอบอำนาจสามารถย่นื เร่ืองขอรับสิทธ์ิได้ทสี่ ำนักงานยตุ ิธรรมจังหวัด ทั่วประเทศ
หรือสำนักงานช่วยเหลือทางการเงนิ แก่ผเู้ สียหายและจำเลยในคดีอาญา
2. กรณีจำเลยขอรับค่าตอบแทนและค่าใช้จ่าย จำเลยต้องขอรับสิทธิ์ภายใน 1 ปีนับแต่วันที่มี
คำพพิ ากษาถงึ ทส่ี ุด หรือวนั ท่ีศาลมีคำสั่งอนุญาตพนักงานอยั การถอนฟ้อง
8. เอกสารท่จี ำเลยตอ้ งยื่น
1. สำเนาบตั รประจำตัวประชาชนของจำเลยและผู้มสี ิทธ์ิยื่น
2. สำเนาทะเบียนบ้านของจำเลยและผู้มีสิทธิ์ย่ืน
3. สำเนาทะเบียนสมรส
4. สำเนาสูตบิ ตั ร
5. สำเนาใบเปลี่ยนชือ่ /สกลุ
6. หนังสือมอบอำนาจ
7. ใบเสรจ็ ค่ารกั ษาพยาบาลและอื่นๆ (ถา้ มี)
8. สำเนาใบรับรองแพทย์
9. คำพิพากษาอันถงึ ทสี่ ุดว่าข้อเท็จจริงฟงั เป็นยุติว่าจำเลยมิได้เป็นผู้กระทำความผิดหรือการกระทำ
ของจำเลยไม่เป็นความผิดหรือปรากฏหลักฐานชัดเจนวา่ จำเลยมิไดเ้ ป็นผู้กระทำความผดิ และมีการถอนฟ้องใน
กรณีในระหว่างดำเนินคดี
10. หมายขงั ระหวา่ งไตส่ วนมูลฟอ้ งหรอื พิจารณาและหมายปอง
11. สำเนาใบมรณะบตั ร
12. สำเนาใบชนั สูตรแพทย์
13. ใบสำคญั แสดงวา่ คำพิพากษาหรอื คำสงั่ ในคดีนัน้ ได้ถงึ ที่สดุ
14. ใบแต่งทนายความ (ถ้ามี)
15. สญั ญาจ้างว่าความพรอ้ มสำเนาขอสำเนาบัตรของทนายความ
๑๘
9. อัตราการจ่ายค่าทดแทนและค่าใชจ้ า่ ยแก่จำเลย
กรณีทัว่ ไป
1. คา่ ใช้จา่ ยทีจ่ ำเป็นในการรักษาพยาบาลซง่ึ ความเจ็บปว่ ยต้องเป็นผลโดยตรงจากการ ถูกดำเนินคดี
ให้จา่ ยเทา่ ที่จา่ ยจริง แต่ไมเ่ กิน 40,000 บาท
2. ค่าฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจเน่ืองจากจำเลยไดร้ ับความเจ็บป่วยเป็นผลโดยตรงจาก
การถกู ดำเนนิ คดี ใหจ้ ่ายเทา่ ทีจ่ า่ ยจริง แต่ไมเ่ กิน 50,000 บาท
3. ค่าทดแทนการถูกคุมขงั วนั ละ 500 บาท
4. คา่ ขาดประโยชนท์ ำมาหาได้ในระหวา่ งถกู ดำเนนิ คดี ใหจ้ ่ายตามอัตราค่าจา้ งขั้นตำ่ ของจังหวัด
5. คา่ ใชจ้ า่ ยทจ่ี ำเปน็ ในการดำเนนิ คดี
5.1 คา่ ทนายความเทา่ ท่จี า่ ยจริง แต่ไมเ่ กินอตั รากฎกระทรวงกำหนด
5.2 คา่ ใช้จา่ ยอน่ื ในการดำเนินคดี
กรณีจำเลยถึงแกค่ วามตายอ้นเปน็ ผลจากการถกู ดำเนนิ คดี
1. คา่ ตอบแทนถงึ แก่ความตาย จำนวน 1๑0,00 บาท
2. คา่ จัดการศพ จำนวน 20,000 บาท
3. ค่าขาดอปุ การะเลย้ี งดู จำนวนไมเ่ กิน 40,000 บาท
4. ค่าเสียหายอืน่ ตามที่คณะกรรมการเหน็ สมควร แตไ่ ม่เกนิ 40,000 บาท
การอุทธรณ์
1. ผยู้ ื่นคำขอที่ไม่เหน็ ด้วยกับคำวินิจฉัยของคณะอนกุ รรมการฯ มีสิทธอิ ทุ ธรณ์ต่อคณะกรรมการภายใน
3 วนั นบั แต่วันท่ไี ดร้ บั แจง้ คำวนิ จิ ฉัยของคณะอนุกรรมการ โดยยน่ื อุทธรณ์ได้ทส่ี ำนักงานยตุ ธิ รรมจงั หวดั
2. ผู้ยื่นคำขอไม่เห็นด้วยกับวินิจฉัยของคณะกรรมการฯ มีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ภายใน 30 วัน
นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำวินิจฉัย คำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด โดยยื่นอุทธรณ์ได้ที่สำนักงานยุติธรรม
จังหวัดหรอื ศาลจงั หวัดที่ผนู้ ั้นมภี ูมิลำเนาอยู่ในเขต
พระราชบญั ญัติคุม้ ครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๕๖
พยาน หมายความว่า พยานบคุ คลซง่ึ จะมาใหห้ รือไดใ้ ห้ข้อเท็จจริงต่อพนักงานผู้มีอำนาจสบื สวนคดอี าญา
พนักงานผู้มีอำนาจสอบสวนคดีอาญา พนักงานผู้มีอำนาจฟ้องคดีอาญา หรือศาลในการดำเนินคดีอาญา
รวมทั้งผู้ชำนาญการพิเศษ แต่มิให้หมายความรวมถึงจำเลยที่อ้างตนเองเป็นพยาน สิทธิของพยานในคดีอาญา
ตามกฎหมายคมุ้ ครองพยานในคดอี าญา พ.ศ.๒๕๔๖ มีดังนี้
๑. สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองความปลอดภัยเมื่อถูกคุกคามในฐานพยานในคดีอาญา รวมถึง
ผใู้ กลช้ ิดของพยานในคดีอาญา
๒. สิทธทิ ีจ่ ะได้รบั การปฏบิ ัตทิ ่ีเหมาะสม
๓. สทิ ธทิ จ่ี ะได้รับเงนิ ค่าตอบแทนจากการมาใหข้ อ้ เทจ็ จริงต่อพนักงานสอบสวนหรือเบิกความต่อศาล
๑๙
๔. สิทธิที่จะได้รับค่าตอบแทนความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย ชื่อเสียง ทรัพย์สินอื่นเนื่องมาจากการ
เป็นพยานในคดอี าญา
๕. สิทธิที่จะได้รับเงินค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยานในคดีอาญา มาตรการทั่วไป ในการคุ้มครองพยาน
ในคดีอาญา ขั้นตอนการดำเนินการ การยื่นคำร้อง กรณีพยานในคดีอาญาได้รับการข่มขู่คุกคาม
พยานสามารถ ร้องขอใช้มาตรการทั่วไปในการคุ้มครองพยานตามกฎหมายคุ้มครองพยานในคดีอาญา
พ.ศ. ๒๕๔๖
วัตถุประสงค์
พระราชบัญญัตินี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้พยานในคดีอาญาได้รับความคุ้มครอง โดยมีมาตรการต่างๆ
ทบ่ี ญั ญตั ิไว้ คอื
๑. มาตรการทั่วไปในการคุ้มครองพยานในกรณีที่พยานอาจไม่ได้รับความปลอดภัย อาจมีการจัดให้
พยานอยู่ในความคุ้มครองตามที่เห็นเปน็ การสมควร หรือตามที่พยานหรือบุคคลอื่นใดซึ่งมปี ระโยชน์เกีย่ วข้อง
ได้ร้องขอและในกรณีจำเป็นบุคคลดังกล่าวจะขอให้เจ้าพนักงานตำรวจหรือเจ้าหน้าที่อื่นช่วยให้ความ
คุ้มครองแก่พยานได้ตามความจําเป็น การคุ้มครองให้พยานได้รับความปลอดภัย ให้รวมถึงการจัดให้พยาน
อยู่ในสถานที่ที่ปลอดภยั และการปกปิดมิให้มีการเปิดเผยช่ือตัว ชอ่ื สกลุ ทอ่ี ยู่ ภาพ หรือข้อมูลอย่างอ่ืนท่ีสามารถ
ระบุตัวพยานได้ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมแก่สถานะและสภาพของพยานและลักษณะของคดีอาญา
ที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่สามี ภริยา ผู้บุพการี ผู้สืบสันดานของพยาน หรือบุคคลอื่นที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด
กับพยาน ซง่ึ มผี ลต่อการท่ีพยานจะมาเปน็ พยานอาจไม่ได้รบั ความปลอดภยั อาจมีการนำมาตรการท่ัวไปในการ
คุม้ ครองพยานมาใช้บังคบั แก่บคุ คลดังกลา่ วได้
๒. มาตรการพิเศษในการคมุ้ ครองพยาน พยานในคดอี ย่างหน่งึ อยา่ งใดดังต่อไปนี้ อาจได้รบั การคุ้มครอง
ตามมาตรการพเิ ศษได้
- คดีความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต หรอื กฎหมายว่าด้วยศุลกากร
- คดีความผิดเก่ยี วกบั ความมั่นคงแหง่ ราชอาณาจักรตามประมวลกฎหมายอาญา
- คดีความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะที่เกี่ยวกับการเป็นธุระจัดหา
ล่อไปหรือพาไปเพื่อการอนาจาร เพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น และความผิดฐานพรากเด็กและผู้เยาว์
ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก หรือความผิด
ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการคา้ ประเวณี หรือความผิดเกี่ยวกับการเป็นเจ้าของกิจการ
ค้าประเวณี ผู้ดูแล หรือผู้จัดการกิจการค้าประเวณี หรือสถานการค้าประเวณี หรือเป็นผู้ควบคุมผู้กระทำการ
ค้าประเวณใี นสถานการค้าประเวณี
- คดีความผิดเกี่ยวกับองค์กรอาชญากรรม ได้แก่ ความผิดฐานอั้งยี่และซ่องโจรตามประมวล
กฎหมายอาญาและให้หมายความรวมถึงความผิดอื่นใดท่ีมีลักษณะเป็นการกระทำร่วมกันโดยกลุ่มอาชญา
กรที่มีการวางแผนอย่างเป็นระบบและมีการวางเครือข่ายเป็นขบวนการหรือองค์กรลับอย่างซับซ้อนและเป็น
สัดสว่ น
๒๐
- คดคี วามผิดทม่ี ีอัตราโทษอย่างต่ำให้จาํ คุกต้งั แต่สบิ ปีขึน้ ไป หรอื โทษสถานที่หนกั กวา่ นั้น
- คดสี ํานกั งานคุ้มครองพยานเห็นสมควรให้ความค้มุ ครองพยาน
เมื่อปรากฏแน่ชัดหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าพยานจะไม่ได้รับความปลอดภัยพยานหรือบุคคลอื่นใด
ซึ่งมีประโยชน์เกี่ยวข้อง อาจมีการร้องขอใช้มาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยานให้สำนักงานคุ้มครองพยาน
ดำเนนิ การ เพือ่ คมุ้ ครองพยานตามมาตรการพิเศษอย่างหน่งึ อยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. ยา้ ยที่อยูห่ รือจดั หาทีพ่ กั อนั เหมาะสม
๒. จ่ายค่าเลี้ยงชีพที่สมควรแก่พยานหรือบุคคลที่อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของพยานเป็นระยะเวลา
ไมเ่ กนิ หนึง่ ปี เวน้ แตม่ ีเหตุจำเปน็ อาจขอขยายระยะเวลาคร้งั ละไมเ่ กนิ สามเดือนแตไ่ มเ่ กินสองปี
๓. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุ ล และหลักฐาน
ทางทะเบียนทีส่ ามารถระบุตัวพยาน รวมทง้ั การดำเนินการเพือ่ กลับคืนสฐู่ านะเดมิ ตามคําขอของพยานดว้ ย
๔. ดำเนินการเพื่อให้มีอาชีพหรือให้มีการศึกษาอบรม หรือดำเนินการใดเพื่อให้พยานสามารถดำรงชีพ
อยู่ได้ตามทเ่ี หมาะสม
๕. ช่วยเหลือในการเรยี กร้องสิทธทิ ่พี ยานจงึ ไดร้ ับ
๖. ดำเนนิ การให้มีเจา้ หนา้ ทคี่ มุ้ ครองความปลอดภัยในระยะเวลาทจ่ี ำเปน็
๗. ดำเนินการอืน่ ใดให้พยานได้รับความชว่ ยเหลอื หรือไดร้ ับความค้มุ ครองตามท่เี ห็นสมควร
พระราชบญั ญตั ิกองทุนยุตธิ รรม พ.ศ. 2558
มาตรา 5 ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เรียกว่า “กองทุน
ยุติธรรม” มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสำหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการช่วยเหลือ
ประชาชนในการดำเนินคดี การขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและ
การให้ความร้ทู างกฎหมายแกป่ ระชาชน
พระราชบัญญัตกิ องทนุ ยุตธิ รรม พ.ศ. 2558 มีสาระสำคญั ดงั น้ี
1. คำจำกัดความ
“กองทุน” หมายความวา่ กองทนุ ยตุ ธิ รรม
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการกองทนุ ยุตธิ รรม
“กองทุนยุติธรรม” เป็นกองทุนท่ีจัดตัง้ ขึ้นเพือ่ เป็นแหล่งเงินทุนสำหรับใช้จ่ายเก่ียวกับการชว่ ยเหลือ
ประชาชนในการดำเนินคดี การขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและ
การให้ความรทู้ างกฎหมายแก่ประชาชน
2. การให้ความชว่ ยเหลือของกองทุนยตุ ธิ รรม
“กองทนุ ยตุ ธิ รรม” ให้ความช่วยเหลือ 4 กรณี ดงั น้ี
1. การให้ความช่วยเหลือประชาชนในภาคการดำเนินคดี เช่น ค่าจ้างทนายความ ค่าธรรมเนียม
ศาล หรือค่าใชจ้ ่ายอน่ื ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
2. การปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยขอได้ในแต่ละชั้น ได้แก่ ชั้นสอบสวน ชั้นพนักงานอัยการ
ชน้ั ศาล การควบคุมกรณอี ่นื ๆ
๒๑
3. การช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผู้ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
เชน่ ค่ารกั ษาพยาบาล ค่าฟนื้ ฟรู ่างกายจติ ใจ คา่ ขาดผลประโยชน์ทำมาหาได้ เงนิ ชว่ ยเหลอื อ่นื ๆ
4. การสนับสนุนโครงการให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน เช่น ค่าใช้จ่ายในการจัดทำโครงการ
ให้ความรู้กฎหมายแก่ประชาชน เป็นตน้
3. กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพยส์ นิ ดังตอ่ ไปนี้
1. เงนิ หรือทรัพย์สนิ ทไ่ี ด้รับโอนมาตามมาตรา ๔๐
2. เงนิ อดุ หนนุ ทไี่ ดร้ บั จากรฐั บาลหรอื เงนิ ทีไ่ ดร้ บั จากงบประมาณรายจา่ ยประจำปี
3. เงนิ ทไ่ี ดร้ ับตามมาตรา ๘
4. เงินหรือทรัพย์สนิ ที่มีผู้บริจาคใหแ้ ก่กองทนุ
5. ดอกผลของเงนิ หรือทรพั ย์สนิ ของกองทุน
6. เงนิ หรือทรพั ย์สินอนื่ ใดทก่ี องทุนได้รบั ไม่วา่ กรณีใด เงินและทรัพย์สินของกองทนุ ไมต่ ้องส่งคลัง
เป็นรายได้แผ่นดนิ
4. คดีท่ีกองทุนยตุ ธิ รรมใหค้ วามชว่ ยเหลือ
คดีที่กองทุนยุติธรรมให้ความช่วยเหลือ ได้แก่ คดีอาญา คดีแพ่ง คดีปกครอง คดีเยาวชนและ
ครอบครัว คดีศาลชำนญั พเิ ศษและคดีอืน่ รวมถงึ การบงั คับคดี
การขอรับความชว่ ยเหลือจากกองทุนยุตธิ รรม กรณีผ้ขู อรับความชว่ ยเหลอื อยูใ่ นกรงุ เทพมหานคร
ให้ไปขอรับความช่วยเหลือที่“สำนักงานกองทุนยุติธรรม” ในกรณีจังหวัดอื่นๆ ให้ไปขอรับความช่วยเหลือท่ี
สำนักงานยุตธิ รรมจังหวดั
พระราชบัญญัติไกล่เกล่ยี ข้อพพิ าท พ.ศ. 2562
พระราชบญั ญัตไิ กลเ่ กลย่ี ข้อพิพาท พ.ศ.2562 มีสาระสำคัญ ดงั น้ี
1. คำจำกดั ความ
“การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท” หมายความว่า การดำเนินการเพื่อให้คู่กรณีมีโอกาสเจรจาตกลงกันระงบั
ข้อพิพาททางแพ่งและทางอาญาโดยสันติวิธีและปราศจากการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท ทั้งนี้ไม่รวมถึงการ
ไกลเ่ กลีย่ ข้อพพิ าททีด่ ำเนินการในชัน้ ศาลและในชัน้ การบังคบั คดี
“ผู้ไกล่เกลีย่ ” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนและไดร้ บั การแต่งตัง้ ให้ทำหน้าที่ในการ
ไกลเ่ กลยี่ ข้อพพิ าท เป็นผ้ทู ีม่ ปี ระสบการณใ์ นดา้ นต่างๆ อันเปน็ ประโชนแ์ กก่ ารไกลเ่ กลี่ยข้อพพิ าท
“ข้อตกลงระงับข้อพิพาท” หมายความว่า ข้อตกลงที่คู่กรณีตกลงให้มีผลผูกพันโดยชอบด้วย
กฎหมายเพื่อระงับข้อพิพาทหรือข้อเรียกร้องใดๆ ที่แต่ละฝ่ายมีอยู่และให้คู่กรณีแต่ละฝ่ายต่างมีสิทธิหน้าที่
หรือความรบั ผิดเพยี งเท่าทีก่ ำหนดไว้ในขอ้ ตกลงนน้ั
“หน่วยงานซึ่งดำเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท” หมายความว่า หน่วยงานของรัฐซึ่งดำเนินการระงับ
ข้อพิพาทโดยวธิ กี ารไกลเ่ กลีย่ ข้อพิพาท
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค สำนักงานศาลยุติธรรม
สำนกั งานอัยการสงู สุด หรอื หนว่ ยงานอน่ื ของรัฐตามทีร่ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรมกำหนดในกฎกระทรวง
๒๒
“นายทะเบียน” หมายความวา่ หัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั ซึ่งดำเนนิ การไกลเ่ กลย่ี ขอ้ พพิ าทคุณ
ผไู้ กลเ่ กลยี่ มีหน้าทีแ่ ละอำนาจ ดังต่อไปน้ี
1. กำหนดแนวทางและจดั ใหม้ ีการไกลเ่ กลี่ยขอ้ พิพาท
2. ชว่ ยเหลือ อำนวยความสะดวก และเสนอแนะคูก่ รณใี นการหาแนวทางยุตขิ ้อพิพาท
3. ดำเนินการไกล่เกลี่ยขอ้ พพิ าทด้วยความเป็นกลาง
4. จดั ทำข้อตกลงระงับขอ้ พิพาทตามผลของการไกลเ่ กลี่ยข้อพิพาท
2. การไกล่เกล่ียขอ้ พิพาททางแพ่ง
การไกลเ่ กล่ยี ข้อพพิ าททางแพ่งให้กระทำได้ในกรณี ดงั ต่อไปนี้
1. ข้อพิพาทเก่ียวกับทดี่ นิ ทม่ี ิใช่ขอ้ พิพาทเกีย่ วด้วยกรรมสิทธ์ิ (โดยสทิ ธใิ นที่ดิน)
1.1 กรรมสิทธิ์ หมายถึง ความเป็นเจ้าของทีจ่ ะต้องให้รัฐจะหนังสอื สำคัญแสดงกรรมสทิ ธิ์ ได้แก่
โฉนดทดี่ ิน เป็นตน้ การแยกการครอบครองท่ดี ินโดยสงบ เปดิ เผยและเจตนาเป็นเจา้ ของติดต่อกนั เป็นเวลา 10
ปี (การครอบครองปรปักษ์) จึงจะสามารถเสร็จ กรณีเช่นนี้ไม่สามารถเคลียร์ได้ต้องใชอ้ ำนาจของศาลไดต้ ัดสนิ
ช้ีขาด
1.2 สิทธิครอบครอง หมายถึง สิทธิครอบครองในฐานะเป็นเจ้าของโดยการทำประโยชน์หรือ
การถือครอง เช่น การออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ เช่น น.ส.3, น.ส. 3 ก, น.ส. 3 ข, เอกสารตราของ
เอกสารการครอบครองท่ีดินโดยสงบ เปิดเผยและเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกันเปน็ เวลา 1 ปี จงึ จะได้กรรมสิทธ์ิ
กรณีเชน่ น้ี ไมส่ ามารถไกล่เกลีย่ ได้ ตอ้ งใช้อำนาจของศาลเปน็ ผู้ตดั สินชขี้ าด
2. ข้อพพิ าทระหวา่ งทายาทเกี่ยวกบั ทรัพย์มรดก
3. ขอ้ พิพาทอนื่ ตามท่ีกำหนดในพระราชกฤษฎีกา
4. ขอ้ พิพาทอนื่ นอกจาก (1) (2) และ (3) ท่ีมีทุนทรพั ย์ไมเ่ กนิ ห้าล้านบาท หรือไมเ่ กินจำนวนตามท่ี
กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
3. การไกล่เกล่ยี ข้อพิพาททางแพง่ ที่ไม่สามารถกระทำได้ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. คดีเกี่ยวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคล หมายถึง สิทธิต่างๆเกี่ยวกับสภาพบุคคล ความสามารถของ
บคุ คล การใช้ช่อื นาม การเป็นคนไรค้ วามสามารถ การทำการแทนบคุ คล การถือสญั ชาติ เปน็ ต้น
2. คดเี กยี่ วกบั สทิ ธิในครอบครวั หมายถงึ สทิ ธทิ ีเ่ กดิ จากความสัมพันธส์ ามี ภรรยา หรอื บิดามารดา
เช่น การหย่า ภรรยาเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากสามี การฟ้องเรียกค่าเสียหายจากหญิงหรือชายอื่นกรณี
แอบคบชู้ เปน็ ต้น
3. ข้อพิพาทเกี่ยวด้วยกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ เรื่องที่ดิน ทรัพย์ที่ติดกับที่ดิน การเป็นเจ้าของ
การอ้างให้เปดิ ทางจำเป็น การรกุ ล้ำที่ดนิ เป็นต้น
๒๓
4. การไกล่เกล่ยี ขอ้ พิพาททางอาญา
การไกลเ่ กลี่ยขอ้ พพิ าททางอาญาให้กระทำได้ในกรณี ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ความผิดอันยอมความได้ คือ คดีที่ผู้เสียหายได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายโดยตรง
(ความผิดส่วนตัว) สังคมไม่ได้รับผลกระทบหรือเดือดร้อนจากการกระทำความผิดนั้น เช่น ยักยอก ฉ้อโกง
หมิ่นประมาท บุกรุก ลกั ทรพั ย์ (ระหว่างบิดากับบตุ ร) ทำให้เสยี หาย
2. ความผิดลหุโทษ หมายความว่า ความผิดอาญาแผ่นทีเ่ กดิ จากการกระทำความผิดเล็กน้อย อัตรา
โทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญา แต่พระราชบัญญัติน้ี
กำหนดใหศ้ ูนย์ไกลเ่ กล่ียขอ้ พิพาทภาคประชาชนสามารถนำความผดิ ลหุโทษสามารถไกลเ่ กลย่ี ได้
5. ประโยชน์ของการไกล่เกล่ีย
การไกล่เกลย่ี ข้อพพิ าทกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ทัง้ กับคู่กรณีและยังเป็นการเสริมสรา้ งประสิทธภิ าพในการ
อำนวยความยตุ ธิ รรมให้แก่ประชาชน ซ่ึงอาจจะสรุปได้ดังน้ี
1. ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย (Saving of Time and Money) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทหรือ
อนุญาโตตลุ าการแลว้ อาจใชเ้ วลาเพียงสัปดาห์ วันหรือช่ัวโมง อนั เป็นการประหยัดค่าใช้จา่ ยของทั้งคู่ความและ
ทางราชการ โดยที่หน่วยงานหรือองค์กรผู้จัดการไกล่เกลี่ยจัดบริการให้ฟรี คู่กรณีไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ไม่เสีย
ค่าป่วยการผูไ้ กล่เกล่ียและการไกลเ่ กลี่ยไม่จำเป็นต้องมีทนายความ ดังนั้น การจัดการความขัดแยง้ ด้วยวิธกี าร
ไกลเ่ กลยี่ จึงประหยดั ค่าใชจ้ ่ายได้มาก
2. เป็นที่ยุติ (Finality) คดีที่คู่พิพาทสามารถตกลงกันได้โดยวิธีการไกล่เกลี่ยนั้น ทำให้ข้อพิพาท
ได้ขอ้ ยุติ ลดปญั หาของการอทุ ธรณ์ต่อไป
3. การยอมรับของคู่พิพาท (Compliance) การที่คู่ความสามารถหาข้อยุติได้ด้วยตนเองมีการ
ยอมรบั ปฏิบัตติ ามข้อตกลงน้ันมากกวา่ การที่ศาลมคี ำพพิ ากษาซ่ึงจะต้องมีการบังคบั คดตี อ่ ไป
4. ข้อยุติที่ได้นั้นมีความเหมาะสมกับคู่พิพาท (Custom Made Solution) เนื่องจากคู่พิพาท
สามารถเลือกทีจ่ ะทำให้ข้อตกลง อยา่ งไรก็ได้ตราบเท่าท่ีไม่ขัดต่อกฎหมาย
5. เป็นความลับ (Confidentiality) การไกล่เกลี่ยเป็นเรื่องเฉพาะระหว่างคู่กรณีการประชุม
ไกล่เกลี่ย จะมีเฉพาะคู่กรณีกับผู้ไกล่เกลี่ยและบุคคลภายนอกที่คู่กรณีเห็นพ้องต้องกันให้เข้าร่วมประชุมได้
เท่านั้น ทั้งข้อเท็จจริงที่คู่กรณีพูดคุยกันในการไกล่เกลี่ยถือเป็นความลับ ห้ามคู่กรณีและผู้ไกลเ่ กลี่ยเปิดเผยตอ่
บุคคลภายนอก นอกจากนี้ คู่กรณียังอาจมีข้อตกลงกันอีกด้วยว่า ข้อเท็จจริงที่ได้จากการไกล่เกลี่ย ห้ามไม่ให้
คูก่ รณีนำไปใชอ้ า้ งอิงในการพจิ ารณาคดีของศาล
6. การควบคุมกระบวนการระงับข้อพิพาท (Process Control) คู่พิพาทสามารถควบคุม
กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้มากกว่าการดำเนินคดีในศาล โดยสามารถคัดเลือกบุคคลที่เป็นกลางให้มา
ทำหน้าที่กำหนดประเด็นหรือความต้องการที่แท้จริงในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและแสวงหาทางออก เพื่อยุติ
ข้อพิพาท โดยคู่พิพาทมีโอกาสที่จะได้พูดและตัดสินว่าผลที่ได้รับจะผูกพันกันหรือไม่ ซึ่งจะเป็นการหลีกเลี่ยง
ความ ไม่แนน่ อนทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ โดยการพิพากษาคดี
๒๔
7. ข้อตกลงระหว่างคู่พิพาทสามารถบังคับได้ (Enforceable Agreement) ผลของการระงับข้อ
พิพาทจากวิธีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นข้อตกลงร่วมกันอันมีลักษณะสัญญาที่คู่พิพาทลงนามและมีผล ผูกพัน
เปน็ สัญญาประนีประนอมยอมความ แมว้ า่ อาจมกี ารตรวจสอบจากศาลในบางกรณี
8. รักษาความสัมพันธ์ระหว่างกันได้หรือก่อให้เกิดความสัมพันธ์ในระยะยาว (Preservation or
Enhancement of Long-term Relationships) การระงับข้อพิพาทเปิดโอกาสให้คู่พิพาทสามารถหา
ข้อยตุ ิในปัญหาที่แท้จริงได้และค่พู ิพาทย่อมสามารถแก้ไขปัญหาระหวา่ งกันได้
9. ความยืดหยุ่น (Flexibility) คู่พิพาทสามารถเลือกใช้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาททั้งหมด หรือใน
ประเดน็ ใดประเด็นหน่ึงในคดกี ไ็ ด้ ส่วนท่ีเหลอื อาจให้มีการดำเนนิ คดีในศาลต่อไป
10. คุณภาพ (Quality) บุคคลที่มาทำหน้าที่ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทมักเป็นบุคคลที่มี
ความสามารถ หรอื เช่ียวชาญในเร่อื งน้ันๆ โดยมีการควบคมุ การทำงานโดยประมวลจรยิ ธรรม
11. ยังคงสิทธิในการดำเนินคดีในศาล (Right to Trial) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นเพียงส่วนเสริม
สำหรับการดำเนินคดีในศาลไม่ใช่เป็นการแทนที่ คู่กรณียังคงมีสิทธิในการดำเนินคดีในศาลหากคู่กรณีมีความ
ต้องการเช่นน้นั
12. ไม่เป็นทางการ การไกล่เกลีย่ มีวิธีพจิ ารณาที่แตกต่างจากการพจิ ารณาคดขี องอนญุ าโตตุลาการ
หรือศาล โดยการไกล่เกลี่ยต้องการบรรยากาศการพูดคุยเจรจาที่ไม่เป็นทางการ แต่เป็นกันเอง และยืดหยุ่น
ผ่อนคลาย ไม่เคร่งครัด เพื่อให้คู่กรณีได้พูดคุยเจรจากันด้วยความสบายใจไม่ตึงเครียดเกิดความไว้วางใจและ
กล้าเปิดเผยความต้องการทีแ่ ทจ้ รงิ ของตน
6. คณุ ลักษณะและการขน้ึ ทะเบียนของผไู้ กลเ่ กลี่ย
ผ้ไู กลเ่ กล่ยี ต้องเปน็ ผมู้ ีคุณสมบัตแิ ละไมม่ ลี ักษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้
6.1 คุณสมบัติ
- ผ่านการอบรมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามหลักสูตรที่คณะกรรมการพัฒนาการ บริหารงาน
ยตุ ธิ รรมตามกฎหมายว่าด้วยการพัฒนาการบรหิ ารงานยุติธรรมแห่งชาติรับรอง
- เป็นผ้มู ปี ระสบการณใ์ นดา้ นต่างๆ อนั จะเปน็ ประโยชนแ์ กก่ ารไกล่เกลี่ยขอ้ พิพาท
6.2 ลกั ษณะตอ้ งห้าม
- เคยรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรบั ความผิดท่ีไดก้ ระทำ
โดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ
- เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ หรือคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือน
ไม่สมประกอบ
- เคยถูกเพิกถอนการเป็นผู้ไกล่เกลี่ยตามพระราชบัญญัตินี้และยังไม่พ้นห้าปีนับถึงวันยื่นคำ
ขอรับหนังสอื รบั รองการขน้ึ ทะเบียนเปน็ ผู้ไกล่เกลีย่
บุคคลใดมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 1 และมีความประสงค์จะขึ้นทะเบียนเป็น
ผู้ไกล่เกลี่ย ให้ยื่นคำขอต่อกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ซึ่งมีหน้าที่และอำนาจกำกับดูแลการไกล่เกลี่ย
๒๕
ข้อพิพาทของศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชน ทั้งนี้การยื่นคำขอขึ้นทะเบียนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
วิธีการและเงอื่ นไขทีน่ ายทะเบียนประกาศกำหนด
กองทุนยตุ ธิ รรม
ในอดีตที่ผ่านมาการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชนเป็นเรื่องยาก เพราะการไม่มีความรู้ ไม่เข้าใจ
บทบัญญัติของกฎหมาย และสิทธิเสรีภาพที่พึงมีพึงได้โดยชอบธรรม ทำให้ประชาชนถูกเอารัดเอาเปรียบและ
ถูกล่วงละเมิดจากบุคคลที่อยู่ในภาวะที่เหนือกว่า ความยากจนเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงความยุติธรรม
เพราะกระบวนการดำเนนิ คดมี ีคา่ ใชจ้ ่ายสงู เพ่อื ลดชอ่ งวา่ งและลดความเหลื่อมล้ำท่เี กดิ ขน้ึ ในสังคมไทย ในการ
ช่วยเหลือผู้ยากไร้ คนยากจนให้เขา้ ถงึ ความยุติธรรมกระทรวงยุตธิ รรม จงึ ไดจ้ ดั ต้งั "กองทนุ ยุติธรรม" ข้ึน เมื่อปี
พ.ศ. 2549 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การสนับสนุนเงินค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือประชาชนใน
ด้านกฎหมาย การฟ้องร้อง การดำเนินคดี หรือการบังคับคดี การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของผู้ได้รับความ
เดือดร้อนหรือไม่ได้รับความเป็นธรรม โดยมีการออกระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยกองทุนยุติธรรม
พ.ศ. 2553 ข้ึน
ข้อจำกัดของระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยกองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2553 มีหลายประการ
เช่นการไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลที่จะทำนิติกรรมสัญญาที่สมบูรณ์ รายได้มาจากงบประมาณของรัฐ
เพียงอย่างเดยี ว วัตถุประสงคค์ อ่ นขา้ งจำกดั ไม่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากล
จึงได้พัฒนายกระดับระเบียบกระทรวงยุติธรรม เป็นพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2558 และมีผลบังคับใช้วันที่ 24 เมษายน 2559
ซึ่งพระราชบญั ญตั นิ ้คี รอบคลุมการช่วยเหลือมากขึ้น และเกดิ ความคล่องตัวในการดำเนินงาน
การบรกิ ารประชาชนของสำนกั งานยตุ ิธรรม
การร้องเรียน/ร้องทุกข์ คือทุกเรื่องราว ที่ประชาชนเดือดร้อน บอกเล่าต่อหน่วยงานรัฐเพื่อขอให้
ช่วยเหลือ แก้ไข บรรเทาความดือนร้อน หรือตรวจสอบข้อเท็จจริง อันเนื่องมาจากการได้รับความเดือดร้อน
ความไม่เปน็ ธรรม สามารถมาร้องเรียนต่อหนว่ ยงานได้
ศูนยร์ ้องเรียนร้องทุกข์ มี 2 ศูนย์
1. ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด ของกระทรวงมหาดไทย สามารถร้องเรียนร้องทุกข์ ผ่านผู้นำชุมชน กำนัน
ผูใ้ หญ่บา้ น เป็นต้น
2. สำนักงานยุติธรรมจังหวัด ช่องทางการติดต่อ สามารถติดต่อ ทางจดหมาย ติดต่อด้วยตนเอง
ทส่ี ำนกั งาน โทรศพั ท์โทรสาร ซ่ึงปัจจบุ นั สามรถรอ้ งเรยี นร้องทุกข์ผา่ น App justice care
แนวปฏิบตั กิ ารรับเรื่องราวรอ้ งทุกข์
1. ประชาชนมาขอรบั บริการ
2. สอบถามข้อเทจ็ จรงิ บนั ทกึ ในแบบฟอรม์ ของใบคำขอใช้ระยะเวลา 30 นาที
3. ลงทะเบียนของผขู้ อรับบริการ ระยะเวลา 10 นาที
4. หวั หนา้ กลมุ่ งานมอบหมายใหเ้ จ้าหน้าท่ผี ู้รับผดิ ชอบระยะเวลา2วนั
5. แสวงหาข้อเทจ็ จริง หาขอ้ มูลและเอกสารท่เี กยี่ วขอ้ งเพิ่มเติม ระยะเวลา 10 วนั
6. ทำความเห็นเสนอยตุ ิธรรมจังหวดั ระยะเวลา2วนั
๒๖
7. พิจารณา
8. ดำเนนิ การประสานหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง
9. ออกหนงั สือประสานหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งระยะเวลา 2 วัน
10. หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งประสานตอบกลับระยะเวลา 15 วัน
11. ทำหนังสือแจ้งผลผ้รู ้องระยะเวลา 2 วัน
ยุติธรรมใสใ่ จ (Justice Care)
ยุติธรรมใส่ใจ (Justice Care) คือ แนวทางการดำเนินงานเชิงรุกที่กระทรวงยุติธรรมได้จัดทำ
แนวทางการช่วยเหลือเหยื่อ ผู้เสียหาย และผู้ไม่ได้รับความเป็นธรรมแบบบรู ณาการ ภายใต้แนวคิด “ยุติธรรม
ใส่ใจ 24 ชั่วโมง” (Justice Care) ซึ่งเป็นแนวทางการดำเนินงานเชิงรุกตามนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการ
อำนวยความยุติธรรม ลดความเหลือ่ มล้ำในสังคมเพ่ือให้ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรม ดว้ ยการนำบริการด้าน
งานยุติธรรมไปสู่ประชาชนในระดับพื้นที่โดยที่ประชาชนไม่ต้องร้องขอภายใน 24 ชั่วโมง ผ่านบูรณาการ
การทำงานของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งระบบ โดยมีสำนักงาน
ยุติธรรมจังหวัดที่กระจายอยู่ 81 แห่ง ทั่วประเทศเป็นหน่วยงานหลักในระดับพื้นที่ที่จะนำความเป็นธรรม
แบบครบวงจรทัง้ ทางดา้ นกฎหมาย ดา้ นรา่ งกาย และดา้ นจติ ใจสง่ ถึงมอื ใหป้ ระชาชนฟรีโดยไมม่ คี ่าใช้จา่ ย
การช่วยเหลอื ประชาชนของ Justice Care ประกอบดว้ ย
1. การช่วยเหลอื ประชาชนผ่านกองทนุ ยตุ ธิ รรม ในด้านการชว่ ยเหลอื ประชาชนในการดำเนินคดี(ค่าจ้าง
ทนายความ ค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เกี่ยวกับการดำเนินคดี) การปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย
(ชั้นสอบสวน ชั้นพนักงาน อัยการชั้นศาล การควบคุมตัวกรณีอื่น) การช่วยเหลือผู้ละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือ
ได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน (เงินชดเชย ค่ารักษาพยาบาล ค่าฟื้นฟูร่างกายจิตใจ ค่าขาด
ประโยชน์ทำมาหาได้ และเงนิ ช่วยเหลืออน่ื ๆ) การใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับกฎหมายแก่ประชาชนเพ่อื ทำให้ประชาชน
ที่เป็นคนยากจนและด้อยโอกาสสามารถเข้าถึงความยุติธรรมได้ ซึ่งปัจจุบันกระทรวงยุติธรรมได้มีการเพ่ิม
ประสิทธิภาพการดำเนินงานในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือประชาชนในรัฐระยะเวลามาตรฐานในการ
ดำเนินการจากเดิม 70 วัน ลดลงเหลือ 45 วัน อยู่ระหว่างการลดระยะเวลาให้เหลือเพียง 21 วัน เพื่อให้
ประชาชนได้รับความชว่ ยเหลอื อย่างรวดเร็วยงิ่ ข้ึน
2. การช่วยเหลือโดยสำนักงานช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจำเลยในคดีอาญา (สชง.)
ด้วยการเยียวยาเหยือ่ ในคดีอาญา แพะ ซึ่งหากคุณตกเป็นเหยื่อโดยยิง โดยแทง โดยลูกหลง ความผิดเกี่ยวกับ
เพศ ต่อชีวิต ต่อร่างกายทำให้แท้งลูก ทอดทิ้งเด็ก คนเจ็บป่วยหรือคนชรารับเงินค่าตอบแทนผู้เสียหายและ
คา่ ทดแทนและคา่ ใชจ้ า่ ยแก่จำเลยในคดอี าญา
การดำเนินงานให้ความช่วยเหลือประชาชนเพื่อให้ได้รับความเป็นธรรมตามแนวทาง “ยุติธรรมใส่ใจ
Justice Care” นนั้ เรม่ิ ดำเนนิ การต้ังแตว่ ันท่ี 5 พฤศจกิ ายน 2561 ซ่ึงเพียงระยะเวลาไม่ก่ีเดือน แต่สามารถ
ให้ความช่วยเหลือประชาชนใน 77 จังหวัดทั่วประเทศได้จำนวนค่อนข้างเยอะ หากประชาชนได้รับความ
เดือดร้อนหรือไม่ได้รับความเป็นธรรม ติดต่อได้ที่สายด่วนยุติธรรมโทร 1111 กด 77 ฟรีตลอด 24 ชั่วโมง
หรอื สำนกั งานยตุ ธิ รรมจังหวดั ทุกแห่ง หรือศนู ยย์ ุตธิ รรมชมุ ชนใกล้บ้านทา่ นทั่วประเทศ
๒๗
คลินิกยุตธิ รรม
คลินิกยุติธรรม ทำหน้าที่ในการให้คำปรึกษา แนะนำด้านกฎหมายและสิทธิต่างๆแก่ประชาชนโดย
จัดให้มีที่ปรึกษากฎหมายประจำคลินิกยุติธรรม 83 แห่งทั่วประเทศให้บริการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งจะมี
ทนายให้คำปรึกษาทุกวันให้แก่ประชาชน ณ.สำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา ที่ปรึกษากฎหมาย
จะให้คำปรึกษา แนะนำข้อกฎหมาย คดีความ รับเรื่องราวร้องเรียน/ร้องทุกข์จากประชาชน ซึ่งที่ปรึกษา
กฎหมาย จะมาจากการคัดเลอื กโดยมสี ญั ญาจา้ ง 2 ปี
กระบวนการให้คำปรกึ ษาทางกฎหมาย มีดงั นี้
ขั้นตอนที่ 1 ลงทะเบียนผู้รับบริการ ลงทะเบียนสาระสนเทศกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพสอบถาม
ขอ้ มลู และความประสงค์ ตามแบบสอบขอ้ เทจ็ จรงิ กพส.-17-01
ขั้นตอนที่ 2 การให้คำปรึกษา ที่ปรึกษาให้คำปรึกษาทางกฎหมาย -ผู้รับบริการพึงพอใจจึงยุติเรื่อง
ประสงค์ขอรบั ความช่วยเหลือจงึ ดำเนินการตามขนั้ ตอนท่ี 3 ตามแบบสอบข้อเทจ็ จริง กพส.-17-01
ขั้นตอนท่ี 3 ส่งต่อความชว่ ยเหลอื ให้ความชว่ ยเหลือตามภารกจิ หรือส่งต่อหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องตาม
แบบสอบข้อเทจ็ จรงิ กพส.-17-01
ข้นั ตอนที่ 4 ประเมนิ ผล ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ครบถ้วน ของการใหค้ ำปรกึ ษา
ขั้นตอนท่ี 5 ตรวจสอบคณุ ภาพ การให้คำปรกึ ษากฎหมาย Service Center ให้มีความถูกตอ้ ง ครบถว้ น
ของขอ้ มลู รายละเอียด และข้อกฎหมายตา่ งๆ
ขั้นตอนที่ 6 การรายงานผล สรุปผลการดำเนินงานจัดเก็บ/รวบรวม รายงานภาพรวม ตามแบบสอบ
ข้อเทจ็ จริง กพส.-17-01
การร้องเรยี น/ร้องทุกข์
การร้องเรียน/ร้องทุกข์ คือทุกเรื่องราว ที่ประชาชนเดือดร้อน บอกเล่าต่อหน่วยงานรัฐเพื่อขอให้
ช่วยเหลือ แก้ไข้ บรรเทาความดือนร้อน หรือตรวจสอบข้อเท็จจริง อันเนื่องมาจากการได้รับความเดือดร้อน
ความไมเ่ ปน็ ธรรม สามารถมาร้องเรียนต่อหน่วยงานได้
ศนู ยร์ อ้ งเรียนรอ้ งทุกข์ มี 2 ศูนย์
1. ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด ของกระทรวงมหาดไทย สามารถร้องเรียนร้องทุกข์ ผ่านผู้นำชุมชน กำนัน
ผใู้ หญบ่ ้าน เป็นตน้
2. สำนกั งานยตุ ธิ รรมจังหวดั ช่องทางการติดสามารถตดิ ต่อ ทางจดหมาย ตดิ ต่อด้วยตนเองที่สำนักงาน
โทรศพั ทโ์ ทรสาร ซ่ึงปจั จุบนั สามารถร้องเรียนรอ้ งทกุ ข์ผา่ น App justice care
แนวปฏิบัติการรับเรอื่ งราวรอ้ งทุกข์
1. ประชาชนมาขอรับบริการ
2. สอบถามข้อเทจ็ จรงิ บันทึกในแบบฟอรม์ ของใบคำขอใชร้ ะยะเวลา 30 นาที
3. ลงทะเบียนของผู้ขอรับบรกิ าร ระยะเวลา 10 นาที
4. หัวหน้ากลุม่ งานมอบหมายใหเ้ จ้าหน้าทีผ่ ูร้ ับผิดชอบระยะเวลา2วัน
๒๘
5. แสวงหาขอ้ เทจ็ จริง หาขอ้ มลู และเอกสารทเี่ ก่ียวขอ้ งเพม่ิ เติม ระยะเวลา 10 วนั
6. ทำความเหน็ เสนอยุตธิ รรมจงั หวัดระยะเวลา2วัน
7. พจิ ารณา
8. ดำเนนิ การประสานหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง
9. ออกหนังสอื ประสานหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้องระยะเวลา 2 วนั
10. หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งประสานตอบกลบั ระยะเวลา 15 วนั
11. ทำหนังสอื แจง้ ผลผรู้ ้องระยะเวลา 2 วนั
3. กลุม่ พฒั นาและสง่ เสรมิ ระบบงานยุติธรรม
กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมระบบงานยุติธรรม มีหน้าท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการพัฒนาและส่งเสริม
ระบบงานยุติธรรมในจังหวัด งานพัฒนาและส่งเสริมงานยุติธรรมทางเลือก งานจัดทำและบริหารแผนปฏิบัติ
ราชการของกระทรวงยุตธิ รรมระดับจังหวัด งานตดิ ตามและประเมิลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ
กระทรวงยุติธรรมระดับจังหวัด งานจัดทำและพัฒนาระบบฐานข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
และการวางแผนของหน่วยงาน งานจัดการความรู้ในหน่วยงาน งานจัดทำแผนและโครงการพัฒนาบุคลากร
ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมในจังหวัด งานฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการประสานและขับเคลื่อน
กระบวนการยุติธรรมระดับจังหวัด งานคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ และคณะกรรมการ
บริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการในฐานะผแู้ ทนกระทรวงยตุ ิธรรม งานลงพ้ืนท่ตี ิดตามและประเมินผลการ
ดำเนินงานของศูนย์ยุติธรรมชุมชน โครงการถ่ายทอดความรู้และวิธีปฏิบัติงานเป็นเครือข่ายยุติธรรมชุมชน
จดั โครงการตา่ งๆ ตามแผนการปฏิบตั ิราชการ
งาน 5 ส.
5 ส. คือ เทคนิควิธีการจัดปรับปรุงสถานที่ทำงาน หรือสภาพทำงานให้เกิดความสะดวกความเป็น
ระเบียบเรียบร้อย สะอาด หรือเอื้ออำนวยให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน ความปลอดภัยและคุณภาพ
ของงาน อนั เปน็ พ้ืนฐานในการเพ่มิ ผลผลิต
วตั ถุประสงค์
1. ทุกพื้นที่ของสำนักงานมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยสะดวกต่อการใช้งาน มีความสะอาด
ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัย
2. บุคลากรทุกระดบั มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม5 ส. อยา่ งจรงิ จงั สม่ำเสมอ และตอ่ เน่อื ง
3. มกี ารคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการปรบั ปรงุ การทำงานมากขน้ึ
5ส. ประกอบไปดว้ ย ดงั นี้
สะสาง : การแยกสง่ิ ของตา่ งๆ ทจี่ ำเปน็ ออกจากสิ่งของทีไ่ มจ่ ำเป็นและขจดั สิ่งของทไ่ี ม่จำเปน็ ออกไป
สะดวก : กำหนดวธิ ีการจัดเกบ็ เปน็ ระเบียบ แบง่ หมวดหมู่กำหนดทอ่ี ยูส่ ินเคา้ ใหแ้ นน่ อนชดั เจน
๒๙
สะอาด : การทำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้และสถานที่ทำงานเพื่อให้ปราศจากฝุ่นละออง
เพอ่ื ปอ้ งกันความสกปรก
สุขลักษณะ : มันรักษาและปรับปรงุ การปฏบิ ตั ิ 3 แรกโดยกำหนดเปน็ มาตรฐานและปฏิบตั ิให้ดขี ึ้นและ
รักษาให้ดตี ลอดไป
สรา้ งนสิ ัย : สร้างนิสยั ใหป้ ฏิบัติตาม ทำเปน็ ประจำจนกลายเปน็ สงิ่ ทีเ่ กิดขนึ้ เองโดยอตั โนมตั ิ
ความสำคัญของ 5 ส.
5 ส.เปน็ หลกั เบือ้ งต้นพ้นื ฐานเพือ่ ทำให้หน่วยงานมีความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย สะอาด ปลอดภัย น่าอยู่
นา่ ทำงาน
ขน้ั ตอนการทำกิจกรรม 5 ส.มีดังนี้
1. ใหค้ วามร้เู ร่อื ง 5 ส.
2. ประกาศนโยบาย 5 ส.
3. ต้งั คณะกรรมการ 5 ส.
4. ถ่ายรปู ก่อนทำแบง่ พื้นท่ีรับผดิ ชอบ
5. ประกาศวันทำความสะอาดครั้งใหญ่
6. ดำเนินการ
7. ตรวจสอบการดำเนนิ การ
8. ถา่ ยภาพพ้ืนท่ีหลงั ทำ 5 ส.
9. ตงั้ มาตรฐาน 5 ส.
10. รณรงค์อยา่ งต่อเนื่อง ประโยชน์ของกจิ กรรม
ประโยชนข์ องกิจกรรม 5 ส. มีดงั นี้
1) ประโยชนข์ องบุคลากรผ้ปู ฏิบัติ
- สามารถทำงานไดอ้ ย่างสะดวกรวดเร็วขน้ึ
- บรรยากาศการทำงานและสถานทที่ ำงานดขี ้นึ
- เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทำงาน
- มสี ถานทีท่ ำงานท่เี ปน็ ระบบเรยี บร้อย
2) ประโยชนข์ องหนว่ ยงาน
- ลดการสญู เสยี และความสิน้ เปลอื ง
- มพี ้ืนทีแ่ ละเนื้อท่ใี ช้งานมากข้ึน
- ผู้รับบริการใหค้ วามเชื่อถือและเชือ่ ม่ันมากขนึ้
- เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการผลติ และสรา้ งผลงาน
๓๐
งานเย่ียมญาตผิ า่ นจอภาพ
ในช่วงปี พ.ศ.2546 มีแนวคิดในการปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดินได้นำแนวคิดธรรมมาภิบาล
(Good Governance) มากำหนดเป็นแนวทาง ซึ่งประเทศไทยได้มีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 โดยมีหลักการกำหนดไว้ดังนี้ ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ
ประชาชน เกิดผลสมั ฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐความมปี ระสทิ ธิภาพในเชงิ ภารกจิ แห่งรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ลดภารกิจและยุบหน่วยงานที่ไม่จำเป็น กระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ส่วนท้องถิ่น กระจายอำนาจการ
ตัดสินใจอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน หลังจากนั้นได้มีพัฒนาการด้าน
เทคโนโลยีเป็นประโยชน์ทางการบริหารและการจัดการด้านต่างๆที่รู้จักกันในนามยุคดิจิทัลได้ขยายตัวสู่ส่วน
ราชการต่างๆ จึงได้นำกลไกทางดิจิทัลมาพิจารณาใช้ในรูปแบบต่างๆ เพื่อช่วยให้การบริหารจัดการภาครัฐ
สามารถจัดการบริการกับประชาชนไดอ้ ย่างหลากหลายมากขึ้น กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม ได้มีแนวคิด
และพัฒนาการดังกล่ามากำหนดเป็นแนวปฏิบัติแก่เรือนจำ ซึ่งเป็นหน่วยงานราชการในสังกัด โดยเฉพาะการ
เยี่ยมญาติของผู้ต้องขังอันเป็นภารกิจที่สำคัญอย่างยิ่ง เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ต้องขังและญาติมีความใกล้ชิด
ผูกพันธ์อันเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างผู้ต้องขังกับญาติ ซึ่งภารกิจดังกล่าวได้สอดคล้องกับนโยบายของทาง
กรมราชทัณฑ์ เกี่ยวกับการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังอย่างมีมนุษยธรรมตั้งอยู่บนพื้นฐานการเห็นค่าความเป็นมนุษย์
และด้วยความพร้อมของเทคโนโลยีที่ช่วยอำนวยความสะดวก จึงทำให้ระบบการเยี่ยมญาติไปไกลกว่าที่คิด
นโยบายที่ส่งถึงเรือนจำและทัณฑสถานทุกแห่งทั่วประเทศ คือให้นำเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตพร้อมจัดหาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีอยู่แล้วในเรือนจำมาติดตั้งระบบเพ่ือให้บริการประชาชน
เยี่ยมญาติผ่าน LINE VISITOR หากระบบอินเทอร์เน็ตของเรือนจำมีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลไม่เพียงพอ
ก็ขอให้ประสานหน่วยงานผู้บริการเข้ามาเพิ่มความเร็วระบบดังกลา่ วจะช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่นักโทษ
ภูมิลำเนาห่างไกล เช่น กรณีผู้ต้องขังในจังหวัดภาคเหนือ อาจไปกระทำความผิดอาญาและถูกคุมขังอยู่ใน
เรือนจำซึ่งต้ังอยใู่ นกรงุ เทพฯ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ หรือภาคใต้ การเดินทางไปเยีย่ มญาติแต่ละครง้ั ต้องใช้
เวลาเดินทางไป-กลับหลายวัน หลายครอบครัวต้องหยุดงานขาดรายได้ ส่งผลให้ผู้ต้องขังจำนวนมากที่ติดคุก
ตลอดหลายปี ไม่เคยมีญาติมาเยี่ยมเลยกลายเป็นผู้ต้องขังญาติทิ้งความโดดเด่ียวจากการถูกทอดท้ิง ไร้ค่าหมด
หวัง เป็นอุปสรรคต่อการแก้ไข ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้พ้นโทษออกไป คนกลุ่มนี้จึงกลายเป็นกลุ่มเสี่ยง
ทีจ่ ะกระทำผิดอกี ดังนน้ั กรมราชทัณฑจ์ ึงใหค้ วามสำคัญกับการเยยี่ มญาติเป็นอันดับตน้ ๆ และพยายามอำนวย
ความสะดวกใหก้ ารเยี่ยมญาติทำได้งา่ ย ญาตไิ ด้ประโยชน์ ผตู้ ้องขังมกี ำลังใจอยากกลับตัวเพ่ือออกไปใช้ชีวิตกับ
ครอบครัว กรมราชทัณฑ์ก็ประสบความสำเร็จในด้านลดจำนวนผู้กระทำผิดซ้ำ ขณะที่สังคมภายนอกได้ความ
สงบสุขปลอดภัยและเพื่อให้สอดรับกับระบบเยี่ยมญาติผ่านระบบการเยี่ยมญาติทางไกลผ่านจอภาพผ่าน
แอปพลิเคชั่นไลน์
๓๑
การเย่ยี มผู้ต้องขงั ผ่านระบบจอภาพ Video conference
เรอื นจำทสี่ ามารถเย่ยี มได้ มีดงั นี้
เรือนจำอำเภอนาทวี เรือนจำอำเภอเบตง เรือนจำกลางยะลา เรือนจำกลางสงขลา เรือนจำกลาง
ปัตตานี เรือนจำจังหวัดนราธิวาส เรือนจำจังหวัดสงขลา ทัณฑสถานหญิงสงขลา ทัณฑสถานบำบัดพิเศษ
สงขลา
การเยยี่ มญาตผิ า่ นจอของจงั หวดั ยะลามี 2 สถานที่
1. สำนกั งานยตุ ิธรรมจงั หวัดยะลา ต้ังอยทู่ ่ีศาลากลางจงั หวดั ยะลา
2. ศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนยะลา ตง้ั อยูท่ ี่องค์การบริหารสว่ นตำบลยะลา
การเยี่ยมญาติผ่านจอของจังหวัดปตั ตานี มี 2 สถานที่
1. สำนกั งานยุติธรรมจงั หวดั ปัตตานี ต้งั อยทู่ ่ีอาคารบรู ณาการกระทรวงยตุ ธิ รรม
2. ศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชนสายบุรี ต้งั อยูท่ ี่อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
การเยย่ี มญาติผา่ นจอของจังหวดั นราธิวาส มี 2 สถานที่
1. สำนักงานยตุ ิธรรมจงั หวัดนราธวิ าส ตัง้ อยู่ สำนักงานคมุ ประพฤติ
2. ศนู ย์ยุติธรรมชมุ ชนมูโนะ ตัง้ อยู่ ตำบลมูโนะ
ขัน้ ตอนการขอเย่ียมผ้ตู ้องขงั ผ่านระบบจอภาพ (Video Conference)
๑. ผู้ขอเข้าเยี่ยมผู้ต้องยงั จะต้องเป็นญาติทางสายเลือดหรือบุคคลที่ผู้ต้องขังไดก้ ำหนดรายชื่อไว้แต่ต้อง
ไม่เกินจำนวน ๑๐ คน ในการเยี่ยมแต่ละครั้งจะเข้าเยี่ยมไม่เกินครั้งละ 2 คน ใช้เวลาครั้งละไม่เกิน ๑๕ นาที
ไดร้ บั การเยยี่ มสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง
๒. ขอรับการเข้าเยี่ยมผู้ต้องขัง ซึ่งมาติดต่อครั้งแรกจะต้องทำบัตรเยี่ยมผู้ต้องขังผ่านระบบจอภาพ
โดยตอ้ งนำบตั รประจำตวั ประชาชน หรือหลกั ฐานอย่างหนึ่งอย่างใดที่ทางราชการออกให้ (ตอ้ งมีเลขประจำตัว
ประชาชน) มาเพอ่ื ประกอบการทำบัตร
๓. ทุกครั้งที่ผู้ขอเข้าเยี่ยม มาเยี่ยมผู้ต้องขังต้องนำบัตรเยี่ยมผู้ต้องขังผ่านระบบจอภาพ
มาแสดงตอ่ เจ้าหน้าที่ และแจง้ ชื่อผู้ต้องขังท่จี ะขอเข้าเยี่ยมเพ่ือบันทึกประวตั ิการเยีย่ ม
๔. ผู้ต้องขังที่ได้รับการเยี่ยม จะต้องไม่อยู่ในเงื่อนไขห้ามเยี่ยมของกรมราชทัณฑ์ และผู้ต้องขัง
ท่ไี ดร้ บั การเย่ียมจะได้รับการเยยี่ มสัปดาหล์ ะ ๑ ครั้ง
๕. เจ้าหน้าที่จะติดต่อไปยังเจ้าหน้าที่ของเรือนจำเพื่อแจ้งรายชื่อผู้ต้องขังที่มีผู้ประสงค์จะขอรับการ
เขา้ เยย่ี ม
๖. รอเจ้าหนา้ ทเ่ี รยี กชอื่ เพ่อื เขา้ เยีย่ มในห้องขงั ผา่ นระบบจอภาพตามลำดบั
๗. เมื่อครบกำหนด ๑๕ นาที เจ้าหน้าที่แจ้งหมดเวลาการเยี่ยม และเชิญผู้ขอรับการเข้าเยี่ยมผู้ต้องขัง
ลำดับถัดไปเข้าเย่ียม
๓๒
ขอ้ ปฏบิ ตั ิในการขอเยี่ยมผู้ต้องขังผ่านระบบจอภาพ Video conference
๑. ต้องแตง่ กายให้สุภาพ เรียบรอ้ ย
๒. ห้ามนำสงิ่ ของใดๆ เขา้ ไปหอ้ งเย่ยี มญาตผิ ่านระบบจอภาพ
๓. ยินยอมใหเ้ จ้าหนา้ ทตี่ รวจค้นรา่ งกายกอ่ นเขา้ เยย่ี ม
๔. ห้ามถ่ายภาพ วดี ีโอ และหา้ มใชเ้ ครอ่ื งบันทึกเสียงขณะเขา้ เยี่ยมผูต้ ้องขงั
๕. ยินยอมให้เจ้าหน้าที่ฟังการสนทนา บันทึกเสียงและถ่ายภาพในการพูดคุยและตัดการสื่อสารเห็นว่า
ขอ้ ความทสี่ นทนาเปน็ ไปโดยไม่เหมาะสม
๖. ผู้เข้าเยย่ี มทุกคนจะต้องปฏบิ ัติตามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ท่โี ดยเคร่งครดั
แนวทางการขอรบั บรกิ ารเยี่ยมญาติทางไกลผา่ นแอปพลเิ คช่ันไลน์
๑. ตอ้ งเป็นบิดา มารดา สามี ภรรยา ทจี่ ดทะเบยี นสมรส เปน็ บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย พน่ี ้องรว่ มบิดา
มารดาเดียวกัน และต้องมีชื่ออยู่ในระบบเยี่ยมญาติของผู้ต้องขัง กรณีผู้ต้องขังไม่มีบุคคลดังกล่าว
ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ลงทะเบยี นกำหนดบุคคลทต่ี อ้ งการใหเ้ ยีย่ มทัง้ น้ใี ห้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของผู้บัญชาการเรือนจำ
๒. ผู้ต้องขังรายเดียวกันในการเยี่ยมครั้งใดจะได้รับการเยี่ยมทางช่องทางเดียวเท่าน้ั น
เมื่อมีการจองเยี่ยมทางแอปพลิเคชั่นไลน์แล้ว ไม่สามารถยกเลิกได้และไม่สามารถเยี่ยมปกติที่เรือนจำได้อีก
ในครัง้ นนั้
๓. การลงทะเบียนเยี่ยมออนไลน์จะต้องทำในวันก่อนวันเยี่ยมปกติของผู้ต้องขังรายนั้น ๑ วัน
โดยลงทะเบยี นจองเยี่ยมออนไลน์ ตง้ั แตเ่ วลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.
๔. ในแอปพลิเคช่ันไลน์ตอ้ งใช้ช่ือและสกุลจรงิ ให้ตรงตามทีท่ ำการลงทะเบยี นจองเยีย่ มออนไลนเ์ ทา่ นัน้
๕. ต้องมปี ระวตั ิการมาเยีย่ มท่เี รือนจำ ตงั้ แตป่ ี พ.ศ.๒๕๖๒ ถงึ ปจั จุบัน
๖. ในวันที่เยี่ยมญาติให้อยู่ในจุดที่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ตเสถียร รอรับการโทรติดต่อทางไลน์
แอปพลิเคชัน่ จากทางเจ้าหน้าท่ี ไมอ่ นุญาตใหโ้ ทรเขา้ มา
ศูนยย์ ตุ ธิ รรมชมุ ชน
ยุติธรรมชมุ ชน คือ การดำเนินกิจกรรมชุมชนโดยร่วมกันเองหรือรว่ มกับภาครฐั ในลกั ษณะของหุ้นส่วน
โดยการนำทุนทางสังคมที่ดีงามและศักยภาพของชุมชนมาใช้ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันความปลอดภัยจาก
อาชญากรรม ความเป็นธรรมและความสงบสขุ ของชุมชน ดว้ ยการเสริมพลังการปอ้ งกันและสรา้ งภมู ิคุ้มกันจาก
ปัญหาอาชญากรรม การเยียวยาและการจัดการความขัดแย้ง ทำใหป้ ระชาชนมีโอกาสเขา้ ถึงความยตุ ธิ รรมดีขึ้น
เสริมประสิทธิภาพและลดภาระของกระบวนการยุติธรรมหลัก สร้างสำนึกความเป็นชุมชน รวมถึงรักษา
ขนบธรรมเนียมจารตี ประเพณแี ละภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ให้คงอยู่
ศนู ย์ยุตธิ รรมชมุ ชน (ศยช.) หมายถึง สถานท่ที ีอ่ ยู่ในชมุ ชนและสมาชกิ เครือขา่ ยยตุ ธิ รรมชุมชน ตลอดจน
ประชาชนเห็นชอบให้จัดตั้งเป็นศูนย์ยุติธรรมชุมชน เพื่อใช้เป็นสถานที่ดำเนินงานของคณะกรรมการประจำ
๓๓
ศูนย์ยุติธรรมชุมชนหรือดำเนินงานในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน ซึ่งศูนย์ยุติธรรมชุมชนจังหวัดยะลา
ประกอบด้วยศนู ย์เก่า 20 ศูนย์ และศนู ยใ์ หม่ 63 ศนู ย์
คณะกรรมการประจำศูนย์ยุติธรรมชุมชน (คกก.ศยช.) หมายถึง สมาชิกที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็น
ตัวแทนของประชาชนในชุมชนในการประสานงานระหว่างประชาชน ชุมชนและองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและ
เอกชน เพือ่ ใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมในชมุ ชนและความสงบสขุ ของชุมชน
การบรกิ ารประชาชนของสำนักงานยตุ ิธรรมจงั หวัด/ศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชมุ ชน
๑. การใหค้ ำปรกึ ษาด้านกฎหมายอยา่ งมืออาชพี โดยไมค่ ิดค่าใช้จ่าย
๒. รบั เรือ่ งรอ้ งเรียน รอ้ งทุกข์
๓. การให้ความร้ดู า้ นกฎหมายแก่ประชาชน
๔. การไกลเ่ กลี่ยระงับข้อพพิ าท
๕. บริการกองทุนยุติธรรม กรณีปล่อยตัวชัว่ คราว ค่าทนายความ ค่าธรรมเนียมศาลหรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ท่เี ก่ยี วข้อง
๖. บรกิ ารยื่นขอรบั คา่ ตอบแทนผูเ้ สียหายและค่าทดแทนคา่ ใชจ้ ่ายแกจ่ ำเลยในคดีอาญา
๗. การขอสนบั สนุนโครงการต่างๆ ท่เี ก่ยี วข้องกับกฎหมายและความยุตธิ รรม
๘. การคมุ้ ครองพยานในคดอี าญา
ภารกจิ ของศนู ย์ยตุ ิธรรมชุมชน
1. ป้องกันและควบคุมอาชญากรรมในชุมชน (Crime Control & Prevention) ด้วยการยับยั้งหรือ
ชะลอสถานการณ์มิให้เกิดความขัดแย้ง ข้อพิพาท หรือการกระทำผิดทางอาญาโดยการเฝ้าระวังป้องกัน
การให้ความรู้ความเขา้ ใจแก่ประชาชน เช่น ระเบียบ กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ เป็นตน้
2. การรับเรื่องราวร้องทุกข์ แจ้งเบาะแสการทุจริตคอรัปชั่น รวมทั้งปัญหาความเดือดร้อนของ
ผู้ด้อยโอกาส (เด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการ) แล้วส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งดำเนินการต่อไปและติดตามผล
การดำเนินงานและแจ้งใหผ้ ้รู ับบรกิ ารรับทราบเปน็ ระยะ
3. การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท (Conflict Management) ตามหลักยุติธรรมเชิงสมานฉันท์หรือ
หลกั สันตวิ ฒั นธรรม
4. การเยียวยาเสริมพลัง แก่เหยื่ออาชญากรรมและความรู้สึกของชุมชน ( Community &
Empowerment) ด้วยการให้ความเข้าใจกำลังใจช่วยเหลือสนับสนุนให้เหยื่ออาชญากรรมและชุมชนนั้น
มคี วามรสู้ ึกท่ีดีและใชช้ ีวติ เป็นปกติ
5. การรับผู้พ้นโทษหรือผู้ถูกคุมประพฤติกลับสู่ชุมชน (Reintegration) เพื่อให้บุคคลนั้นสามารถ
ดำรงชีวิตอยใู่ นชุมชนสงั คมไดเ้ ปน็ ปกติและไมห่ วนกลบั ไปกระทำผิดซ้ำอกี ต่อไป
๓๔
๓๕
๓๖
๓๗
๓๘
๓๙
๔๐
๔๑
อา้ งองิ
กระทรวงยตุ ิธรรม. (2560.). เข้าถึงได้จาก : https://www.moj.go.th/index.php
(สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี : 21 พฤศจกิ ายน 2565).
กล่มุ งานประชาสมั พนั ธก์ องทุนยตุ ิธรรม. (2561). กองทุนยตุ ิธรรม.
เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.moj.go.th/view/14960 (สืบคน้ เม่ือ : 21 พฤศจิกายน 2565).
กองวชิ าการและแผนงานธรุ การ คูม่ ือการปฏบิ ัตงิ านธรุ การและสารบรรณ” เข้าถึงได้จาก :
https:/amphuncity.go.th (สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี : 21 พฤศจิกายน 2565).
ภารกิจ ๕ ดา้ นของศนู ย์ยุติธรรมชมุ ชน. (2565) เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.prokfa.go.th
(สบื ค้นเม่ือวนั ท่ี : 21 พฤศจิกายน 2565).
สำนกั งานยตุ ธิ รรมจงั หวดั ยะลา. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.yalamoj.go.th
(สืบคน้ เมื่อวนั ที่ : 21 พฤศจกิ ายน 2565).
สำนักงานกจิ การยุติธรรม สว่ นนโยบายและยุทธศาสตร์ยตุ ิธรรมชมุ ชนและยุตธิ รรมจงั หวดั . (2565).
“คู่มือการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชน” เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
http://chiengraknoy.go.th (สืบคน้ เมอ่ื วนั ท่ี : 21 พฤศจิกายน 2565).
สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2565) “พระราชบญั ญัติการไกลเ่ กลย่ี ข้อพิพาท” เขา้ ถงึ ได้จาก
https://www.ocpb.go.th (สบื คน้ เมือ่ วนั ท่ี : 21 พฤศจิกายน 2565).
องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลอปิ มุ่ . (ม.ป.ป.). พระราชบัญญัติกองทนุ ยุติธรรม (2558).
เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://epoom.go.th/ (สบื ค้นเมื่อวนั ที่ : 21 พฤศจิกายน 2565).
๔๒
ประวัติผู้จดั ทำ
ชอ่ื : นางสาวอสั รา อมู า
เกิดเม่ือวันที่ : 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2544
สัญชาติไทย เชื้อชาตไิ ทย ศาสนาอิสลาม
ภูมิลำเนา : บ้านเลขท่ี 448/27 หมู่ที่ 1 ตำบลเจะ๊ เห อำเภอตากใบ จงั หวัดนราธวิ าส 96110
ประวัติการศึกษา :
ปี 255๖ – 255๘ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรยี นตากใบ อำเภอตากใบ จงั หวัดนราธิวาส
ปี 255๙ – 25๖๑ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ศิลป์)
โรงเรยี นตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ปจั จบุ ัน (2565) ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ชั้นปที ี่ ๔ คณะวทิ ยาการจัดการ
สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นราธิวาสราชนครนิ ทร์
๔๓
การอบรมประจำวัน
ภาพหลังการอบรมประจำวัน