The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โปสเตอร์ กฎประจำห้องเรียน ผึ้ง สีเหลืองและสีส้ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Salita Mukura, 2022-12-03 08:22:53

โปสเตอร์ กฎประจำห้องเรียน ผึ้ง สีเหลืองและสีส้ม

โปสเตอร์ กฎประจำห้องเรียน ผึ้ง สีเหลืองและสีส้ม

พลเมืองโลก
ในยุคดิจิทัล

มหาวิทยาลัยหาดใหญ่

คำนำ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-book)เล่มนี้เรื่อง
พลเมืองโลกในยุคดิจิทัลจัดทำขึ้นเพื่อนำไปใช้ใน

การเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบ
สารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจที่
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ผู้
จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเปนประโยชน์แก่

นักเรียน และผู้สนใจได้ไม่มากก็น้อย

ผู้จัดทำ
นางสาวสริตา มุคุระ

สารบัญ

เรื่ อง หน้ า

คำนำ ก
ความเป็ นพลเมืองดิจิทัล 4

8 ทักษะความเป็น 6
พลเมืองดิจิทัล

พลเมืองแบ่งออกเป็ น 15
3 แนวคิด

ความท้าทายแห่ง 17
ศตวรรษที่ 21 20

มารยาทในการใช้สื่อดิจิทัล

ความเป็น
พลเมืองดิจิทัล

พลเมืองดิจิทัล หรือ Digital Citizens เป็นกระแสที่แพร่
หลายไปทั่วโลกนับตั้งแต่อินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ได้เข้ามามีบทบาทในการดำเนินกิจกรรมด้าน
ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ประเทศไทยให้ความสำคัญกับเรื่องดัง
กล่าวอย่างจริงจังหลังจากที่รัฐบาลผลักดันนโยบายเศรษฐกิจ

ดิจิทัล (Digital Economy) เพื่อเสริมสร้างความ
เข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจและเตรียมความพร้อมเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้นี้ในยุคปัจจุบันเทคโนโลยี

สารสนเทศมีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวัน
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกคนควร
เสริมสร้างศักยภาพการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวอย่างชาญฉลาด

และก้าวเข้าสู่ความเป็นพลเมืองในยุคดิจิตอลได้อย่าง
ภาคภูมิ

8ทักษะความเป็น
พลเมืองดิจิทัล

1.ทักษะการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตัวเอง

(Digital Citizen Identity)

ความสามารถในการสร้างและจัดการภาพ
ลักษณ์ของตนเองในสื่อโซเชียลในเชิงบวก
ภายใต้พื้นฐานความเป็นจริง รับผิดชอบใน
การกระทำ ไม่กระทำการผิดกฎหมายละเมิด
จริยธรรมอย

2.ทักษะในการบริหารจัดการเวลาในโลกดิจิทัล
(Screen Time Management)

สามารถบริหารเวลาและควบคุมตนเองใน
โลกออนไลน์กับในชีวิตจริงได้อย่างสมดุล



3.ทักษะการรับมือการกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์
(Cyberbullying Management)

มีความสามารถในการรับมือ ป้ องกัน และมี
ภูมิคุ้มกันกับการข่มขู่บนโลกไซเบอร์อย่างเหมาะสม
ไม่ใช้อารมณ์

4.ทักษะการรักษาความปลอดภัยของตนเองบนโลก
ไซเบอร์ (Cybersecurity Management)
ความสามารถในการป้ องกันการถูกโจรกรรมข้อมูล
หรือถูกโจมตีในโลกออนไลน์ได้ เช่น การกำหนด
รหัสผ่านต่างๆ ให้ปลอดภัย



5.ทักษะในการจัดการความเป็นส่วนตัว
(Privacy Management)

รักษาความเป็นส่วนตัวในโลกออนไลน์ของตนเองและผู้อื่นได้ เพื่อ
ความปลอดภัยทางข้อมูล

6.ทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
(Critical Thinking)

เพิ่มสามารถคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลที่ถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง
วิเคราห์ข้อมูลที่เป็ นประโยชน์โดยใช้วิจารณญาณและการตรวจสอบ
ที่ถูกต้องเ ช่น ภาพตัดต่อต่างๆหัวเรื่องย่อย



7.ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูล ร่องรอยทางดิจิทัล
(Digital Footprint)

สามารถในการคิด เข้าใจความเป็นไปในโลกดิจิทัลว่าจะทิ้ง
ร่องรอยและประวัติไว้เสมอ ซึ่งอาจส่งผลต่อในอนาคตและ
การใช้ชีวิต

8.ทักษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีความเห็นอกเห็นใจ
และสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น
(Digital Empathy)

มีความเห็นอกเห็นใจ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันใน
โลกออนไลน์ มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน



พลเมืองแบ่ง
ออกเป็น
3 แนวคิด

พลเมืองเเบ่งออกเป็น 3 เเนวคิดหลัก

ความเป็ นพลเมืองชาติตามขนบ
(traditional citizenship)

ความเป็ นพลเมืองโลก
(global citizenship)

ความเป็ นพลเมืองดิจิทัล
(digital citizenship)

ความท้าทายแห่ง
ศตวรรษที่ 21

ช่องว่างดิจิทัล
อินเทอร์เน็ตมอบโอกาสมากมายทั้งในแง่ของการ

ทำธุรกิจ การเข้าถึงความรู้ และการมีส่วนร่วม
ทางการเมือง ทว่าโอกาสเหล่านั้นจะไม่เกิดขึ้น

เลยหากคนบางกลุ่มไม่สามารถเข้าถึง
อินเทอร์เน็ตได้ รวมถึงขาดทักษะและความรู้ใน
การใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต ความเหลื่อมล้ำ

ในการเข้าถึงและสร้างโอกาสจากเทคโนโลยี
ดิจิทัลรู้จักกันในชื่อ “ช่องว่างดิจิทัล”
(digital divide)

ความเป็นกลางของเครือข่าย

ความเป็นกลางของเครือข่าย หรือ net neutrality (บาง
ครั้งถูกเรียกแทนด้วยคำว่า อินเทอร์เน็ตเปิด หรือ open

internet) หมายถึงหลักการที่บังคับให้ผู้ให้บริการ
อินเทอร์เน็ต (ไอเอสพี) ปฏิบัติต่อเนื้อหาและบริการต่างๆ
บนเครือข่ายของตนอย่างเท่าเทียม พูดอีกอย่างคือ หลัก
การนี้ห้ามไม่ให้ไอเอสพีใช้เทคโนโลยีจัดการกับข้อมูลที่

ไหลเวียนอยู่บนอินเทอร์เน็ต เพื่อป้ องกันไม่ให้เจ้าของ
เครือข่ายใช้อำนาจในฐานะผู้ควบคุมการไหลเวียนของ
ข้อมูล (gatekeeper) เลือกปฏิบัติกับผู้ให้บริการเนื้อหา
แอปพลิเคชั่น หรือบริการออนไลน์บางราย รวมถึงการ
กำหนดว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างเราจะสามารถเข้าถึง
เนื้อหาหรือบริการไหนได้เร็ว ช้า หรือกระทั่งไม่ได้เลย

มารยาทในการ
ใช้สื่ อดิจิทัล



เอกสารอ้างอิง

https://www.okmd.or.th/okmd-
kratooktomkit/4673/

https://thaidigizen.com/digital-
citizenship/ch6-digital-challenges/


Click to View FlipBook Version