The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
กระทรวงพลังงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narongkon.j, 2022-07-10 01:15:55

ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
กระทรวงพลังงาน

การฝกอบรมเพือ่ พฒั นาความตอเนือ่ งทางวชิ าชีพของผูตรวจสอบ
และรับรองการจดั การพลังงาน

หวั ขอ เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลังงาน สําหรับอาคารควบคุม

การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ
แบบแยกสวน แบบรวมศนู ยและอ่ืน ๆ

เทคโนโลเยทีกคาโนรโอลนยกีุราักรษอพนรุ ลกั งั ษงพ าลนังสงาาํ นหสรําับหอรับาอคาาคราครคววบบคคมุ
การอนกุรากั รษอนพ รุ ลกั ังษงพ าลนงั ใงานนรใะนบระบบปบรปบั รบัออาากกาาศศ

[1] ชว งที่ 1 : การอนรุ ักษพลงั งานในระบบปรบั อากาศแบบแยกสว น
ƒ ความรูเบือ้ งตน เกย่ี วกับระบบปรบั อากาศ
ƒ เครอื่ งปรับอากาศแบบแยกสวนชนิดตาง ๆ
ƒ มาตรฐานทีเ่ กย่ี วของกบั เครอื่ งปรับอากาศแบบแยกสว น
ƒ การอนรุ กั ษพลังงานในระบบปรับอากาศแบบแยกสวน

[2] ชว งที่ 2 : การอนุรักษพ ลงั งานในระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย
ƒ หลกั การทาํ งานของเครือ่ งปรับอากาศแบบรวมศูนย
ƒ มาตรฐานที่เกย่ี วขอ งกบั เครื่องปรับอากาศแบบรวมศนู ย
ƒ การอนรุ ักษพ ลังงานในเครอื่ งปรับอากาศแบบรวมศนู ย

เทคโนโลเยทีกคาโนรโอลนยีกุรากั รษอพนรุ ลกั ังษงพาลนงั สงาํานหสราํ บัหอรบั าอคาาคราครคววบบคคุม

การอนกรุ ากั รษอนพุรลักงัษงพาลนังใงานนรใะนบระบบปบรปับรับออาากกาาศศ

แสดงการใช้ไฟฟา้ ในอาคารแต่ละประเภทแยกตามกิจกรรม คือ ระบบทําความเย็น ระบบแสงสว่าง และอืนๆ เป็นร้อยละของการ

ใช้งาน ประเภทอาคาร ระบบทําความเย็น ระบบแสงสวา ง อื่นๆ

สํานกั งาน 50.0 25.0 25.0

โรงแรม 61.0 15.3 23.7

ศูนยการคา 60.0 25.0 15.0

สถานพยาบาล 77.5 14.7 7.8

ทีมา : Lawrence Berkley Laboratory ทีทําให้การพลงั งานแหง่ ชาติ เรือง Energy Conservation in Commercial Building
ปี พ.ศ. 2528

การตรวจวิเคราะห์การใช้พลงั งานไฟฟา้ บนอาคารหน่วยงาน ราชการ โดยศนู ย์อนรุ ักษ์พลงั งาน แหง่ ประเทศไทยร่วมกบั การ
ไฟฟา้ นครหลวงและสํานกั งบประมาณในปีงบประมาณ 2534

ประเภทอาคาร ระบบทําความเย็น ระบบแสงสวา ง อ่นื ๆ

สํานกั งาน 63.0 25.0 12.0

สถานศึกษา 47.0 38.0 15.0

สถานพยาบาล 60.0 22.0 18.0

* ระบบอืน่ ๆ เชน มอเตอรป ม นํา้ ลฟิ ต อปุ กรณทางการแพทย และระบบความรอนในสถานทพยาบาล

ทีมา : ศนู ย์ประสานงานการออกแบบอาคารเพือการอนรุ ักษ์พลงั งาน

อุปกรณ เทคโนโลยีการอนุรกั ษพลังงานสําหรับอาคารควบคุม
สํานักงาน การอนุรกั ษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

20% อ่นื ๆ
5%

ไฟฟา แสงสวา ง ระบบปรับ
15% อากาศ 60%

เทคโนโลเยทีกคาโนรโอลนยกีรุ ากั รษอพนรุ ลกั งั ษงพ าลนงั สงาํานหสรําบัหอรบั าอคาาคราครคววบบคคุม
การอนกรุ ากั รษอนพ ุรลกั งัษงพาลนังใงานนรใะนบระบบปบรปบั รบัออาากกาาศศ

การปรับอากาศ หมายถึง การเพ่ิมหรือลดอุณหภูมิใหเหมาะสมตามท่ี

เราตองการ รวมถึงการปรับสภาพอากาศใหมีความสะอาด มีการถายเทหมุนเวียน และมี
ความชน้ื ที่เหมาะสม ทง้ั นี้เพื่อให เกิดความสขุ สบาย

[1] ภาระความร้อนจากภายนอก (External Load) เทคโนโลเยทกี คาโนรโอลนยีกุราักรษอพนุรลกั งั ษงพ าลนงั สงาาํ นหสรําบัหอรับาอคาาคราครคววบบคคมุ
เช่น แสงด้านผา่ นกระจก ฯลฯ การอนกุรากั รษอนพรุ ลักังษงพาลนังใงานนรใะนบระบบปบรปบั รบัออาากกาาศศ

[2] ภาระความร้อนจากภายใน (Internal Load)
เช่น คอมพวิ เตอร์เปิดใช้งาน ความร้อนแฝงผ้ใู ช้งาน ฯลฯ

เทคโนโลยีการอนุรักษพ ลังงานสําหรบั อาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

7

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลังงานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

ขอ้ บญั ญตั กิ รุงเทพมหานคร เรอื ง ควบคมุ อาคารพ.ศ. ๒๕๔๔
8

เทคโนโลเยทีกคาโนรโอลนยกีรุ ากั รษอพนรุ ลกั งั ษงพ าลนังสงาํานหสราํ ับหอรับาอคาาคราครคววบบคคุม
การอนกรุ ากั รษอนพ ุรลกั งัษงพ าลนังใงานนรใะนบระบบปบรปบั รบัออาากกาาศศ

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

เครืองปรับอากาศแบบแยกส่วนชนิดต่างๆ

ประเภทของเครืองปรับอากาศทนี ิยมใช้ในอาคาร

Split Type Air Conditioner

VRV / VRF

1. ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type Air Conditioner) Chiller
2. ระบบปรับอากาศแบบระบบ (VRV / VRF)
3. ระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์ (Chiller)

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพ ลงั งานสําหรับอาคารควบคุม
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลงั งานสําหรับอาคารควบคุม
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรับอากาศ

ของเหลวร้ อน อากาศภายนอก ก๊ าซร้ อน
2
3 คอนเดนเซอร์ จา่ ยกําลงั งาน
อุปกรณ์ อีเวเปอเรเตอร์
ลดความดัน คอมเพรสเซอร์
อากาศภายในห้อง 1
4 ก๊าซเยน็
ของผสมเยน็

วฏั จกั รการทําความเยน็ โดยการกดดนั ไอ

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพ ลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคมุ
การอนุรักษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

วัฏจกั รการทาํ ความเยน็ โดยการกดดนั ไอ

T-S & P-H. Diagram

เทคโนโลยกี ารอนรุ ักษพ ลังงานสาํ หรบั อาคารควบคมุ
การอนุรักษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

ประสทิ ธิภาพการทาํ ความเยน็ = ความสามารถในการทาํ ความเยน็ ทเี ครืองระเหย
พลังงานทใี ห้กับเครืองอดั

Coefficient of performance (COP) = ความสามารถในการทาํ ความเยน็
ของเครืองปรับอากาศ (kW)

พลังงานไฟฟ้าของเครืองปรับอากาศ
(kW)

เทคโนโลยกี ารอนุรกั ษพ ลังงานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนรุ ักษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

แบบลกู สบู แบบโรตารี แบบสคอลร์

PISTON TYPE ROTARY TYPE SCROLL TYPE

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพ ลงั งานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนุรกั ษพ ลงั งานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยีการอนุรักษพ ลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนุรักษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

แบบแยกสว่ น แบบติดหน้าต่าง
Split Type Window type

Wall systems Cassette systems Ceiling suspended Ceiling concealed (Ducted)

Multi split type systems Floor standing Type

ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type Air Conditioner)

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

อัตราส่วนประสทิ ธภิ าพพลังงาน (EER)

สาํ หรับเครืองทาํ ความเย็นขนาดเลก็ ความสามารถในการทําความเยน็ ของ
เครืองปรับอากาศ (บีทียตู ่อชวั โมง)
Energy efficiency ratio =
(EER) พลงั งานไฟฟา้ ของเครืองปรับอากาศ (วตั ต์)

หมายเหตุ : 1 ตนั ความเย็น = 12,000 บที ียตู ่อช.ม
1 Btu/hr = 0.293 วตั ต์, 1 kW = 3,412.14 Btu/hr (พลงั งานความร้อน)
EER = 3.412 x COP, 1 kW/ton = 3.517/COP

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนรุ ักษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

มาตรฐานทเี กยี วข้องกับเครืองปรับอากาศแบบแยกส่วน

เทคโนโลยีการอนุรกั ษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนุรักษพ ลงั งานในระบบปรบั อากาศ

ค่าสัมประสิทธิสมรรถนะหรืออัตราส่วนประสทิ ธิภาพพลังงานขันตาํ ของเครืองปรับอากาศขนาดเล็ก

ทีมา : การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย

ตัวอย่าง
เครืองปรับอากาศเครืองหนงึ ทําความเย็นได้ 40,000 บที ียตู ่อชวั โมง
ใช้กําลงั ไฟฟา้ 3,200 วตั ต์ มีค่า EER เท่าไร และควรได้ฉลากประสทิ ธิภาพเบอร์อะไร ?

EER ൌ ความเยน็ ทีได้ ൌ ସ଴ǡ଴଴଴ ஻௧௨Ȁ௛ ൌ 12.5
กาํ ลงั งานทีใช้ ଷǡଶ଴଴ ௪௔௧௧

ดงั นนั ค่า EER = 12.5 ระดบั ประสทิ ธิภาพ เบอร์ 5

ระดบั ประสทิ ธิภาพเครืองปรับอากาศเบอร์ 5 ชนิด Fixed speed
เกณฑ์พลงั งาน (พ.ศ. 2554)

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพลังงานสําหรับอาคารควบคุม
การอนุรกั ษพ ลงั งานในระบบปรับอากาศ

การคิดค่าประสิทธิภาพ
เครืองปรับอากาศแบบแยกส่วน (SPLIT TYPE)

เทคโนโลยกี ารอนุรกั ษพลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

หาค่าเอลทัลปี ทางด้านลมจ่าย(h1) และทางด้านลมกลับ(h2)

เมือทราบสภาวะของอากาศ 2 คา่ ก็จะสามารถทราบสภาวะอากาศทงั หมดได้

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพ ลังงานสาํ หรบั อาคารควบคมุ
การอนุรักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

ตัวอย่าง การอ่านแผนภูมไิ ซโครเมตริก

ให้หาสภาวะต่างๆ ของอากาศ ทอี ุณหภมู ิ 25 oC ความชืนสัมพัทธ์ 60%RH

อุณหภมู กิ ระเปาะแห้ง (Dry bulb temperature) : 25 oC
ความชืนสัมพัทธ์ (Relative humidity) : 60%RH

อุณหภูมกิ ระเปาะเปี ยก (Wet bulb temperature) : 19.466 oC
อุณหภูมิจุดนําค้าง (Dew point temperature) : 16.704 oC
เอนทาลปี ของอากาศ (Enthalpy of air) : 55.563 J/g (da)

ความชืน (Humidity or humidity ratio, W) : 0.011946 g/kg (da)
ปริมาตรจาํ เพาะ (Specific volume) : 0.861 m3/kg (da)

เทคโนโลยกี ารอนรุ ักษพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนุรกั ษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

55.563 J/g (da) 0.011946 g/kg (da)
19.466 oC

16.704 oC

25 oC

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพลงั งานสําหรบั อาคารควบคมุ
การอนรุ กั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

การตรวจวัดประสทิ ธภิ าพเครืองปรับอากาศแบบแยกส่วน (SPLIT TYPE)

ปริมาณความเย็นของเครืองปรับอากาศ

สามารถคํานวณได้จาก

Q 4.5uQ f u(h2 h1)

เมือ Q = ปริมาณความเย็นของเครืองปรับอากาศ (BTU/hr)

Qf = อตั ราการไหลของลมกลบั (ft3/min)
h1, h2 = เอลทลั ปีทางด้านลมดดู (h1) และทางด้านลมสง่ (h2) (BTU/lb)

เทคโนโลยีการอนุรักษพลงั งานสําหรับอาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

ตารางบันทกึ ข้อมูลเพือทดสอบประสทิ ธิภาพเครืองปรับอากาศ

พิกดั ปริมาณ ลมจ่าย(กระเปาะแห้ง) ลมกลับ(กระเปาะแห้ง) (h2-h1) *ปริมาณ *กาํ ลังไฟฟ้า อุณหภมู ลิ มกลับ อุณหภมู ภิ ายนอก ค่าปรับแก้ **ปริมาณ **กาํ ลังไฟฟ้า **EER **kW/TR

ลาํ ดบั จุดทีทาํ การตรวจวดั ติดตงั ลมจ่าย อุณหภมู ิ ความชืน เอนทัลปี,h1 อุณหภมู ิ ความชืน เอนทัลปี,h2 ความเยน็ (กระเปาะเปียก) (กระเปาะแห้ง) ไฟฟ้า ความเยน็ ความเยน็

(Btu/h) (cf/m) (°F) (%RH) (Btu/lb) (°F) (%RH) (Btu/lb) (Btu/lb) (Btu/h) (kW) (°C) (°C) CF1 CF2 (Btu/h) (kW) (Btu/h/W)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพลังงานสําหรับอาคารควบคมุ
การอนรุ กั ษพลังงานในระบบปรับอากาศ

คา่ ปรับแก้ทางไฟฟา้ และความเยน็

เนืองจากความสามารถในการ ทําความเย็น และคุณสมบัติด้านไฟฟ้าอ้างอิงจาก
ส ภ า ว ะ ที อุณ ห ภูมิ ภ า ย ใ น เ ท่ า กับ 27˚CDB/19.0˚CWBแ ล ะ อุณ ห ภูมิ ภ า ย น อ ก เ ท่ า กับ
35˚CDB/24.0˚CWB แต่การวดั จริงไม่สามารถควบคมุ สภาวะดงั กล่าวได้ จึงได้มีค่าปรับแก้ทาง
ไฟฟา้ และความเยน็ เพือให้ได้คา่ ทีถกู ต้องตามสภาวะทีกําหนด โดยค่าปรับแก้นนั ได้มาจากตาราง

27

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลังงานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนุรักษพ ลงั งานในระบบปรบั อากาศ

ตารางค่าปรับแก้ทางไฟฟ้าและความเยน็

ตารางที 5 แสดงค่าปรับเทียบทางไฟฟ้าและความเยน็

28

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

ตารางค่าปรับแก้ทางไฟฟ้าและความเยน็

ตารางที 5 แสดงคา่ ปรับเทียบทางไฟฟ้าและความเยน็ (ตอ่ )

29

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพลงั งานสําหรับอาคารควบคุม
การอนุรักษพลังงานในระบบปรับอากาศ

การตรวจวดั ประสทิ ธิภาพเครืองปรับอากาศแบบแยกสว่ น (SPLIT TYPE)

7. คา่ ปรับแก้ทางไฟฟา้ และความเยน็

เมือได้คา่ ปรับแก้ทางไฟฟ้าและความเย็นแล้ว นาํ ไปแทนในสตู ร

**Q = Q x ค่าปรับแก้ทางความเย็น เมือ **Q = ปริมาณความเย็นของ
เครืองปรับอากาศ (BTU/hr) ทีปรับแก้แล้ว

**P = P x ค่าปรับแก้ทางไฟฟ้า เมือ P = คา่ กําลงั ไฟฟา้ ทีได้จากข้อ 4
**P = ค่ากําลงั ไฟฟา้ (kW) ทีปรับแก้แล้ว

30

เทคโนโลยีการอนุรักษพลงั งานสําหรับอาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

การอนรุ ักษ์พลงั งานในระบบปรับอากาศแบบแยกสว่ น

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลังงาน
ในระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน

1. เทคโนโลยคี อมเพรสเซอร์แบบอินเวอร์เตอร์
2. การนํานําทงิ มาใช้งาน
3. การนําความร้อนทงิ จากการปรับอากาศมาใช้
4. การควบคุมอุณหภูมผิ ่านระบบออนไลน์

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนุรักษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยคี อมเพรสเซอรแบบอินเวอรเ ตอร

Affinity Laws for Power

Flow ~ Speed Lift ~ Speed2 Power ~ Speed3

100 100 100
80 80
60 80 60
40 40
20 20
0 0 0 20 40 60 80 100
0 20 40 60 80 100 %RPM
%RPM
%Flow 60
%Pressure/Head
40
%Input Power
20

0 40 60 80 100
0 20 %RPM

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพ ลงั งานสําหรับอาคารควบคุม
การอนุรกั ษพลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยคี อมเพรสเซอรแบบอินเวอรเ ตอร

Small Size
Air Conditioners

เทคโนโลยีการอนุรกั ษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ ักษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยีคอมเพรสเซอรแบบอินเวอรเ ตอร

ระบบปรับอากาศแบบระบบ VRV หรือ VRF
Variable refrigerant volume system or flow system

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนุรักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

Smooth Comfort Capacity Control เทคโนโลยกี ารอนรุ ักษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพลังงานในระบบปรับอากาศ

SMMS is the best suited for the applications

Fixed Speed Inverter + Fix Speed All Inverter

เทคโนโลยีการอนุรักษพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยีการนํานําทงิ มาใช้งาน

เทคโนโลยกี ารอนุรกั ษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยีการนํานําทงิ มาใช้งาน

เทคโนโลยีการอนุรักษพลงั งานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยกี ารนําความร้อนทงิ จากการปรับอากาศมาใช้งาน

Heat Exchanger Tank
100 L

HOT WATER TO USED

Heat Recovery Unit

CONDENSING UNIT No.1

24,000 BTU

ระบบนําร้อนจากความร้อนทิงจากแอร์ (Single Unit) COLD WATER SUPPLY

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพลงั งานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนุรกั ษพ ลงั งานในระบบปรบั อากาศ

หลักการทาํ งานระบบนําร้อนจากแอร์ P Super Heat
70-80 C
Condenser Pi
TEV

Scroll

Evaporator H

ใช้ความร้อนจากแก๊สร้อน (Super Heat) จากหวั คอมเพรสเซอร์เพือผลติ นําร้อน สามารถใช้ได้ทงั
สารทําความเยน็ R-134a, R-410a, R-22 และ R-407C

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพลังงานสาํ หรบั อาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

การควบคุมอุณหภูมผิ ่านระบบออนไลน์

เทคโนโลยีการอนุรักษพ ลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

การควบคุมอุณหภูมผิ ่านระบบออนไลน์

เทคโนโลยีการอนุรักษพลังงานสําหรบั อาคารควบคมุ
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

ƒ กรณศี ึกษา การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรับอากาศแบบแยกสวน

- การลางทําความสะอาดเครือ่ งปรบั อากาศ
- การเพิ่มอุณหภูมิเคร่ืองปรับอากาศ
- การลดอณุ หภมู ิเครือ่ งปรบั อากาศ
- การเปลย่ี นเครื่องปรบั อากาศประสทิ ธิภาพสูง
- การเพิ่มเครอ่ื งปรบั อากาศแบบ VRF
- การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการระบายความรอ นเครอ่ื งปรบั อากาศ
- การนาํ ความรอนท้ิงจากการปรบั อากาศ

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนุรักษพ ลงั งานในระบบปรับอากาศ

การล้างทาํ ความสะอาดเครืองปรับอากาศ

คอยล์ทสี กปรก

เทคโนโลยีการอนุรักษพลงั งานสําหรับอาคารควบคุม
การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

การล้างทาํ ความสะอาดเครืองปรับอากาศ

เทคโนโลยีการอนุรักษพ ลังงานสาํ หรบั อาคารควบคมุ
การอนรุ กั ษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

ก่อนทาํ ความสะอาด

เทคโนโลยีการอนุรักษพ ลังงานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนุรักษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

หลังทาํ ความสะอาด

เทคโนโลเยทีกคาโนรโอลนยกีุราักรษอพนรุ ลักงั ษงพ าลนังสงาาํ นหสราํ บัหอรับาอคาาคราครคววบบคคุม
การอนกุราักรษอนพ รุ ลักงัษงพาลนังใงานนรใะนบระบบปบรปับรบัออาากกาาศศ

ข้อมูลกาํ ลงั ไฟฟ้าของเครืองปรับอากาศแต่ละขนาดตามอายุการใช้งาน

ตารางที 6 แสดงอายกุ ารใชง้ าน

เทคโนโลเยทกี คาโนรโอลนยกีรุ าักรษอพนุรลักังษงพ าลนงั สงาํานหสรําับหอรบั าอคาาคราครคววบบคคมุ
การอนกุราักรษอนพุรลกั งัษงพ าลนังใงานนรใะนบระบบปบรปับรบัออาากกาาศศ

ตารางที 6 แสดงอายกุ ารใชง้ าน (ตอ่ )

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

™ 2) การเพ่ิมอุณหภมู ปิ รบั ตง้ั (Set Point) โดยทัว่ ไปการปรับตั้งอุณหภูมขิ องเครอ่ื งปรับอากาศให
สูงขึน้ 1 องศาเซลเซยี ส จะทาํ ใหส ามารถประหยัดพลังงานได 10%

ตวั อย่าง
เครืองปรับอากาศเครืองหนงึ ทําความเย็นได้ 12,000 บีทียตู ่อชวั โมง วดั อณุ หภมู ิลมจ่าย 11oC ความชืน
90 %Rh อณุ หภมู ิลมกลบั 25 oC ความชืน 60 %Rh ถ้าปรับอณุ หภมู เิ ป็น 26 oC ??

เทคโนโลยีการอนุรกั ษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนุรักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

™ 3) การลดอุณหภูมิอากาศระบายความรอนของเครื่องปรับอากาศ โดยทั่วไปเม่ืออากาศระบายความ
รอ นมีอุณหภมู ติ า่ํ ลง 1 องศาเซลเซียส จะชวยประหยดั พลังงานได 1-2%

คาํ นวณโดยการนาํ คา ปรับแกม าใช
จากการลดอุณภูมิลง 1 องศา จะไดขนาดทําความเย็นเพ่ิมข้ึน และพลังงานไฟฟาที่ใช
ลดลง 1.43%

Interpolate : ‫ܯ‬ଶ ൌ ‫ܯ‬ଵ+[(‫ܯ‬ଷ- ‫ܯ‬ଵ)(ܰଶ- ܰଵ)/(ܰଷ-ܰଵ]

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพ ลงั งานสําหรับอาคารควบคมุ
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

การเปลียนเครืองปรับอากาศประสทิ ธิภาพสูง

โรงพยาบาลควนขนนุ ได้ทําการทดสอบเครืองปรับอากาศอินเวอร์เตอร์ ประสทิ ธิภาพสงู จํานวน 31
เครือง

รูปที 3-10 แสดงการทดสอบการใช้เครืองปรับอากาศอินเวอร์เตอร์

เทคโนโลยีการอนุรักษพ ลงั งานสําหรับอาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

ก่อนปรับปรุง

ลาํ ดับ ขนาด จํานวน รวม BTU EER kW ชม.การทํางาน/ kWh/ปี คา่ พลงั งาน (บาท/ปี)
เครืองปรับอากาศ ปี
5 65,000
1 13,000 BTU 3 54,000 7.54 8.62 2,920 25,172.41 100,689.66
7 175,000
2 18,000 BTU 8 264,000 7.05 7.66 2,920 22,365.96 89,463.83
6 264,000
3 25,000 BTU 1 48,000 7.26 24.10 2,920 70,385.67 281,542.70
1 60,000
4 33,000 BTU 31 930,000 7.30 36.16 2,920 105,600.00 422,400.00

5 44,000 BTU 7.87 33.55 2,920 97,951.72 391,806.86

6 48,000 BTU 7.42 6.47 2,920 18,889.49 75,557.95

7 60,000 BTU 7.54 7.96 2,920 23,236.07 92,944.30

รวม 124.52 363,601.32 1,454,405.29

หลังปรับปรุง

ลาํ ดบั ขนาด จํานวน รวม BTU EER kW ชม.การทํางาน/ kWh/ปี คา่ พลงั งาน (บาท/ปี)
เครืองปรับอากาศ ปี

1 16,400 BTU 5 82,000 12.68 6.47 2,920 18,883.28 75,533.12

2 21,200 BTU 3 63,600 12.11 5.25 2,920 15,335.43 61,341.70

3 30,400 BTU 7 212,800 11.87 17.93 2,920 52,348.44 209,393.77

4 38,200 BTU 8 305,600 11.90 25.68 2,920 74,987.56 299,950.25

5 52,500 BTU 7 367,500 11.87 30.96 2,920 90,404.38 361,617.52

6 76,400 BTU 1 76,400 11.20 6.82 2,920 19,918.57 79,674.29

รวม 31 1,107,900 93.11 2,920 271,877.66 1,087,510.65

เทคโนโลยีการอนุรกั ษพ ลงั งานสําหรบั อาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

™ มาตรการใชระบบปรับอากาศแบบ VRV (Variable Refrigerant Volume) ระบบ
ปรบั อากาศแบบ VRV คอื เครือ่ งปรับอากาศแบบแยกสว นที่มคี อยลเย็นหลายชุดตอ
อยูกบั คอยลร อ นชุดเดียว โดยควบคุมปริมาณการไหลของนาํ้ ยาไปยงั Evaporator
แตละตวั ไดอ ยางอิสระ ทําใหระบบปรบั อากาศทํางานไดห ลายโซนทต่ี อ งการอุณหภมู ิ
และความชนื้ แตกตางกนั

ก่อน เทคโนโลยกี ารอนุรักษพ ลงั งานสําหรับอาคารควบคุม
ปรับปรุง การอนรุ ักษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

มาตรการที่ 1 ตดิ ตงั้ เคร่อื งปรบั อากาศชนิด VRF
ทดแทน เครือ่ งปรับอากาศแบบแยกสวน

หลงั
ปรับปรุง

เงินลงทุน 1.2 ลา นบาท
ผลประหยดั 1 แสนบาท/ป

เทคโนโลยกี ารอนุรกั ษพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนรุ กั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

6) มาตรการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการระบายความรอนเครอ่ื งปรบั อากาศ

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนรุ กั ษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพลังงานสําหรบั อาคารควบคุม

การอนุรักษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

สถานทตี ดิ ตงั : โรงพยาบาลบางบ่อ จงั หวดั สมทุ รปราการ
การใช้งาน : - จ่ายนําร้อนอณุ หภมู ิ 90 องศา จ่ายให้เครืองนงึ เครืองมือแพทย์
- จา่ ยนําร้อนอณุ หภมู ิ 60 องศา เครืองล้างจาน, เครืองซกั ผ้า และห้องพกั ผ้ปู ่วย

มาตรการนําความร้อนทงิ จากระบบปรับอากาศ

ชุดดงึ ความร้อนทงิ จากแอร์ ถังนําร้ อน ระบบนําร้อนพลังงานแสงอาทติ ย์
(Heat Recovery) (Hot Water Tank) (Solar Collector)

เป็ นระบบทีเอาความร้อนทงิ จากแอร์และพลังงานแสงอาทติ ย์มาทาํ นําร้อน เพอื ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพ ลังงานสําหรับอาคารควบคมุ
การอนรุ กั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

Heat Recovery

Heat Recovery

Split Type R-22 @ size 36,000 BTU

Return Pump เทคโนโลยกี ารอนุรกั ษพลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคุม
With Control การอนรุ ักษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

Heat Recovery Installation

Safety Valve

Safety Valve

Heater Back Up

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลังงานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ ักษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

ƒ หลกั การทาํ งานของเคร่ืองปรบั อากาศแบบรวมศูนย

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลงั งานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

ประเภทของเครือ่ งทําน้าํ เย็น (CHILLER)

Air Cooled Chiller Water Cooled Chiller

เคร่อื งทํานํ้าเยน็ เครื่องทาํ น้ําเย็น

ระบายความรอนดว ย อากาศ ระบายความรอนดว ย นา้ํ

Supply เทคโนโลยกี ารอนรุ ักษพลงั งานสําหรับอาคารควบคมุ
การอนุรักษพ ลงั งานในระบบปรบั อากาศ

Air Cooled Chi

Return Pump AHU Supply Air
Return Air Drain

Fresh Air

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพ ลังงานสาํ หรบั อาคารควบคุม
MAGNETIC
การอนรุ ักษพ ลังงานในระบบปรับBอCEาHAIกRLLIาNEศGR

Wet Air Water Cooled Chiller
Make-up
Ambient

Condenser Water

Cooling Tower Pump
Chiller
Return
condenser

evaporator

Chilled Water Supply
Return Air
AHU Supply Air

Fresh Air Drain

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพ ลังงานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

ประเภท CHILLER แบ่งตามชนิด COMPRESSOR

CENTRIFUGAL RECIPROCATE
SCREW SCROLL

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

ประเภท CHILLER แบ่งตามชุด STARTER

™Starter - Y-delta
™Starter - SSS
™Starter - VSD

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพลังงานสําหรับอาคารควบคมุ
การอนรุ ักษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

INRUSH CURRENT

Ch-1 Peak Start Ch-2-YD
Peak Start Ch-2-SSS
Peak Start Ch-2-VSD

Max Chiller-1 Run 100% FLA.

Johnson Controls

History เทคโนโลยีการอนุรักษพลงั งานสําหรับอาคารควบคมุ
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

CHILLER ทใี ช้ VSD STARTER

Centrifugal Chiller Screw Chiller

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลังงานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนรุ ักษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

มาตรฐานทีเกียวข้องกับเครืองปรับอากาศแบบรวมศูนย์

ประสทิ ธภิ าพ ของเครืองปรับอากาศ (ขนาดใหญ่)

kW/ Ton = พลังงานไฟฟ้าของเครืองปรับอากาศ (กโิ ลวัตต์)

ความสามารถในการทาํ ความเยน็ ของ เครืองปรับอากาศ
(ตันความเยน็ )

หมายเหตุ: 1 ตันความเย็น = 12,000 บที ยี ูต่อชัวโมง
1 Btu/hr = 0.293 วัตต์, 1 kW = 3,412.14 Btu/hr

EER = 3.412 x COP, 1 kW/ton = 3.517/COP

เทคโนโลยีการอนุรักษพลังงานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

ค่าประสิทธิภาพพลังงานของเครืองทาํ ความเยน็ สาํ หรับระบบปรับอากาศประสทิ ธิภาพสูง

ประเภทของเคร่ืองทาํ น้าํ เยน็ สาํ หรับระบบปรับ ขนาดความสามารถในการทํา คาประสทิ ธิภาพ
อากาศ ความเยน็ ทภ่ี าระเตม็ พิกดั พลังงาน
ของเครอ่ื งทํานํ้าเยน็ สําหรบั (kW / Ton)
ชนดิ การระบายความ แบบของเครื่องอัด ระบบปรบั อากาศ
รอน (ตนั ความเย็น) 1.12
ทกุ ขนาด 0.88
ระบายความรอนดวย ทกุ แบบ ทกุ ขนาด 0.70
อากาศ ทกุ ขนาด
แบบลกู สูบ 0.67
ระบายความรอนดว ยนา้ํ แบบ Rotary นอ ยกวา 300 0.61
แบบ Screw ตงั้ แต 300 ขนึ้ ไป
แบบ Scroll

แบบแรงเหว่ยี ง

เทคโนโลยีการอนุรกั ษพ ลังงานสําหรบั อาคารควบคมุ
การอนรุ กั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนุรักษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

System Efficiency of Water Cooled Chiller

เทคโนโลยีการอนุรกั ษพ ลังงานสําหรบั อาคารควบคมุ
การอนุรักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

การอนุรักษ์พลังงานในเครืองปรับอากาศแบบรวมศูนย์

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลังงาน
ในระบบปรับอากาศ

1. เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลังงานในระบบระบายความร้อน
2. เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลังงานในระบบกระจายลมเยน็
3. เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลังงานในระบบผลติ นําเยน็

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลังงานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนุรักษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลังงานในระบบระบายความร้อน

1. การใช้โอโซนกับระบบคูลลิง ทาวเวอร์

Ozone Mixing
Generator Pump

Air Dryer

Condensing Unit of Chiller Cooling Tower
วฏั จกั รการทํางานของระบบโอโซนคลู ลงิ ทาวเวอร์ (คลกิ )

1. การใช้โอโซนกบั ระบบคูลลงิ ทาวเวอร์ (ต่อ) เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพ ลังงานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนุรักษพลังงานในระบบปรับอากาศ
ก่อน
ปรับปรุง หลงั
ปรับปรุง

เงินลงทนุ 1.9 ลา้ นบาท
ผลประหยดั คา่ ไฟ 3.6 แสนบาท/ปี
หมายเหต ุ : ประหยดั ค่าบํารงุ รกั ษา, ค่านํา
7.5 แสนบาท/ปี
ค่าสารเคมีบําบดั

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลงั งานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลงั งานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบระบายความร้อน

1. การใช้โอโซนกบั ระบบคูลลงิ ทาวเวอร์ (ต่อ)

ก่อนการตดิ ตงั โอโซน หลงั การติดตงั โอโซน

เทคโนโลยกี ารอนรุ ักษพ ลังงานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลงั งานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบกระจายลมเยน็

1. การใช้อุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนระหว่างอากาศ

ก่อนตดิ ตงั ของอุปกรณ์
แลกเปลยี นความร้อนอากาศ

หลงั ตดิ ตงั ของอุปกรณ์
แลกเปลยี นความร้อนอากาศ

เทคโนโลยกี ารอนรุ ักษพ ลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคมุ
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบกระจายลมเยน็

1. การใช้อปุ กรณ์ถ่ายเทความร้อนระหว่างอากาศ (ต่อ)

อุณหภูมทิ ีลดลงของอากาศทีเตมิ เข้ามาในห้องผ่านอปุ กรณ์แลกเปลยี นความร้อน อากาศและลกั ษณะ
การตดิ ตงั อุปกรณ์นีภายในฝ้าเพดาน

เทคโนโลยีการอนุรักษพลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคมุ
การอนุรักษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบกระจายลมเยน็

2. ระบบส่งลมเยน็ แบบ VAV

VAV BOX

เทคโนโลยีการอนุรกั ษพ ลังงานสําหรับอาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบกระจายลมเยน็

2. ระบบส่งลมเยน็ แบบ VAV

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพ ลงั งานสําหรับอาคารควบคุม
การอนุรักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบกระจายลมเยน็

3. การใช้เครืองปรับความเร็วรอบของมอเตอร์เครืองส่งลมเยน็

เทคโนโลยกี ารอนรุ ักษพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบกระจายลมเยน็

4. การใช้เครืองปรับความเร็วรอบของมอเตอร์เครืองส่งลมเย็น (ต่อ)

Affinity Laws

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพลังงานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบผลติ นําเยน็

1. ควบคุมความดนั ด้านคอนเดอเซอร์ให้ตาํ ทสี ุดโดยการลดอุณหภูมนิ ําหล่อเยน็ (Condenser water reset)

เทคโนโลยีการอนุรกั ษพ ลังงานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนุรกั ษพ ลงั งานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบผลติ นําเยน็

2. ควบคุมความดนั ด้านอแี วปอเรเตอร์ (Evaporator) ให้สูง
ทสี ุดโดยเพมิ อุณหภูมนิ ําเยน็ (Chilled water Reset)

เทคโนโลยีการอนุรักษพ ลังงานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนุรักษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบผลติ นําเยน็

3. การเดนิ เครืองชิลเลอร์เป็ นลาํ ดบั ตามความต้องการของภาระ (Chiller Load Sequence)

„ กรณีทีมีเครืองทาํ นําเยน็ อยหู่ ลายชดุ โดยการจดั เครืองทาํ นําเยน็ ทีมีค่า kW/Ton สงู
เดินเป็นหลกั โดยให้ภาระโหลดของเครอื งอย่ทู ีประมาณ 80-90 %

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนุรักษพลงั งานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบผลติ นําเยน็

4. การเลือกเครืองทมี ปี ระสิทธิภาพสูงให้ทาํ งาน

™ อาคารแห่งหนึงติดตังเครืองทํานําเยน็ 500 ตัน 5 ชุด ภาระปรับอากาศของอาคาร 1,200 ตัน
เดนิ เครืองทาํ นําเยน็ ที 80% 3 ชุด โดยมผี ลการตรวจวดั ประสิทธิภาพที 80% โหลดดงั นี

เครืองที 1 0.7 kW/Ton

เครืองที 2 0.68 kW/Ton

เครืองที 3 0.95 kW/Ton

เครืองที 4 0.98 kW/Ton

เครืองที 5 0.72 kW/Ton

เทคโนโลยกี ารอนุรกั ษพลังงานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนรุ ักษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบผลติ นําเยน็

4. การเลือกเครืองทมี ปี ระสิทธิภาพสูงให้ทาํ งาน (ต่อ)

™ ถ้าเดนิ เครือง 3,4 และ 5 จะใช้พลงั งานไฟฟ้า

= (0.95 x 400) + (0.98 x 400) + (0.72 x 400)
= 1,062 kW

™ ถ้าเดนิ เครือง 1,2 และ 5 จะใช้พลงั งานไฟฟ้า

= (0.7 x 400) + (0.68 x 400) + (0.72 x 400)
= 840 kW
ลดลงเท่ากบั 1,062 – 840 = 222 kW

เทคโนโลยีการอนุรกั ษพลงั งานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนุรกั ษพลังงานในระบบปรับอากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบผลติ นําเยน็

4. การเลือกเครืองทมี ปี ระสิทธิภาพสูงให้ทาํ งาน (ต่อ)

™ ถา้ อาคาร ทาํ งานวนั ละ 12 ชวั โมง 365 วนั ต่อปี ค่าไฟฟ้าเฉลียของอาคาร
3.3 บาท/kWh จะประหยดั ค่าใช้จ่ายเท่าใด

™ คิดพลงั งานทีลดลง

= 222 x 12 x 365
= 972,360 kWh/ปี

™ ค่าไฟฟ้าทีลดลง

= 972,360 x 3.3
= 3,208,788 บาท/ปี

เทคโนโลยีการอนุรักษพ ลงั งานสําหรบั อาคารควบคมุ
การอนุรกั ษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบผลติ นําเยน็

5. การปรับความเร็วรอบของปัมนําเยน็ / ปัมนําหล่อเยน็ (ต่อ)

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพลงั งานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

เทคโนโลยี / เทคนิคการอนุรักษ์พลงั งานในระบบผลติ นําเยน็

6. การเครืองทาํ นําเยน็ ชนิดปรับความเร็วรอบคอมเพรสเซอร์ (VSD Chiller) (ต่อ)

กราฟแสดงประสิทธิภาพของเครืองทาํ นาํ เยน็ (kW/Ton) ทีภาระการทาํ ความเยน็ ต่างๆ

ของคอมเพรสเซอร์แต่ละชนิด ทีมา : Danfoss Turbocar Compressor Inc.

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพ ลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนรุ ักษพลังงานในระบบปรับอากาศ

MAGNETIC
BEARING
CHILLER

Magnetic Bearing Chiller

เทคโนโลยกี ารอนรุ ักษพลังงานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลังงานในระบบปรบั อากาศ

The Important Key of Technology

Magnetic Bearing Technology 2 Stage Compression Technology Motor & Controller Technology

Two Stage Centrifugal

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลังงานสําหรับอาคารควบคุม
การอนรุ ักษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

Technology

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม
การอนุรักษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์

•• กาํ หนดเวลาเปิ ด-ปิ ดเครืองทาํ นําเยน็ ให้เหมาะสม
การเพมิ ประสิทธิภาพในระบบนําหล่อเยน็ ของเครืองทาํ นํา
เยน็
•••••• การปรับตังอุณหภมู ขิ องเครืองทาํ นําเยน็ ให้เหมาะสม
การทาํ ความสะอาดคอนเดนเซอร์เครืองทาํ นําเยน็
การเลือกเดนิ เครืองทาํ นําเยน็ ประสทิ ธภิ าพสูงเป็ นหลัก
การใช้เครืองทาํ นําเยน็ ในจุดทมี ีประสทิ ธิภาพสูงสุด
การหรีวาล์วทีออกจากปัมเพือลดอัตราการไหลของนํา
การทยอยเพมิ ภาระการปรับอากาศ

เทคโนโลยีการอนรุ กั ษพลังงานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนุรกั ษพลังงานในระบบปรับอากาศ

การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์

กําหนดเวลาปิด-เปิดเครืองทํานําเย็นให้เหมาะสม

ข้อมลู เบอื งต้น

• อาคารประเภทศนู ย์การค้า
• เครืองทาํ นําเยน็ แบบระบายความร้อนด้วยนํา 2 ชดุ
• กําลงั ไฟฟา้ 177.9 kWตอ่ ชดุ

เทคโนโลยีการอนรุ ักษพ ลงั งานสาํ หรับอาคารควบคุม

การอนรุ ักษพลงั งานในระบบปรบั อากาศ

การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์

ตารางเปิ ด-ปิ ด Chiller วนั ธรรมดา จันทร์-ศุกร์ (ฤดูร้อน) เวลาปิ ด ก่อนปรับปรุง

เวลาเปิ ด

09.00 น. เปิ ด Chiller ชุดที 1 15.00 น. เปิ ด Chiller ชุดที 1

12.30 น. เปิ ด Chiller ชุดที 2 20.30 น. เปิ ด Chiller ชุดที 2

ตารางเปิ ด-ปิ ด Chiller วนั ธรรมดา จันทร์-ศุกร์ (ฤดูฝน)

เวลาเปิ ด เวลาปิ ด

08.46 น. เปิ ด Chiller ชุดที 1 14.00 น. เปิ ด Chiller ชุดที 1

11.20 น. เปิ ด Chiller ชุดที 2 20.30 น. เปิ ด Chiller ชุดที 2

ตารางเปิ ด-ปิ ดChiller วนั เสาร์-อาทติ ย์และวนั หยดุ นักขตั ฤกษ์

เวลาเปิ ด เวลาปิ ด

08.46 น. เปิ ด Chiller ชุดที 1 15.00 น. เปิ ด Chiller ชุดที 1

09.56 น. เปิ ด Chiller ชุดที 2 21.30 น. เปิ ด Chiller ชุดที 2

เทคโนโลยกี ารอนุรักษพลังงานสาํ หรบั อาคารควบคุม
การอนรุ กั ษพ ลงั งานในระบบปรับอากาศ

การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์

ตารางเปิ ด-ปิ ด Chiller วันธรรมดา จนั ทร์-ศุกร์ (ฤดูร้อน) หลงั ปรับปรุง

เวลาเปิ ด เปิด Chiller ชดุ ที 1 เวลาปิ ด เปิด Chiller ชดุ ที 1
09.15 น. เปิด Chiller ชดุ ที 2 15.00 น. เปิด Chiller ชดุ ที 2
12.30 น. 20.15 น.

ตารางเปิ ด-ปิ ด Chiller วนั ธรรมดาจันทร์-ศุกร์(ฤดฝู น)

เวลาเปิ ด เปิด Chiller ชดุ ที 1 เวลาปิ ด เปิด Chiller ชดุ ที 1
09.00 น. เปิด Chiller ชดุ ที 2 14.00 น. เปิด Chiller ชดุ ที 2
11.20 น. 20.15 น.

ตารางเปิ ด-ปิ ดChillerวันเสาร์-อาทติ ย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์

เวลาเปิ ด เปิด Chiller ชดุ ที 1 เวลาปิ ด เปิด Chiller ชดุ ที 1
09.00 น. เปิด Chiller ชดุ ที 2 15.00 น. เปิด Chiller ชดุ ที 2
09.56 น. 21.15 น.

เทคโนโลยีการอนุรักษพลงั งานสําหรบั อาคารควบคุม
การอนุรกั ษพลังงานในระบบปรบั อากาศ

การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์

กําหนดเวลาปิด-เปิดเครืองทํานําเยน็ ให้เหมาะสม

การคาํ นวณ 177.90 kW

กําลงั ไฟฟา้ จากการตรวจวดั 0.50 ชม/วนั
จํานวนชวั โมงการทาํ งานลดลง 365 วนั /ปี
จํานวนวนั ทํางาน 177.90 kW× 0.50 ชม/วนั × 365 วนั /ปี
พลงั งานไฟฟา้ ทีลดลง = 32,466.75 kWh/ปี

คา่ พลงั งานไฟฟา้ เฉลยี 2.98 บาท/ kWh
คา่ ไฟฟา้ ทีประหยดั ได้ 32,466.75 kWh/ปี × 2.98 บาท/ kWh
= 96,750.92 บาท/ปี

เทคโนโลยกี ารอนุรกั ษพลังงานสาํ หรบั อาคารควบคมุ

การอนรุ กั ษพ ลงั งานในระบบปรบั อากาศ

การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศแบบรวมศนู ย์

การเพมิ ประสทิ ธิภาพในระบบนําหลอ่ เย็นของเครืองทํานําเยน็

ƒ การควบแนน่ เกิดขนึ ระหว่างชว่ ง 2-3 ถ้าลดความดนั
ลงการควบแน่นจะเกิดขนึ ระหวา่ งชว่ ง 5-6

ƒ การทํางานของคอมเพรสเซอร์จะเปลียนจาก 1-2
เป็น 1-5 และอตั ราการทําความเย็นก็จะเปลียนจาก
4-1เป็น 7-1

ƒ ผลลพั ธ์คือลดงานของคอมเพรสเซอร์ลงแตเ่ พิมอตั รา
การทําความเย็นจึงทําให้ ประสิทธิภาพของเครื อง
ผลิตนําเย็นเพิมขนึ

ƒ ความดนั ของการควบแน่นสามารถลดลงได้โดยการ
ลดอณุ หภมู ขิ องคอนเดนเซอร์ลง

จาก Pressure-Enthalpy Diagram ของสารทําความเย็นเมืออณุ หภมู ิทางด้านคอนเดนเซอร์
ลดลง 1°F จะทําให้ประสิทธิภาพในการทําความเย็นดีขนึ ประมาณ 1.5%

เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพลังงานสาํ หรับอาคารควบคมุ
การอนรุ กั ษพ ลังงานในระบบปรับอากาศ

การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์

การเพมิ ประสทิ ธิภาพในระบบนําหลอ่ เย็นของเครืองทํานําเย็น

โรงพยาบาลหาดใหญ่

เนืองจากภาระการทําความเย็นของโรงพยาบาล
หาดใหญ่จะมากในวนั จนั ทร์ - ศกุ ร์ เวลา 08.30-
16.00 น. จงึ ทําให้อณุ หภมู ินําหลอ่ เย็นทีออกจาก

คอนเดนเซอร์ มีอุณหภูมิถึง 96qF ทําให้
ประสิทธิภาพของการทําความเย็นตําลงในขณะที
ต้ องการทําความเย็นเท่าเดิมเป็ นผลทําให้ ไม่
ประหยดั พลงั งาน


Click to View FlipBook Version