The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Digital Learning
- ความหมาย
- ลักษณะของการเรียนรู้
- การออกแบบการเรียนรู้
- แนวทางการจัดการเรียนรู้
-การประเมินการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by New Pattana, 2022-08-21 02:33:59

Digital Learning

Digital Learning
- ความหมาย
- ลักษณะของการเรียนรู้
- การออกแบบการเรียนรู้
- แนวทางการจัดการเรียนรู้
-การประเมินการเรียนรู้

Keywords: digital,learning

DIGITAL
LEARNING

สมาชกิ ภายในกลุ่ม

นางสาวอิศราภรณ์ คาภแู สน เลขท่ี 4 เสนอ
นางสาวนา้ ฝน บุรวิ งค์ เลขท่ี 11 ผศ.ดร.พิจติ รา ธงพานิช
นายปทั วี ศรอี ภัย เลขท่ี 13 รายวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมฯ
นายพัฒนะ พนมวฒั นา เลขที่ 22
นายสัจจา เขยไชย เลขที่ 24

ป.บณั ฑิต สาขาวชิ าชพี ครู กล่มุ เรยี นท่ี 2
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยนครพนม

DIGITAL
LEARNING

Digital Learning เป็นการเรยี นรู้โดยใช้
เทคโนโลยีดิจทิ ัลเป็นเคร่อื งมือสนับสนุนให้การเรยี นรูม้ ี
ประสิทธิภาพมากข้นึ ผู้เรยี นท่ีมีประสบการณ์การเรยี นรู้
แบบ Digital Learning อย่างต่อเน่ือง จะมีทักษะใน
การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
ซ่ึง เป็ นพ้ื นฐ า นส าคั ญข อ งก าร ดา รง ชีวิต แล ะก า ร
ประกอบอาชพี ในอนาคต

“ ความหมายของ Digital Learning

Digital Learning หมายถึง การเรยี นรขู้ องผู้เรยี นโดยใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล
(Digital technology) เชน่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Application ส่ือออนไลน์ เป็น
ต้น และอุปกรณ์ดิจทิ ัล (Digital devices & Tools) เชน่ Smart Phone, Tablet,
Computer เป็นต้น เป็นเคร่ืองมือสนับสนุนการเรียนรู้ของตนเองให้การเรียนรู้มี
ประสิทธิภาพมากข้ึน (เรียนรู้ได้มากข้ึน เรียนรู้ได้เร็วข้ึน เรียนรู้ได้ถูกต้องและชัดเจน
มากข้นึ เรยี นรแู้ ล้วนาไปใชป้ ระโยชน์ได้มากข้นึ แต่ใชเ้ วลาลดลง)

ลักษณะของการเรยี นรแู้ บบ
Digital Learning

Digital Learning เปน็ การผสมผสาน
ระหวา่ งเทคโนโลยีดิจทิ ัลกับการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น
ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลและอุปกรณ์ดิจทิ ัลเป็น
เคร่อื งมอื สนับสนุนการเรยี นรู้ ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล
อย่างหลากหลาย เพ่ื อบรรลุเป้าหมายของการ
เรยี นรใู้ ชโ้ ปรแกรม หรอื Application มาชว่ ยให้
การเรียนรู้มีประสิ ทธิภาพมากยิ่งข้ึน (เรียนรู้
ได้มากข้นึ แต่ใชเ้ วลาลดลง)

ลักษณะของการเรยี นรแู้ บบ
Digital Learning

ผเู้ รยี นวเิ คราะห์และเลอื กใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล อุปกรณ์ดิจิทลั เช่น Smart Phone
Computer, Application เป็นต้น ให้สอดคล้องกับบริบทและเปา้ หมายของการเรียนรู้
อีกทั้งมีจิตดิจิทัล (Digital mind) หรือการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลด้วยความรับผิดชอบต่อ
สังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดระยะเวลาการเรียนรู้

ผู้สอนมีบทบาทในการออกแบบการเรียนรู้ (Learning design) ที่มีสถานการณ์
ให้ผู้เรียนต้องใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ ในการปฏิบัติกรรมตาม
เปา้ หมาย และเป็นสถานการณท์ ม่ี ลี กั ษณะบรู ณาการ (Main concept) ตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร ตลอดจนผสมผสานสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึง
ประสงคเ์ ขา้ ไปในกจิ กรรมการเรียนรู้

ลักษณะของการเรยี นรแู้ บบ
Digital Learning

ใ น ร ะ ห ว่ า ง ที่ ผู้ เ รี ย น ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ
กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามแนว Digital Learning
ผู้สอนทาหน้าที่โค้ช ด้วยการช้ีแนะให้ผู้เรียนคิด
วเิ คราะหว์ า่ จะต้องใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลหรอื อุปกรณ์
ดิจทิ ัลอะไรในการเรยี นรใู้ ชเ้ ม่ือไหร่ ใช้อย่างไร และ
ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี วิ นั ย ใ น ต น เ อ ง ( self-
discipline) ระหว่างการปฏิบัติ กิ จกรรมการ
เรยี นรู้

ลักษณะของการเรยี นรแู้ บบ Digital Learning

วนิ ัยในตนเอง เป็นปัจจยั พ้ืนฐานที่สาคัญของ Digital Learning สาหรบั ผู้เรยี นทุระดับ
และการเรยี นรทู้ ุกเร่อื ง เพราะวินัยในตนเองจะเป็นปัจจยั ท่ีทาให้ผู้เรยี นมีเป้าหมายทางการเรยี นรขู้ อง
ตนเอง ควบคุมตนเองในกระบวนการเรียนรู้ และกากับตนเองไปสู่เป้าหมาย ผู้เรียนท่ีขาดวินัยใน
ตนเองจะประสบปญั หาในการเรยี นรแู้ บบ Digital Learning อยา่ งมาก

ดังนั้นผู้สอนจงึ ควรให้ความสาคัญกับการเตรียมพ้ืนฐานด้านการมีวินัยในตนเองให้กับ
ผู้เรยี นอยา่ งต่อเน่ือง และกระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นมีวนิ ัยในตนเอง ระหวา่ งที่ผู้เรยี นปฏิบัติกิจกรรมการเรยี นรู้
ด้วยวิธีการที่สร้างสรรค์ และพยายามหลีกเล่ียงการสร้างเง่ือนไขบังคับให้ผู้เรียนมีวินัยในตนเอง
เพราะเปน็ วธิ ีการท่ีไม่ทาให้ผู้เรยี นมวี นิ ัยในตนเองอย่างยั่งยนื

ลักษณะของการเรยี นรแู้ บบ Digital Learning

แนวทางและวิธีการกระตุ้นวนิ ัยในตนเองของผู้เรยี นในการเรียนรแู้ บบ Digital Learning
คือ การออกแบบการเรยี นรใู้ ห้ตอบสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรยี น (ใชผ้ ู้เรยี นเปน็ ตัวต้ัง
และบูรณาการ Main concept เข้าไป) ซ่ึงผู้สอนควรวเิ คราะห์ผู้เรยี นให้ชดั เจนก่อนท่ีจะออกแบบการ
เรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีตอบสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรยี น คือ ส่ิงกระตุ้นวนิ ัย
ในตนเองท่ีดีที่สุด

การออกแบบการเรยี นรู้
แบบ Digital Learning

การออกแบบชน้ั เรยี น Digital Learning คือ
การเปิดพ้ืนท่ีให้ผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลในการเรียนรู้
ซ่งึ สามารถประยุกต์ใชไ้ ด้ในการจดั การเรยี นรสู้ าหรบั ผู้เรยี น

ทกุ ระดับ ทกุ รายวชิ า มีแนวทางดังน้ี

1. ออกแบบสถานการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ัลในการทางานร่วมกัน (Collaborative working)
ตอบสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียน และ
อาจนาไปสู่การสร้างสรรค์ช้ินงานหรือนวัตกรรมท่ีผู้เรียน
สนใจ

การออกแบบการเรยี นรแู้ บบ
Digital Learning

2. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้มี
ความหลากหลายในลักษณะของการ
เรียนรู้ส่ วนบุคค ที่ผู้เรียนสามารถ
อ อ ก แ บ บ ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ที่
สอดคล้องกับธรรมชาติของตนเองได้
จ ะ ท า ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี ท า ง เ ลื อ ก ใ น ก า ร ใ ช้
เทคโนโลยีดิจทิ ัลอย่างหลากหลาย แต่
ยังคงเช่ือมโยงกับ Collaborative
working

การออกแบบการเรยี นรแู้ บบ
Digital Learning

3. เตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรการเรียนรู้
อุปกรณ์การเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้โดยเฉพาะ
แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์ ท่ีผู้สอนต้องเตรียมไว้
ล่วงหน้า ไม่ปล่อยให้ผู้เรียนสืบค้นเองแบบไม่มี
ทิศทาง

4. จัดระบบหรือข้ันตอนการเรียนรู้ให้ชัดเจนว่า
กิจกรรมลาดับแรกคืออะไร ผู้เรียนใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ัลอะไร กิจกรรมลาดับถัดไปคืออะไร ผู้เรียนใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลอะไร หรือกิจกรรมใดไม่ต้องใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล ทั้งน้ีเพ่ื อให้ผู้เรียนติดตามหรือ
ปฏิบัติกิจกรรมการเรยี นรอู้ ย่างเป็นข้ันเป็นตอน ไม่
สะเปะสะปะ ไรท้ ิศทาง

แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบ
Digital Learning

การจดั การเรียนร้แู บบ Digital Learning
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลต่างๆ เป็น
เคร่อื งมอื สนับสนุนการเรยี นรโู้ ดยไม่มีข้อกาหนดตายตัว
ว่าจะต้องใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลอะไร และไม่มีข้อกาหนดว่า
จะต้องใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลในทุกกิจกรรมการเรียนรู้แต่
จะต้องใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของการจัดการเรียนรู้
เชน่ ธรรมชาติของผู้เรยี น เน้ือหาสาระ ทรพั ยากรที่มีอยู่
จ ริ ง เ ป็ น ต้ น ซ่ึ ง ก า ร จัด ก า ร เรี ย น รู้ แ บ บ Digital
Learning มีแนวทางดังต่อไปนี้

แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบ
Digital Learning

1. สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล
ของผู้เรยี น แนะนาใหผ้ ู้เรยี นเห็นความสาคัญและคุณค่า
ที่แท้จริงของการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ื อการเรียนรู้
ไมใ่ ชเ่ พ่ือความสนุกสนานเพลิดเพลิน

2. เปิดพ้ืนที่ให้ผู้เรียนมีอิสระในการเลือกใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ัลตามความคิดของผู้เรียนเองก่อน หากผู้เรียนใช้
เทคโนโลยีดิจทิ ัลไม่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ จงึ ชี้แนะ
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หลักการเลือกใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ัลที่เหมาะสม และตอบสนองวตั ถปุ ระสงค์

แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบ
Digital Learning

3. กระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาเคร่ืองมือดิจิทัลใหม่ๆ ที่
ต อ บ ส น อ ง ก า ร ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น ไ ด้ ดี ก ว่ า
เคร่ืองมือดิจิทัลแบบเดิมๆ และผู้สอนควรช้ีแนะให้
ผู้เรียนเห็นว่า เคร่อื งมือดิจทิ ัลมีความหลากหลาย ควร
เลือกใชใ้ ห้ตอบสนองวตั ถปุ ระสงค์

4. ให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้
เคร่อื งมือหรอื อุปกรณ์ดิจทิ ัลในการทางาน เพ่ือเป็นการ
เปิดโลกทัศน์ของการเรียนรู้แบบดิจิทัลของผู้เรียนให้
กวา้ งขวางมากย่ิงข้ึน

แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบ
Digital Learning

5. เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เคร่ืองมือ
หรืออุปกรณ์ดิจิทัลเชิงบูรณาการ หมายความว่า
ผู้สอนควรสอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรมในการใช้งาน
ดิ จิ ทั ล เข้ า ไ ป ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ห รื อ ก า ร ป ฏิ บั ติ
กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเน้นให้ผู้เรียน
ตระหนักในคุณธรรมจริยธรรม ความซ่ือสัตย์การให้
เกียรติบุคคลอ่ืนการไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ หรือทรัพย์สิน
ทางปัญญาของบุคคลอ่ืนส่ิงเหล่านี้เป็นพ้ื นฐานท่ี
สาคัญของ Digital Learning

การประเมนิ การเรยี นรแู้ บบ Digital Learning

การประเมินการเรียนรใู้ นลักษณะ Digital Learning ใช้เคร่อื งมือและอุปกรณ์ดิจทิ ัล
มาสนับสนุนการวัดและประเมิน เพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนบนพ้ืนฐานแนวคิดการประเมิน
เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ใช้การประเมิน เป็นส่ิงกระตุ้นศักยภาพ
ของผู้เรยี น (assessment for improvement) ไม่ใช่ประเมนิ เพ่ือตัดสินผู้เรียน (assessment
for judgment) เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ดิจทิ ัลสนับสนุนการประเมินการเรยี นร้มู ีความหลากหลาย
เช่น การประเมินผลงานผู้เรียนผ่านอีเมลส่วนตัว การประเมินผลงานกลุ่มผ่าน Software ท่ี
เกี่ยวข้องกับการเรียน หรือแม้แต่การให้ข้อเสนอแนะผ่าน Application ต่างๆ จะช่วยให้ ผู้เรยี น
ทราบผลการประเมินอย่างรวดเร็ว อาจเป็นแบบ Real time feedback ก็สามารถทาได้ ท้ังน้ี
ข้ึนอยู่กับการออกแบบการประเมิน ของผู้สอนที่สอดคล้องกับบริบททางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ จุดเน้นประการหน่ึงของการประเมินในลักษณะ Digital Learning คือ การทาให้
ผู้เรียนทราบผลการประเมินและข้อมูล ย้อนกลับอย่างรวดเร็ว ซ่ึงทาให้ผู้เรียนมีจติ ใจจดจอ่ อยู่กับ
การเรยี นรขู้ องตนเอง อีกทั้งเปน็ การกระตุ้นแรงจงู ใจภายในในการเรยี นรู้อกี ด้วย

บทสรปุ

การเรยี นรแู้ บบ Digital Learning พัฒนาผู้เรยี นให้มีทักษะ
ในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลต่างๆ เพ่ือการเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเน่ือง ผู้สอนออกแบบกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีมีสถานการณ์ ให้ผู้เรยี น
ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ อีกทั้งทา
หน้าท่ีโค้ช ให้คาชี้แนะ ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด บูรณาการคุณธรรจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ัลในกิจกรรมการเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version