The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by New Pattana, 2023-05-31 03:39:45

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7E) และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี QR Code เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชาชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

ชุดที่ 5 อาณาจักรพืช

Keywords: วิทยาศาสตร์,ชีววิทยา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ้ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี QR Code เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชาชีววิทยา 6 (ว30246) ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ้ เรื่อง ความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิต 5 SCAN ME


คำนำ ชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรแบบสืบเสาะหาความรู 7 ขั้น (7E) และประยุกตใชเทคโนโลยี QR Code เพื่อสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง วิชาชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต มีจำนวน 8 ชุด รวมเวลาจัดกิจกรรม 16 ชั่วโมง เปนชุดกิจกรรมที่จัดทำขึ้นจากการศึกษาวิเคราะหหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) และศึกษาจากสภาพปญหาการจัด การเรียนการสอนวิชาชีววิทยาของโรงเรียนชุมชนเทศบาล ๓ (พินิจพิทยานุสรณ) พบปญหานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่ำ จึงไดจัดกิจกรรมเนนผูเรียนเปนสำคัญ ที่จะชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางเปนขั้นตอน เขาใจเนื้อหาไดงายขึ้น มีการทบทวนความรูเดิม สรางความสนใจกระตุนใหนักเรียนเกิดความอยากรู อยากเห็น เพื่อรวมกันทำการสำรวจ และคนหา ทำการทดลอง อธิบาย สรุปผล ตลอดจนการสืบคนขอมูลขยายความรูเพิ่มเติม การประเมินผล และนำความรูที่ไดไปใชทำใหเกิดการเรียนรูอยางมีทักษะ สรางเจตคติที่ดีทางวิทยาศาสตรใหกับ ผูเรียน นอกจากนี้ยังนำเทคโนโลยี QR Code มาประยุกตใชในกิจกรรมการเรียนรู เพื่อชวยให นักเรียนไดเขาถึง สื่อมัลติมีเดียที่หลากหลาย ศึกษาความรูเพิ่มเติมดวยตนเองไดตามความสะดวกและตามตองการ ทำใหการเรียน การสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อันนำไปสูการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรชุดนี้ เปนชุดกิจกรรมการเรียนรูชุดที่ 5 เรื่อง อาณาจักรพืช ซึ่งประกอบดวย คำชี้แจง ผลการเรียนรู จุดประสงค สาระการเรียนรู เวลาที่ใช วิธีใชชุดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและอุปกรณการเรียนรู แบบทดสอบกอนเรียน ซึ่งเปนแบบตัวเลือก 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ขอ พรอมทั้งบัตรความรูและบัตรกิจกรรม รวมทั้ง มีแบบทดสอบหลังเรียนและเฉลยแบบทดสอบและบัตรกิจกรรมทายสุดมีแบบบันทึกคะแนนกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน ผูจัดทำหวังเปนอยางยิ่งวาชุดกิจกรรมการเรียนรูนี้ จะเปนประโยชนตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครู และนักเรียนเปนอยางดี นักเรียนสามารถนำความรู ประสบการณที่ไดรับไปใชในชีวิตประจำวันไดอยางถูกตอง โดยใหนักเรียนไดทำกิจกรรมกลุม ไดฝกทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร จากการที่นักเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม ตามลำดับขั้นและนักเรียนสามารถนำความรูที่ไดไปใชในชีวิตประจำวัน สงผลใหเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่อง สามารถ สรางองคความรูดวยตนเอง นอกจากนี้ชุดกิจกรรมนี้ยังสามารถใชพัฒนาการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดเปนอยางดี ชวยสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักเรียน สงเสริมการหาความรูนอก หองเรียนดวยเทคโนโลยี QR Code มีภาพประกอบและสื่อมัลติมีเดียเพื่อใหเกิดความเพลิดเพลินในบทเรียนเพื่อ ความเขาใจยิ่งขึ้น บุษกร ปทุมไกยะ ก


ข สารบัญ เรื่อง หนา คำนำ สารบัญ คำชี้แจง การใชชุดกิจกรรมการเรียนรู ผลการเรียนรู จุดประสงคเชิงพฤติกรรม สาระการเรียนรู บทบาทของนักเรียน แบบทดสอบกอนเรียน บัตรกิจกรรมการเรียนรูที่ 1 บัตรความรูที่ 1 บัตรกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 บัตรความรูที่ 2 บัตรกิจกรรมการเรียนรูที่ 3 บัตรความรูที่ 3 บัตรกิจกรรมการเรียนรูที่ 4 แบบทดสอบหลังเรียน บรรณานุกรม ภาคผนวก แบบบันทึกคะแนนระหวางเรียน เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1-4 แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน และประเมินคุณลักษณะ ก ข ค ง จ ฉ ฉ ช 1 4 5 8 9 13 15 25 27 30 32 33 34 35 41


ค คําชี้แจง ชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรแบบสืบเสาะหาความรู 7 ขั้น (7E) และประยุกตใชเทคโนโลยี QR Code เพื่อสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง วิชาชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เรื่องความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ประกอบ ดวย ชุดกิจกรรมการเรียนรู 8 ชุด ดังนี้ ชุดกิจกรรมการเรียนรูฉบับบนี้ เปนชุดกิจกรรมการเรียนรูชุดที่ 5 เรื่อง อาณาจักรพืช ซึ่งนักเรียนจะได ศึกษาเรียนรูและปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต โดยใชเวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมทั้งหมด 2 คาบเรียน และใหนักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้ ชุดที่ ชื่อชุดกิจกรรม จํานวนคาบเรียน รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 2 2 2 2 2 2 2 2 16 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ กําเนิดของสิ่งมีชีวิต อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรพืช อาณาจักรฟงไจ อาณาจักรสัตว ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย


ง การใช้ชุดกิจกรรม ขั้นเตรียมกอนใชชุดกิจกรรม 1. ทำการศึกษาคนควาในเรื่องที่ตนเองจะเรียนหรือปฏิบัติกิจกรรมมากอนลวงหนา เพื่อใหเขาใจในบทเรียน ไดดีและรวดเร็วยิ่งขึ้น 2. เตรียมความพรอมของตนเองสำหรับการปฏิบัติกิจกรรมรวมกับเพื่อนในหองเรียนและเพื่อนรวมกลุม 3. คำแนะนำในการปฏิบัติงานกลุม 3.1 เลือกประธานกลุมเพื่อเปนผูนำในการดำเนินการจัดการเรียนรู และเลขานุการกลุมเพื่อบันทึก ขอมูล 3.2 สมาชิกทุกคนตองมีสวนรวม ชวยเหลือซึ่งกันและกัน และรับผิดชอบรวมกัน 3.3 ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอยางเต็มความสามารถและรอบคอบ 4. ใชกลุมเดิมตลอดการเรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรูชุดที่ 5 เรื่อง อาณาจักรพืช ขั้นใชชุดกิจกรรม 1. ศึกษาภาระงานใหเขาใจ และปฏิบัติตามขั้นตอน 2. ปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง ไมลอกเพื่อนและไมใหเพื่อนลอก 3. ศึกษากิจกรรมดวยความตั้งใจ แลวทำการวิเคราะหเนื้อหาและสรุปเพื่อใหเขาใจงายๆ 4. ศึกษาคำชี้แจงของกิจกรรมโดยการระดมความคิดในกลุม เพื่อตอบคำถามใหตรงตามทฤษฎีของเรื่องที่ เรียนไมตอบโดยไมมีเหตุผลหรือไมมีทฤษฎีรองรับ 5. รวมอภิปรายกับครูดวยความตั้งใจ จดความรูใหม และซักถามทันทีเมื่อไมเขาใจ 6. มีความสามัคคี มีน้ำใจ ภาคภูมิใจในผลงานของกลุม โดยไมเอาเปรียบดวยการนั่งเฉยหรือกอความวุนวาย ในหองเรียน ขั้นหลังใชชุดกิจกรรม 1. ทำแบบทดสอบหลังเรียน 2. รวบรวมผลงานที่ไดจากการปฏิบัติกิจกรรมสงครู เพื่อประเมินผลการเรียนรู 3. จัดเก็บอุปกรณทุกชิ้น ใหเรียบรอย


จ ผลการเรียนรู้ ดานความรู 1. สืบคนและอภิปรายเกี่ยวกับอาณาจักรพืช 2. อธิบายอาณาจักรพืช 3. จําแนกและสรางเกณฑของอาณาจักรพืช 4. นําความรูเรื่องอาณาจักรพืชไปใชประโยชนในชีวิตประจำวัน 5. ประเมินความสำคัญของอาณาจักรพืช ดานทักษะกระบวนการ นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแบบวัฏจักร 7 ขั้น (7E) ดังนี้ 1. ทำแบบฝกหัดกอนบทเรียน เพื่อทดสอบความรูเดิม (Elicitation Phase) 2. รวมกันอภิปรายและตั้งคำถามจากแบบทดสอบกอนเรียน (Engagement Phase) 3. สืบคนขอมูลจากเอกสารประกอบการเรียนรู เรื่อง อาณาจักรพืช (Exploration Phase) 4. นำขอมูลมาดำเนินการวิเคราะห แปลผล สรุปผลและนำเสนอผลที่ไดในรูปตางๆ เชน บรรยายสรุป สรางแผนภูมิความคิดรวบยอด (Explanation and Expansion Phase) 5. ใหนักเรียนนำผลงานที่ไดจากการสรุปผลการวิเคราะหมานำเสนอหนาชั้นเรียนเพื่อนำไปสูการหาขอสรุป รวมกันในชั้นเรียนและประเมินผลงาน (Evaluation and Extension Phase) ดานคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีความสนใจใฝเรียนรู ไดแก การสนทนาซักถาม กระตือรือรนในการปฏิบัติกิจกรรม 2. มีความรับผิดชอบ ไดแก ปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ทำงานสำเร็จตามเปาหมาย 3. ความมีเหตุผล ไดแก การรวบรวมขอมูล การอธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล มีหลักการ หรือมีขอมูลอางอิง 4. มีระเบียบวินัย ไดแก ตรงตอเวลาที่นัดหมาย ปฏิบัติตามระเบียบวินัยของกิจกรรม 5. อยูอยางพอเพียง ไดแก ใชทรัพยสินตนเองอยางประหยัดทรัพยสินสวนรวมอยางคุมคา ไมเอาเปรียบคนอื่น วางแผนการเรียนการทำงาน 6. มุงมั่นในการทำงาน ไดแก ตั้งใจ อดทนทำงาน ไมยอทอ 7. รักความเปนไทย ไดแก มีจิตสำนึกในความเปนไทยและภูมิปญญาไทย 8. มีจิตสาธารณะ ไดแก ชวยเหลือเพื่อน พอแม ครู จิตอาสา ทำงานเพื่อสวนรวม


ฉ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบคนขอมูล สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุป ลักษณะที่เหมือนและแตกตางกันของสิ่งมีชีวิต ในอาณาจักรพืช 2. สืบคนขอมูล อภิปราย และนำเสนอ คุณคาของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช กับการใชประโยชนของมนุษยที่มีผลตอสังคมและสิ่งแวดลอม สาระการเรียนรู้ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืชเปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลแบบยูคาริโอตเปนพวกที่สังเคราะหดวยแสงได และสราง สารอินทรียจากสารอนินทรียได มีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) พืชมีความสัมพันธใกลชิด กับกลุมสาหรายสีเขียวมี 2 กลุมยอย คือ 1. กลุมไมมีทอลําเลียง (Nonvascular Plants) 2. กลุมมีทอลําเลียง (Vascular Plants) ชุดกิจกรรมการเรียนรูชุดที่ 5 เรื่อง อาณาจักรพืช ใชเวลาในการเรียนรู 2 คาบเรียน เวลาที�ใช้


ช บทบาทของนักเรียน 1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน เลือกประธานกลุม เพื่อเปนผูนําในการดําเนินกิจกรรมและลขานุการกลุม เพื่อบันทึกขอมูลในการปฏิบัติกิจกรรมตางๆ และมอบหมายหนาที่ใหสมาชิกแตละคนในกลุมใหชัดเจน 2. ตรวจสอบความครบถวนของชุดกิจกรรมการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแบบวัฏจักร 7 ขั้น (7E) 3. ทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อทดสอบความรูเดิมของนักเรียน 4. ศึกษากิจกรรมการเรียนรูที่ 1 แลวใหแตละกลุม รวมกันอภิปรายและตอบคําถาม 5. ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 เพื่อสํารวจและคนหาคําตอบ 6. ศึกษากิจกรรมการเรียนรูที่ 3 และ 4 จากนั้นเลิกปฏิบัติกิจกรรม อภิปรายและระดมความคิดในกลุม สรุปแกปญหาจากสถานการณที่กําหนดขึ้น แลวบันทึกคําตอบลงในแบบบันทึกกิจกรรม พรอมทั้งขยายความรูที่ไดรับ โดยการนําเสนอหนาชั้นเรียน 7. แลกเปลี่ยนกันตรวจแบบบันทึกกิจกรรมการเรียนรูที่ 1- 4 โดยเลขานุการกลุม รวบรวมแบบบันทึก คําตอบของสมาชิกไปแลกเปลี่ยนกับกลุมอื่น โดยกําหนดใหกลุมที่ 1 ตรวจกลุมที่ 8, กลุมที่ 8 ตรวจกลุมที่ 7, กลุมที่ 7 ตรวจกลุมที่ 6, กลุมที่ 6 ตรวจกลุมที่ 5, กลุมที่ 5 ตรวจกลุมที่ 4, กลุมที่ 4 ตรวจกลุมที่ 3, กลุมที่ 3 ตรวจกลุมที่ 2 และกลุมที่ 2 ตรวจกลุมที่ 1 8. ประธานรับเฉลยกิจกรรมการเรียนรูจากครูผูสอน เพื่อนํามาตรวจคําตอบ 9. สมาชิกในกลุมตรวจแบบบันทึกกิจกรรมของสมาชิกกลุมอื่น (กรณีมีขอสงสัย ใหนักเรียนถามครูผูสอน) 10. เลขานุการกลุมรวบรวมแบบบันทึกกิจกรรมกลุมคืนกลุมเดิม 11. ประธานกลุมนําเฉลยกิจกรรมคืนครูผูสอน 12. สมาชิกในกลุมบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน รวมคะแนนของสมาชิกในกลุมหาคาเฉลี่ยเปน คะแนนของกลุมแจงครูผูสอน


1 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที 5 อาณาจักรพืช่ รายวิชา ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 คะแนนเต็ม 10 คะแนน จำนวน 10 ขอ =============================================================== คำชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้เปนแบบปรนัยเลือกตอบ มีทั้งหมด 10 ขอ 2. ใหนักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตอง และทำเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคำตอบ =============================================================== 1. สิ่งมีชีวิตที่จะจัดไวในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) ตองมีลักษณะสำคัญเดนชัดในขอใด ก. มีหลายเชลล (Multicellular) และมีคลอโรพลาสต ข. มีผนังเซลล มีคลอโรพลาสต และมีวงจรชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) ค. มีระยะตนออน มีคลอโรพลาสต และมีวงจรชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) ง. มีเนื้อเยื่อ มีระยะตัวออน มีการสืบพันธุแบบใชเพศสลับกับแบบไมใชเพศ 2. ลิเวอรเวิรตเปนพืชพวกใด ก. อยู Phylum Hepatophyta เพราะไมมีทอลำเลียง ข. อยู Phylum Hepatophyta เพราะมีทอลำเลียง ค. อยู Phylum Bryophyta เพราะไมมีทอลำเลียง ง. อยู Phylum Bryophyta เพราะมีทอลำเลียง 3. ใบของมอสไมถือวาเปนใบที่แทจริงเพราะเหตุใด ก. ขนาดเล็กเกินไป ข. ไมมีสีเขียว ค. รงควัตถุภายในไมใชคลอโรฟลล ง. ไมมีทอลำเลียง 4. ลักษณะสำคัญของพืชพวกจิมโนสเปรมคือขอใด ก. สรางโคน (Cone) ที่ผลิตสเปรมและไขภายในตนเดียวกัน ข. มีสวนที่เปนราก ลำตน ใบ และดอกที่แทจริง ค. เมล็ดไมมีผนังรังไขหอหุม ง. มีใบขนาดเล็กรูปเข็มรวมกันอยูเปนกลุม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6


2 5. หลักเกณฑที่ใชในการจัดจําแนกพืชคือขอใด ก. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Morphology) และกายวิภาคศาสตร (Anatomy) ข. แบบแผนและลักษณะการเจริญเติบโตของตัวออน (Embryology) ค. กระดูกสันหลัง การสืบพันธุ อุณหภูมิในรางกาย การหายใจ ง. ถูกทั้ง ก และ ข 6. ขอใดเปนพืชที่มีการกระจายพันธุในบริเวณที่แหงแลงไดดี มีลําตนคอนขางเตี้ย ใบมีขนาดใหญ เปนใบประกอบ แบบขนนกชั้นเดียว มีการสรางโคนเพศผูและโคนเพศเมียแยกตนกัน ก. Phylum Gnetophyta ข. Phylum Cycadophyta ค. Phylum Ginkgophyta ง. Phylum Coniferophyta 7. ขอใดคือพืชที่มีลักษณะแตกตางจากพืชเมล็ดเปลือยกลุมอื่น คือ พบเวสเซลในทอลําเลียงนํ้า และมีลักษณะคลาย พืชดอกมาก คือ มีกลีบดอก มีใบเลี้ยง 2 ใบ แตเมล็ดยังไมมีเปลือกหุม ก. Phylum Gnetophyta ข. Phylum Cycadophyta ค. Phylum Ginkgophyta ง. Phylum Coniferophyta 8. พืชใดอยูในกลุมไมดอกทั้งหมด ก. สรอยสุกรม บอน แหน ผักแวน ข. สาหรายหางกระรอก สาหรายขาวเหนียว จอก ตะไคร ค. สรอยสีดา ชายผาสีดา กระเชาสีดา พลู ง. หญารังไก หญาถอดปลอง หญาแพรก หญานกสีชมพู 9. เปนกลุมพืชที่มีลําตน มีขอปลองชัดเจน มีทั้งลําตนตั้งตรงบนดินและลําตนใตดิน ลําตนตั้งตรงบนดินมีสีเขียวเปน สัน ใบมีขนาดเล็ก มีเสนใบเพียง 1 เสน เรียงเปนวงรอบขอ อับสปอรเปนกระจุกที่ปลายกิ่ง เรียกวา Strobilus ก. หญาถอดปลอง ข. เฟรน ค. หวายทะนอย ง. แปะกวย 10. Prothallus ของเฟรนทําหนาที่อะไร ก. สรางเสปรม ข. สรางไข ค. สรางสปอร ง. ทั้งขอ ก และ ขอ ข ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ


3 กระดาษคําตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน วิชาชีววิทยา 6 ชุดที่ 5 อาณาจักรพืช ชื่อ-สกุล……………………………………………………………………ชั้น…………………………….เลขที่…………. ¡‹Í¹àÃÕ¹ ÊÃØ»¤Ðá¹¹Êͺ ËÅѧàÃÕ¹ 10 ก ข ค ง A B C D ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ


4 บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที 1่ เรือง พืชรอบตัว่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู ขั้นตรวจสอบความรูเดิม (Elicitation Phase) ขั้นเราความสนใจ (Engagement Phase) และขั้นอธิบาย (Explanation Phase) คําสั่ง ใหนักเรียนแตละกลุมนําตัวอยางพืชที่พบไดรอบๆ ตัวของนักเรียน ไมวาจากที่บานหรือที่โรงเรียน มาคนละ 3 ชนิดไมซํ้ากัน มาศึกษาชื่อและลักษณะกันในแตละกลุมและแลกเปลี่ยนกันระหวาง กลุมใหรวบรวมขอมูลพืชจํานวน 15 ชนิดและบันทึกผลลงในตารางพรอมตอบคําถาม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 คําถาม 1. พืชที่นักเรียนนํามาศึกษามีลักษณะแตกตางกันหรือไม อยางไร จงอธิบาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ถานักเรียนจะจัดกลุมพืชที่นํามาศึกษา จะแบงไดกี่กลุม ไดแกอะไรบาง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ลําดับที่ ชื่อ ลักษณะที่พบ


5 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 บัตรความรู้ที 1่ เรือง อาณาจักรพืช่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู ขั้นอธิบาย (Explanation Phase) และขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) คําสั่ง ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาบัตรความรูและรวมกันวิเคราะหอภิปรายและตอบคําถามตอไปนี้ ลงในบัตรบันทึกกิจกรรมการเรียนรู ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ อาณาจักรพืช พืชเปนสิ่งมีชีวิตที่มีกําเนิดขึ้นมาแลวไมตํ่ากวา 400 ลานป มีหลักฐานหลายอยางที่ทําใหเชื่อวา พืชมี วิวัฒนาการมาจากสาหรายสีเขียวกลุม Charophytes โดยมีการปรับตัวจากสภาพที่เคยอยูในนํ้าขึ้นมาอยูบนบกดวย การสรางคุณสมบัติตาง ๆ ที่เหมาะสมขึ้นมา เชน มีการสรางคิวติน (Cutin) ขึ้นมาปกคลุมผิวของลําตนและใบ เรียก วา คิวทิเคิล (Cuticle) เพื่อปองกันการสูญเสียนํ้าและการเกิดสโทมาตา (Stomata) เพื่อทําหนาที่ระบายนํ้าและแลก เปลี่ยนกาซ เปนตน ลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช พืชมีโครงสรางที่ประกอบขึ้นดวยหลายเซลลที่มารวมกลุมกันเปนเนื้อเยื่อ ที่ทําหนาที่เฉพาะ อยางเซลลของ พืชมีผนังเซลลที่มีสารประกอบเซลลูโลส (Cellulose) เปนองคประกอบที่พบเปนสวนใหญ พืชทุกชนิดมีคุณสมบัติที่ สามารถสรางอาหารไดเอง จากระบวนการสังเคราะหดวยเสง โดยบทบาทของรงควัตถุคลอโรฟลล (Chlorophyll a และ Chlorophyll b) ที่อยูในคลอโรพลาสตเปนสําคัญ รงควัตถุหลักที่พบได ในเซลลพืช จะเหมือนกับพบในเซลล ของสาหรายสีเขียว ไดแก คลอโรฟลล เอ, คลอโรฟลล บี และแคโรทีนอยด นอกจากนี้พืชยังสะสมอาหารในรูปของ แปง วงชีวิต (Life Cycle) ของพืชเปนวงจรชีวิตแบบสลับ (Alternative of Generation) คือประกอบดวยชวง ชีวิตที่เปนสปอโรไฟต (Sporophyte Generation) ทําหนาที่สรางสปอร (Spore) สลับกับชวงชีวิตที่เปนแกมีโทไฟต (Gametophyte Generation) ทําหนาที่สรางแกมมีต (Gamete) ไดแก เซลลสืบพันธุเพศผูหรือสเปรม (Sperm) และเซลลสืบพันธุเพศเมียหรือไข (Egg Cell) ซึ่งจะมารวมกันเพื่อใหไดเปนเซลลใหมคือไซโกด (Zygote) อวัยวะสราง เซลลสืบพันธุของพืชประกอบดวยหลายเซลล โดยมีเซลลที่เปนหมัน (Sterile Cell) หอหุมอยูรอบนอก การเจริญของ พืชจากไซโกตไปเปนสปอโรไฟตจะตองผานระยะที่เปนเอ็มบริโอ (Embryo) กอน คุณสมบัติทั้ง 2 ประการ ดังกลาว นี้จะไมพบในพวกสาหราย (Algae)


6 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ที่มา ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ วงจรชีวิตแบบสลับ (Alternative of Generation) พืชสวนใหญจะมีสปอโรไฟตเดน คือ มีขนาดที่มองเห็นไดชัดเจนทั่วไปในขณะที่แกมีโทไฟต มีขนาดเล็กแทบ มองไมเห็นดวยตาเปลา ในพืชบางกลุมแกมีโทไฟตประกอบขึ้นดวยเซลลที่เปนแฮพลอยด (n) จํานวนมากทําหนาที่ สรางแกมมีต สปอโรไฟตของพืชประกอบขึ้นดวยเซลลที่เปนดิพลอยด (2n) ทําหนาที่สรางสปอรจากการแบงเซลล แบบไมโอซิสของสปอรมาเตอรเซลล (Spore Mother Cell) ที่อยูภายในอับสปอร (Sporangium) สปอรซึ่งเปน เซลลที่เปนแฮพลอยด (n) จะแบงตัวเจริญตอไปเปนแกมีโทไฟต (n) ที่ทําหนาที่สรางแกมมีต คือ สเปรมและไข การปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การรวมตัวกันของสเปรม (n) และไข (n) จะทําใหไดเซลลใหมที่เปนดิพลอยด (2n) คือ ไซโกตเกิดขึ้นมา และตอจากนั้นไซโกตจะแบงเซลลไดเปนเอ็มบริโอกอนที่จะเจริญตอไปเปนสปอรโรไฟต ดังนั้น จึงกลาวไดวา ไซโกต คือ เซลลเริ่มตนของชวงสปอรโรไฟต และสปอร คือ เซลลเริ่มตนของชวงแกมีโทไฟต ในพืชกลุมที่ไมสรางเมล็ดสวนใหญจะมีการสรางสปอรเพียงชนิดเดียว (Homospore) ซึ่งสปอรดังกลาว จะแบงตัวและเจริญตอไปเปนแกมีโทไฟต ที่ทําหนาที่สรางทั้งสเปรมและไขบนตนเดียวกัน แตสําหรับพืชที่มี การสรางเมล็ดแลวทุกชนิดจะสรางสปอรเปน 2 ชนิด (Heterospore) ไดแก ไมโครสปอร (Microspore) และ เมกะสปอร (Mega Spore) ไมโครสปอรจะแบงตัวเจริญตอไปเปนไมโครแกมีโทไฟต (Microgametophyte) หรือ แกมีโทไฟตเพศผู (Male Gametophyte) ทําหนาที่สรางสเปรมและเมกะสปอรจะแบงตัวเจริญตอไปเปน เมกะแกมีโทไฟต (Megagametophyte) หรือแกมีโทไฟตเพศเมีย (Female Gametophyte) ทําหนาที่สรางเซลลไข ตอไป ภาพ เซลล์พืช สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


7 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ภาพ วงจรชีวิตแบบสลับจากพืช ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


8 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที 2่ เรือง อาณาจักรพืช่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาจะหาความรู ขั้นสํารวจแลคนหา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) และขั้นนําความรูไปใช (Extend Phase) คําสั่ง เมื่อนักเรียนศึกษาบัตรความรูเรื่องอาณาจักรพืชแลวจงตอบคําถามตอไปนี้ ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ 1. พืชเปนสิ่งมีชีวิตที่มีกําเนิดขึ้นมาแลวไมตํ่ากวา ....................................ป มีหลักฐานหลายอยางที่ทําใหเชื่อวา พืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหรายสีเขียวกลุม……………………………………………………………………….......…………………..... 2. ใหนักเรียนเติมสวนตางๆของเซลลพืชใหถูกตอง นิวเคลียส ผนังเซลล เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม ไรโบโซม แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต กอลจิบอดี นิวคลิโอลัส ไลโซโซม รางแหเอนโดพลาซึม 3. ลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช คือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….................……………………………… 4. พืชที่มีการสรางเมล็ดแลวทุกชนิด จะสรางสปอรเปน……………………………..………ชนิด (Heterospore) ไดแก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………........…………


ภาพ ลิเวอร์เวิร์ต (Liverwort) 9 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 บัตรความรู้ที 2่ เรือง ความหลากหลายของพืชกลุ่มไม่มีท่อลําเลียง่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู ขั้นอธิบาย (Explanation Phase) และขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) คําสั่ง ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันทํากิจกรรมเรื่องความหลากหลายของพืชกลุมไมมีทอลําเลียง ตามกิจกรรมที่กําหนดใหตอไปนี้ ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563 กลุมพืชไมมีทอลําเลียง (Nonvascular Plant) พืชไมมีทอลําเลียง (Nonvascular Plant) ชวง Gametophyte จะเดนกวาและเปนอิสระชวง Sporophyte ตองอาศัยอยูบน Gametophyte ตลอดชีวิต ไมมีราก แตมีรากเทียม (Rhizoid) ไมมี Vascular Tissue จึงลําเลียงโดย การแพรและออสโมซิสเทานั้น ทําใหลําตนจําเปนตองมีขนาดเล็ก มีลําตนและใบที่ไมแทจริง รวมเรียกวา Thallus ปจจุบันพืชที่ไมมีทอลําเลียง แบงออกไดเปน 3 ไฟลัม โดยใชรูปรางเปนเกณฑ ไดแก - ไฟลัมเฮปาโทไฟตา (Phylum Hepatophyta) ชวง Gametophyte มีทั้งที่เปนตนที่มีสวนคลายใบ และที่เปนแผนบาง ๆ ซึ่งภายในเซลลจะมีหยดนํ้ามันอยูดวย สวนชวง Sporophyte มีกานชูอับสปอรที่ยาว อับสปอรเมื่อแกจะแตกออกเพื่อปลอยสปอรกระจายพันธุ ตัวอยาง ไดแก ลิเวอรเวิรต (Liverwort) (มีประมาณ 8,000 Species)


10 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ - ไฟลัมแอนโทซีโรไฟตา (Phylum Anthocerophyta) ชวง Gametophyte มีลักษณะเปนแผน ที่บริเวณขอบมีรอยหยักแตกแขนงเปน 2 พู ชวง Sporophyte มีลักษณะยาวเรียวเกิดอยูบน Thallus ของแกมีโตไฟต ตรงปลายของสปอโรไฟตที่เจริญเต็มที่จะแตกออกเปน 2 แฉก เพื่อใหสปอรกระจายออกไป สปอโรไฟตจะมีคลอโรฟลล ที่พอจะสรางอาหารไดเอง แตก็ยังตองอาศัยอยูบน Gametophyte ตลอดชีวิต ตัวอยาง ไดแก ฮอรนเวิรต (Hornwort) ภาพ ฮอร์นเวิร์ต (Hornwort) ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


11 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ - ไฟลัมไบรโอไฟตา (Phylum Bryophyta) ชวง Gametophyte มีขนาดเล็กลักษณะคลายลําตนและใบ สวนที่คลายใบเรียงตัวเปนเกลียวโดยรอบ สวนที่คลายลําตนมีไรซอยตอยูในดิน ชวง Sporophyte มีลักษณะงายๆ เกิดบนปลายยอดหรือปลายกิ่งมีสวนประกอบ คือ ฟุตกานชูอับสปอร และอับสปอร ตัวอยาง ไดแก มอส (Moss) ภาพ มอส (Moss) ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


12 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ขาวตอกษี (Bryopsida) พืชพวกมอสมีจํานวนชนิดประมาณ 14,500 ชนิดซึ่งมากที่สุด ในกลุม ไบรโอไฟท พบไดทั่วไปมากกวาพวกลิเวอรเวิรตและฮอรนเวิรต ลักษณะคลายตนไมเล็กๆ และมักจะพบอับสปอร รูปคลายผอบเล็กๆ มีฝาปดเจริญอยูบนตนที่สรางเซลลสืบพันธุ ในประเทศไทยมีไบรโอไฟท ที่มีชื่อไทยเพียงชื่อเดียว คือ ขาวตอกษี (Sphagnum spp.) นอกนั้นยังไมมีชื่อในภาษาไทย วงศสะแฟกเนซีอี (Sphagnaceae) มอสวงศนี้พบไดที่ระดับความสูงตั้งแต 1,000 เมตรขึ้นไปชอบขึ้นไป ที่ชื้นและในแองนํ้า และมีคุณสมบัติพิเศษ คือ ทําใหนํ้าและดินบริเวณใกลเคียงกับที่มอสวงศนี้ขึ้นอยูมีสภาพเปนกรด ดังนั้นตนสวนลางที่ตายไปแลวจึงสลายตัวชา สภาพแวดลอมที่มีมอสวงศนี้ขึ้นอยูมีสังคมพันธุไมที่มีลักษณะเฉพาะ นอกจากนั้นใบของมอสชนิดนี้ยังมีลักษณะคลายฟองนํ้า ทําใหซึมซับนํ้าไดดี จึงมีความสําคัญในธรรมชาติ โดยเปน แหลงรักษาความชุมชื้นของปา Sphagnum sp.ขาวตอกษี มีสวนปลายยอดที่ประกอบดวยหลายขนาด ไดแก ถึงขนาดยาวและหอยลง แนบตน ทําหนาที่ ดูดซับนํ้าจากสวนโคนตน ซึ่งยาวแยกทั้งตรงขามกับกิ่งแบบแรกซึ่งตอมาจะหักออกไดตนใหม และ กิ่งประเภทที่ 3 เปนกิ่งที่ทําหนาที่สรางอวัยวะ สรางเซลลสืบพันธุ กิ่งทั้ง 3 แบบ มีรูปคลายเรือเรียงซอนทับกันตลอด ภาพ ข้าวตอกฤาษี (Sphagnum sp.) ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


13 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที 3่ เรือง ความหลากหลายของพืช่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู ขั้นสํารวจและคนหา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) และ ขั้นประเมินผล (Evaluate Phase) คําสั่ง ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันพิจารณาภาพแลวเติมขอความลงในชองวางใหถูกตอง ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ชื่อ.............................................................. ไฟลัม.......................................................... .................................................................. ตําแหนง A คือ ระยะ................................. ตําแหนง B คือ ระยะ................................. A B ชื่อ.............................................................. ไฟลัม.......................................................... .................................................................. ลักษณะเดน คือ.......................................... .................................................................. ..................................................................


14 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ชื่อ.............................................................. ไฟลัม.......................................................... ลักษณะเดน คือ.......................................... .................................................................. .................................................................. ชื่อ.............................................................. ไฟลัม.......................................................... ลักษณะเดน คือ.......................................... .................................................................. ..................................................................


15 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ บัตรความรู้ที 3่ เรือง ความหลากหลายของพืชกลุ่มมีท่อลําเลียง่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู ขั้นอธิบาย (Explanation Phase) และขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) คําสั่ง ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันทํากิจกรรมเรื่องความหลากหลายของพืชกลุมมีทอลําเลียง ตามกิจกรรมที่กําหนดใหตอไปนี้ กลุมพืชมีทอลําเลียง (Vascular Plant) พืชที่มีทอลําเลียงแบงออกเปน 2 กลุมยอย ดังนี้ 1. กลุมพืชมีเนื้อเยื่อลําเลียงที่ไมมีเมล็ด (Seedless Vascular Plant) จากหลักฐานซากดึกดําบรรพของพืช คือ คุกโซเนีย (Cooksonia sp.) มีอายุประมาณ 400 ลานป ในชวง ตนยุคไซลูเรียน สันนิษฐานวา พืชที่มีทอลําเลียงกลุมแรกและมีวิวัฒนาการกลายเปนกลุมพืชที่มีทอลําเลียงกลุมแรก และมีวิวัฒนาการกลายเปนกลุมพืชที่มีทอลําเลียงอื่นๆ กลุมพืชมีทอลําเลียงที่ไรเมล็ดประกอบดวยเฟรนแทและ กลุมใกลเคียงเฟรน พืชกลุมนี้มีราก ลําตนและใบที่แทจริง แกมีโทไฟตและสปอโรไฟต เจริญแยกกันหรืออยูรวมกัน ในชวงสั้น ๆ โดยแกมีโทไฟตจะมีชวงชีวิตสั้นกวาสปอโรไฟต จากการศึกษาซากดึกดําบรรพของพืชโบราณ พบวา รากของพืชกลุมนี้อาจจะวิวัฒนาการมาจากลําตนสวนลางหรือสวนที่อยูใตดินของพืชมีทอลําเลียงโบราณ พืชมีทอ ลําเลียงที่ไรเม็ด ที่พบในปจจุบันแบงออกเปน 2 ไฟลัม ดังนี้ - ไฟลัมไลโคไฟตา (Phylum Lycophyta) เปนพืชที่มีใบ ราก ลําตนที่แทจริง แตใบมีขนาดเล็ก มีเสนใบ 1 เสน สวนใหญเปนพืชที่มีอายุหลายป (Perennial) มีอยูประมาณ 200 ชนิด สวนใหญสูญพันธุไปแลว ที่ยังเหลือ และรูจักกันในปจจุบันพืชกลุมนี้มี 3 กลุม คือ - ไลโคโพเดียม (Lycopodium) ที่พบเห็นนั้นเปนระยะสปอโรไฟต จัดเปนพืชลมลุก มีทั้งชนิดที่เลื้อย ไปตามดิน ชนิดที่ตั้งตรงและชนิดที่เกาะอยูกับตนไมอื่นๆ ใบของไลโคโพเดียมเปนใบแท เปนแผนสีเขียวขนาดเล็ก เรียงตัวคลุมรอบตน มีรากเปนรากแบบพิเศษ (Adventitious Root) โดยงอกออกจากลําตน สวนที่อยูติดกับดิน เรียกวา สโตรบิลัส (Strobilus) อยูที่ปลายกิ่ง ในสโตรบิลัสมีอับสปอรมากมาย ทําหนาที่ สรางสปอรโดยวิธีการแบง เซลลแบบไมโอซิสของเซลลแมของสปอร (Spore Mother Cell) ได 4 สปอรที่เหมือนกัน ไลโคโพเดียมที่สําคัญ คือ Lycopodium cernumm คือ สามรอยยอด หรือ หญารังนก Lycopodium squarrosum คือ สรอยหางสิงห Lycopodium phlegmaria คือ ชองนางคลี่ Lycopodium corinatum คือ สรอยนางกรอง หรือ สรอยนารี


16 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563 ภาพ ไลโคโพเดียม (Lycopodium) (ก) Lycopodium cernumm (ข) Lycopodium squarrosum (ค) Lycopodium phlegmaria (ง) Lycopodium carinatum (ก) (ข) (ค) (ง)


ภาพ ตีนตุ๊กแก 17 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563 - ซีแลกจิเนลลา (Selagenella) หรือเรียกกันตามภาษาถิ่นวาตีนตุกแก, พอคาตีเมีย, หญารองไห, เฟอยนก ทั้งหมดนี้จัดเปนซีแลกจิเนลลาเหมือนกัน ซีแลกจิเนลลามีลักษณะคลายๆ กับไลโคโพเดียม ลําตนแตกแขนง เปน 2 แฉก อาจเปนชนิดตั้งตรงหรือเลื้อยไปตามดิน มีใบขนาดเล็กเรียงเปน 4 แถว ตามความยาวของลําตน ที่โคนมีลิกูล (Ligule) ซึ่งมีลักษณะคลายใบเกล็ด ติดอยูในไลโคโพเดียม ไมมีบริเวณปลายกิ่งมีสโตรบิลัสซึ่งมีอับสปอร 2 ชนิด คือ เมกะสปอรแรงเจียม (Megasporangium) มีขนาดใหญทําหนาที่สรางเมกะเปอร (Megaspore) ซึ่งตอไปจะเจริญไป เปนแกมีโทไฟตเพศเมีย สรางเซลลไข สวนอีกชนิดหนึ่งเรียกวา ไมโครสปอรแรงเจียม (Microsporangium) มีขนาด เล็ก ซึ่งตอไปจะเจริญไปเปนแกมีโทไฟตเพศผู สรางสเปรม


ภาพ กระเทียมนํ้า ภาพ หวายทะนอย 18 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ กระเทียมนํ้า (Isoetes) เปนพืชที่ขึ้นในที่รมมีนํ้าขังตื้น ๆ จึงจัดเปนพวกพืชนํ้า พบเหลืออยูเพียงชนิดเดียว ลําตนมีลักษณะเปนกออยูใตดินคลายหัวราก เปนแบบรากพิเศษ (Adventitious Root) ใบมีขนาดเล็กยาวเรียว สวนฐานใบกวางหอหุมอัปสปอร ใบมีปากใบและเสนใบยาวตลอดใบ ภายในใบมีชองอากาศชวยในการหายใจและ ลอยนํ้า ไฟลัมเทอโรไฟตา (Phylum Pterophyta) พืชกลุมนี้แบงเปน 3 กลุมยอย คือ (1) หวายทะนอย หรือไซโลตัม (Psilotum sp.) ลักษณะของไซโลตัม คือ มีลําตนใตดิน เรียกวา ไรโซม (Rhizome) ไมมีรากแตมีไรซอยด (Rhizoid) ซึ่งประกอบดวยเซลลเพียงเซลลเดียวปกคลุมอยู และทําหนาที่แทนราก สวนที่อยูเหนือดินเรียกแอเรียลสเต็ม (Aerial Stem) มีลักษณะเปนเสนแส แตกกิ่งแบบไดโคโตมัส มีลักษณะเปนเหลี่ยม ทําหนาที่สังเคราะหแสง ไมมีใบแตมีสเกลลีฟ (Scale Leaf) ซึ่งประกอบดวยเซลลพาเรงคิมา (Parenchymas Cell) และไมมีทอลําเลียงจึงไมจัดวาเปนใบ เมื่อไซโลตัมเจริญเต็มที่จะสรางอัปสปอร (Sporangium) มีลักษณะเปน 3 พู (Three Lobed) ซึ่งจะสรางสปอรโดยการแบงเซลลแบบไมโอซิสได 4 สปอรที่เหมือนกันทั้งหมด (Homosporous) ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563 ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


19 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ (2) หญาถอดปลอง หรือ อีควิเซตัม (Equisetum sp.) เรียกวา สนหางมา หญาถอดปลอง หญาหูหนวก หญาเหงือก ซึ่งจัดเปนอีควิเซตัมทั้งสิ้น ลําตนของพวกนี้มีทั้งชนิดที่อยูเหนือดินและใตดิน ลําตนบนดิน มีสีเขียว สังเคราะหดวยแสงไดและมีลักษณะเปนขอและปลองอยางชัดเจน สามารถดึงใหหลุดออกจากกันได การแตกกิ่ง ที่เปนแขนงบริเวณรอบขอ ทําใหมีลักษณะคลายแปรงลางขวด หรือหางมา จึงเรียกกันวา สนหางมา ที่ผนังเซลล มีสารพวกซิลิกา (Silica) เคลือบอยูเลยทําใหหยาบและแข็ง ใชในการทําความสะอาดภาชนะตาง ๆ ไดดี ใบเปนใบเกล็ด สวนโคนจะเชื่อมตอกัน เปนวงรอบขอ สวนปลายใบจะแตกออกและแยกออกจากกัน แตละใบมี เสนใบ 1 เสน อับสปอรเกิดเปนกระจุกที่ปลายกิ่งสั้นๆ เรียกวา สปอรแรงจิโอฟอร (Sporangiophore) ซึ่งอยูรอบ แกนกลางรวมกันเปนโครงสรางที่เรียกวา สโตรบิลัส ทําหนาที่สรางสปอร สวนลําตนที่อยูใตดินอายุนอย จะสังเคราะหดวยแสงไมได ลําตนจึงทําหนาที่หลักในการสังเคราะห ภาพ (ก) หญ้าถอดปล้อง (ข) สโตรบิลัสของหญ้าถอดปล้อง (ก) (ข) ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


20 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ 3. เฟรน (Fern) มีจํานวนมากที่สุดในบรรดาเทอโรไฟต เฟรนมีรากลําตนและใบเจริญดี เฟรน สวนใหญ มีลําตนใตดิน ใบของเฟรน เรียกวา ฟรอนด (Frond) เปนสวนที่เห็นเดนชัด มีขนาดใหญ เปนใบแบบเมกะฟลล (Megaphy) มีรูปรางลักษณะเปนหลายแบบมีทั้งที่เปนใบเดี่ยว (Simples Leaf) และใบประกอบ (Compound Leaf) ใบออนของเฟรนมีลักษณะพิเศษ คือ จะมวนเปนวง (Circinate Vernation) สปอรโรไฟตที่เจริญเต็มที่จะสราง อับสปอร ซึ่งมารวมกลุมอยูที่ดานใตใบ แตละกลุมของอับสปอร เรียกวา ซอรัส (Sorus) เฟรนสวนใหญสรางสปอร ชนิดเดียว ยกเวนเฟรนบางชนิดที่อยูในนํ้า และที่ชื้นแฉะ ไดแก จอกหูหนู แหนแดง และผักแวน มีการสรางสปอร 2 ชนิด เฟรนที่พบทั่ว ๆ ไปเปนตนสปอโรไฟต การดํารงชีวิตของเฟรนในสภาพธรรมชาติแตกตางกันมาก เชน แหนแดง จอกหูหนู ลอยนํ้าอยู ผักแวน ผักกูดขึ้นอยูในนํ้า ชายผาสีดาเกาะอยูตามตนไมเปน Epiphyte ใบเฟรน เรียกวา Frond ซึ่งแตละชนิดแตกตางกันออกไปมากมาย เชน ใบของขาหลวงหลังลายเปนใบเดี่ยวขนาดใหญ เฟรนกานดําเปนใบประกอบ ปรงทะเลมีใบขนาดใหญ แตแหนแดงมีใบขนาดเล็กมาก ใบเฟรนทุกชนิดในขณะที่ยังออนอยูจะมีการมวนเขาดานในแบบลานนาิกา เรียกวา Circinate Vernation เมื่อใบเฟรนเจริญขึ้นและมีอายุมากขึ้น สวนที่มวนจะคอยๆคลายออก ทางดานหลังใบของเฟรนจะมีสวนที่ทําหนาที่ ในการสรางสปอร เรียกวา อับสปอรและอับสปอรเหลานี้จะมารวมกันเปนกลุมเรียกวา Sorus ภาพ เฟิร์น และการม้วนงอใบอ่อนของเฟิร์น ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


21 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ วงจรชีวิตแบบสลับของเฟรน ตนสปอโรไฟตของเฟรนจะสรางสปอรภายในอับสปอรที่อยูทางดานหลังใบ อับสปอรของเฟรน มีลักษณะ กลมรีภายในมีการสรางสปอรโดยการแบงเซลลแบบไมโอซิสใหสปอรที่มีโครโมโซม (n) เมื่ออับสปอรแกจะแตกออก สปอรจะถูกปลอยออก ภาพ วงจรชีวิตแบบสลับของเฟิร์น ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


22 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ 2. กลุมพืชมีเนื้อเยื่อลําเลียงที่มีเมล็ด (Seed Vascular Plant) เปนพืชที่มีระยะสปอรโรไฟตที่เดนชัดและยาวนาน แตระยะแกมีโทไฟตจะมีขนาดเล็กลงมาก เมื่อเทียบกับ มอสและเฟรน ปจจุบันแบงเปน 2 กลุม คือ 2.1 Gymnosperm (พืชเมล็ดเปลือย) ลักษณะที่สําคัญ คือ ออวุลและละอองเรณูติดบนแผนกิ่ง หรือแผนใบ ซึ่งจะอยูรวมกันที่ปลายกิ่ง เรียกวา Cone แยกเปนโคนเพศผูและโคนเพศเมีย เปนพืชที่ไมมีดอก แตมีเมล็ด เมล็ดไมมีผนังรังไขหอหุม ซึ่งเรียกวา เมล็ด เปลือย แบงออกเปน 4 Phylum คือ - Phylum Cycadophyta เปนพืชที่มีการกระจายพันธุในบริเวณที่แหงแลงไดดี มีลําตนคอนขางเตี้ย ใบมีขนาดใหญเปนใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว มีการสรางโคนเพศผูและโคนเพศเมียแยกตนกัน เชน ปรงปา ปรงเขา เปนตน ภาพ (ก) ปรง (ข) โคนของปรง (ก) (ข) ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


23 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ - Phylum Ginkgophyta ปจจุบันเหลือเพียงสปชีสเดียว คือ แปะกวย มีลักษณะใกลเคียงกับพืชที่ สูญพันธุไปแลว พบตามธรรมชาติในประเทศจีน เกาหลีและญี่ปุน ลําตนมีขนาดใหญ ใบเดี่ยวคลายพัด ตนเพศเมีย สรางออวุลที่ปลายกิ่งพิเศษ เมล็ดมีอาหารสะสมนิยมนํามารับประทาน - Phylum Coniferophyta เปนพืชที่มีความหลากหลายมากที่สุดในพืชกลุมเมล็ดเปลือย ทั้งในดาน ลักษณะของตนและโครงสรางของอวัยวะสืบพันธุ โคนเพศผูและเพศเมียอาจเกิดขึ้นบนตนเดียวกันหรือแยกกัน เชน สนสองใบ สนสามใบ สนสามพันป พญาไม เปนตน ภาพ แป๊ะก๊วย ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563 ภาพ (ก) สนสองใบ (ข) สนสามใบ (ก) (ข) ที่มา สืบคนเมื่อ 14 มกราคม 2563


24 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ 2.2 Angiosperm (พืชดอก) เปนกลุมพืชที่มีความหลากหลายสูงสุดจัดอยูในไฟลัมแอนโทไฟตา (Anthophyta) ซึ่งมีลักษณะดังนี้ - มีวิวัฒนาการสูงที่สุดในพวกพืชมีทอลําเลียง - มีรากลําตนใบที่แทจริง - มีระบบลําเลียงเจริญดี มีทอลําเลียงนํ้า (Xylem) และทอลําเลียงอาหาร (Phloem) - มีดอกเปนอวัยวะสืบพันธุเมล็ดมีทั้งไขหอหุมเมื่อรังไขพัฒนาเต็มที่จะกลายเปนผล - การปฏิสนธิเปนแบบซอน Double Fertilization การปฏิสนธิ 2 ครั้ง มีวงชีวิตแบบสลับ แกมีโทไฟตมีขนาดเล็กอยูบนสปอโรไฟต พืชดอกแบงออกเปน 2 ชั้นยอย (Subclass) โดยแบงตามจํานวนใบเลี้ยงในเมล็ด ไดดังนี้ 1) ใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledon) เรียกพืชในชั้นยอยนี้วาพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledon หรือ มักเรียกยอ ๆ วา Monocot) พืชกลุมนี้มีใบเลี้ยงในเมล็ดเพียงหนึ่งใบ ในโลกนี้มีพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประมาณ 50,000 ชนิด ตัวอยางวงศ (Family) พืชที่ถูกจัดใหอยูในชั้นยอยใบเลี้ยงเดี่ยวนี้ เชน Poaceae (ชื่อเดิมคือ Gramineae หรือวงศ หญา) Palmae หรือ Arecaceae (วงศปาลม) Liliaceae (วงศลิลี่) Orchidaceae (วงศกลวยไม) และ Cyperaceae (วงศกก) โปรดสังเกตชื่อวงศมักลงทายดวย ceae 2) ใบเลี้ยงคู (Dicotyledon) เรียกพืชในชั้นยอยนี้วาพืชใบเลี้ยงคู (Dicotyledon หรือมักเรียกยอๆ วา Dicot) พืชในกลุมนี้มีใบเลี้ยงในเมล็ดสองใบ ในโลกนี้มีพืชใบเลี้ยงคูมากมายประมาณ 225,000 ชนิดตัวอยางวงศพืช ที่ถูกจัดใหอยูในชั้นยอยใบเลี้ยงคูนี้ เชน Fabaceae (ชื่อเดิมคือ Leguminosae หรือวงศถั่ว) Brassicaceae (ชื่อเดิมคือ Cruciferae หรือวงศกะหลํ่า) Solanaceae (วงศมะเขือเทศ) และ Asteraceae (ชื่อเดิมคือ Compositae หรือวงศทานตะวัน)


25 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที 4่ เรือง ความหลากหลายของพืช่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู ขั้นสํารวจและคนหา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) และ ขั้นประเมินผล (Evaluate Phase) ตอนที่ 1 ใหนักเรียนแตละกลุมพิจารณา Key Word ที่กําหนดใหแลวนําตัวอักษรหนา Key Word เติมชองวางที่มีความสัมพันธกันอยางถูกตอง ก. Psilotum sp. จ. Moss ฌ. Archegonium ข. Equisetum sp. ฉ. Lycopodium ญ. Alternation of Generation ฐ. Homwort ฑ. Sporophyte Generation ค. Antheridium ช. Seleginella ฎ. Phyllidium ฒ. Gametophyte Generation ง. Rhizoid ซ. Sphagnum sp. ฏ. Rhizome ………1. อวัยวะสรางเซลลสืบพันธุเพศผูในพืชไมมีทอลําเลียง ………2. อวัยวะสรางเซลลสืบพันธุเพศเมียในพืชไมมีทอลําเลียง ………3. วงจรชีวิตแบบสลับ ………4. ตนขาวตอกษี ………5. ลักษณะคลายราก ……….6. พืชที่มีทอลําเลียงที่มีวิวัฒนาการตํ่าสุด ……….7. ชองนางคลี่ สรอยสุกรม สามรอยยอด ……….8. พืชที่มีระยะแกมีโทไฟตเดน ……….9. ตีนตุกแก ………10. พืชที่มีลําตนกลวง ใบขนาดเล็ก สังเคราะหดวยแสงได


26 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ตอนที่ 2 ใหนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับพืชกลุมมีทอลําเลียงที่ไรเมล็ด ตอนที่ 3 จากตัวเลือกที่กําหนดให นําตัวอักษรหนาตัวเลือกเติมลงในชองวางที่สัมพันธกับคําถามเกี่ยวกับ พืชเมล็ดเปลือย (บางขอตอบไดมากกวา 1 ตัวเลือก) 1. ใบเฟรนทุกชนิดขณะที่ยังออนอยู จะมีลักษณะเดน คือ........................................................................................... 2. ตนแกมีโทไฟตของเฟรนมีรูปรางคลาย.........................................................เรียกวา…………………….…………........… 3. สปอโรไฟตของเฟรนที่เจริญเต็มที่จะสรางอับสปอรซึ่งจะมารวมกลุมกัน โดยแตละกลุมของอับสปอร เรียกวา………………………………………………………………………………………………………………………………………......….… 4. พืชดอกมีอวัยวะสืบพันธุคือ…………………….………….ประกอบดวย……………………….…………………………….......……. 5. เมื่อเกิดการปฏิสนธิ โครงสรางภายในดอกจะมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ เซลลไข และสเปรม จะเจริญเปน............................................................................................................................ ออวุล (Ovule) จะเจริญเปน…………………………………………….…………………………………………………………….......…. รังไข (Ovary) จะเจริญเปน…………………………………………………..………………………....……………………….......………. ก. เมล็ดไมมีรังไขหุม ฉ. ไมมีออวุล ข. Coniferophyta ช. สนทะเล สนปฏิพัทธ ค. Cycadophyta ซ. ปรง ง. Pterophyta ฌ. สนสองใบ สนสามใบ จ. Lycophyta ญ. ปรงทอง ปรงทะเล 1. สนสองใบ สนสามใบ และปรง มีลักษณะใดที่เหมือนกัน …………………………………………………………………………………………………....................................................................... 2. พืชเมล็ดเปลือยคือพืชในไฟลัมใด …………………………………………………………………………………………………....................................................................... 3. เพราะเหตุใด สนสองใบ สนสามใบ และปรง มีเมล็ดแตไมมีผล …………………………………………………………………………………………………....................................................................... 4. พืชในไฟลัมโคนิเฟอโรไฟตา (Phylum Coniferophyta) คือพืชในขอใด …………………………………………………………………………………………………....................................................................... 5. พืชในไฟลัมไซแคโดไฟตา (Phylum Cycadophyta) คือพืชในขอใด ………………………………………………………………………………………………….......................................................................


27 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที 5 อาณาจักรพืช่ รายวิชา ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 คะแนนเต็ม 10 คะแนน จำนวน 10 ขอ =============================================================== คำชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้เปนแบบปรนัยเลือกตอบ มีทั้งหมด 10 ขอ 2. ใหนักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตอง และทำเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคำตอบ =============================================================== 1. ลิเวอรเวิรตเปนพืชพวกใด ก. อยู Phylum Hepatophyta เพราะไมมีทอลำเลียง ข. อยู Phylum Hepatophyta เพราะมีทอลำเลียง ค. อยู Phylum Bryophyta เพราะไมมีทอลำเลียง ง. อยู Phylum Bryophyta เพราะมีทอลำเลียง 2. ใบของมอสไมถือวาเปนใบที่แทจริงเพราะเหตุใด ก. ขนาดเล็กเกินไป ข. ไมมีสีเขียว ค. รงควัตถุภายในไมใชคลอโรฟลล ง. ไมมีทอลำเลียง 3. สิ่งมีชีวิตที่จะจัดไวในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) ตองมีลักษณะสำคัญเดนชัดในขอใด ก. มีหลายเชลล (Multicellular) และมีคลอโรพลาสต ข. มีผนังเซลล มีคลอโรพลาสต และมีวงจรชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) ค. มีระยะตนออน มีคลอโรพลาสต และมีวงจรชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) ง. มีเนื้อเยื่อ มีระยะตัวออน มีการสืบพันธุแบบใชเพศสลับกับแบบไมใชเพศ 4. หลักเกณฑที่ใชในการจัดจำแนกพืชคือขอใด ก. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Morphology) และกายวิภาคศาสตร (Anatomy) ข. แบบแผนและลักษณะการเจริญเติบโตของตัวออน (Embryology) ค. กระดูกสันหลัง การสืบพันธุ อุณหภูมิในรางกาย การหายใจ ง. ถูกทั้ง ก และ ข


28 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ 5. ลักษณะสําคัญของพืชพวกจิมโนสเปรมคือขอใด ก. สรางโคน (Cone) ที่ผลิตสเปรมและไขภายในตนเดียวกัน ข. มีสวนที่เปนรากลําตนใบและดอกที่แทจริง ค. เมล็ดไมมีผนังรังไขหอหุม ง. มีใบขนาดเล็กรูปเข็มรวมกันอยูเปนกลุม 6. ขอใดเปนพืชที่มีการกระจายพันธุในบริเวณที่แหงแลงไดดี มีลําตนคอนขางเตี้ยใ บมีขนาดใหญ เปนใบประกอบ แบบขนนกชั้นเดียว มีการสรางโคนเพศผูและโคนเพศเมียแยกตนกัน ก. Phylum Gnetophyta ข. Phylum Cycadophyta ค. Phylum Ginkgophyta ง. Phylum Coniferophyta 7. เปนกลุมพืชที่มีลําตน มีขอปลองชัดเจน มีทั้งลําตนตั้งตรงบนดินและลําตนใตดิน ลําตนตั้งตรงบนดินมีสีเขียวเปน สัน ใบมีขนาดเล็ก มีเสนใบเพียง 1 เสน เรียงเปนวงรอบขอ อับสปอรเปนกระจุกที่ปลายกิ่ง เรียกวา Strobilus ก. หญาถอดปลอง ข. เฟรน ค. หวายทะนอย ง. แปะกวย 8. ขอใดคือพืชที่มีลักษณะแตกตางจากพืชเมล็ดเปลือยกลุมอื่น คือ พบเวสเซลในทอลําเลียงนํ้า และมีลักษณะคลาย พืชดอกมาก คือ มีกลีบดอก มีใบเลี้ยง 2 ใบ แตเมล็ดยังไมมีเปลือกหุม ก. Phylum Gnetophyta ข. Phylum Cycadophyta ค. Phylum Ginkgophyta ง. Phylum Coniferophyta 9. พืชใดอยูในกลุมไมดอกทั้งหมด ก. สรอยสุกรม บอน แหน ผักแวน ข. สาหรายหางกระรอก สาหรายขาวเหนียว จอก ตะไคร ค. สรอยสีดา ชายผาสีดา กระเชาสีดา พลู ง. หญารังไก หญาถอดปลอง หญาแพรก หญานกสีชมพู 10. Prothallus ของเฟรนทําหนาที่อะไร ก. สรางเสปรม ข. สรางไข ค. สรางสปอร ง. ทั้งขอ ก และ ขอ ข


29 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ กระดาษคําตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน วิชาชีววิทยา 6 ชุดที่ 5 อาณาจักรพืช ชื่อ-สกุล……………………………………………………………………ชั้น…………………………….เลขที่…………. ¡‹Í¹àÃÕ¹ ÊÃØ»¤Ðá¹¹Êͺ ËÅѧàÃÕ¹ 10 ก ข ค ง A B C D ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10


30 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. โครงการดาราวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมูลนิธิ สอวน. (2552). ชีววิทยา สัตววิทยา 3. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิ สอวน. จิรัสย เจนพาณิชย (2552). ชีววิทยาสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพมหานคร : ผจก.สามลดา. เชาวน ชิโนรักษ และพรรณี ชิโนรักษ (2552). ชีววิทยา 1. กรุงเทพมหานคร : โสภณการพิมพ. ซีรสตาร (2552). ชีววิทยา เลม 1. (แปลจาก Biology 1 Concepts and Applications โดยทีม คณาจารย ภาควิชาชีววิทยามหาวิทยาลัยขอนแกน, ผูแปล. กรุงเทพมหานคร : เจเอสทีพับลิชชิ่งจำกัด. นงลักษณ สุวรรณพินิจ และปรีชา สุวรรณพินิจ (2552). จุลชีววิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ประสงค หลำสะอาด และจิตเกษม หลำสะอาด (มปป.). คูมือสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติ่มกลุมสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตร ชีววิทยา ม.6 เลม 5. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาศึกษา. ปรีชา สุวรรณพินิจ และนงลักษณ สุวรรณพินิจ (2549). ชีววิทยา 2. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. วันดี วัฒนชัยยิ่งเจริญ (2552). การจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร : มหาวิทยาลัย นเรศวร. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2555). คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา เลม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2558). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชีววิทยา ชั้นมัธยม ศึกษาปที่ 4-6 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรสำหรับนักเรียนที่เนนวิทยาศาสตร ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2558). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว.


31 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ บรรณานุกรม (ต่อ) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ (2561). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตรวิทยาศาสตรชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปที่4 ตามมาตรฐานการ เรียนรูและตัวชี้วัด กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ (2563). คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เลม 6 ตามมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ (2558). หนังสือเรียนรู เพิ่มเติมเสริม ศักยภาพวิทยาศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ชีววิทยา เลม 2 ฺBIOLOGY II (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : บริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด. สุกาญจน รัตนเลิศนุสรณ (2550). หลักการอนุรักษและการจัดการชีวภาพ (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : สมาคม สงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน). สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2561). มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ 2561 เรื่องมาตรการปองกัน ควบคุม และกำจัด ชนิดพันธุตางถิ่น. กรุงเทพฯ : กองจัดการความ หลากหลายทางชีวภาพ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรุงเทพฯ.


ภาคผนวก


33 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 แบบบันทึกคะแนนระหว่างเรียน เรือง อาณาจักรพืช่ ชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรแบบสืบเสาะหาความรู 7 ขั้น (7E) และประยุกตใชเทคโนโลยี QR Code เพื่อสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง วิชาชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ชื่อ-สกุล……………………………………………………………………ชั้น…………………………….เลขที่…………. กิจกรรม คะแนนเต็ม บัตรกิจกรรมที่ 1 10 บัตรกิจกรรมที่ 2 10 บัตรกิจกรรมที่ 3 10 บัตรกิจกรรมที่ 4 20 คะแนนที่ได


34 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรูที่ 5 อาณาจักรพืช Ẻ·´Êͺ¡‹Í¹àÃÕ¹ Ẻ·´ÊͺËÅѧàÃÕ¹ ¡ ¢ ¤ § A B C D ¢ŒÍ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ¡ ¢ ¤ § A B C D ¢ŒÍ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10


35 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ เฉลยบัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที 1่ เรือง พืชรอบตัว่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู ขั้นตรวจสอบความรูเดิม (Elicitation Phase) ขั้นเราความสนใจ (Engagement Phase) และขั้นอธิบาย (Explanation Phase) คําสั่ง ใหนักเรียนแตละกลุมนําตัวอยางพืชที่พบไดรอบๆ ตัวของนักเรียน ไมวาจากที่บานหรือที่โรงเรียน มาคนละ 3 ชนิดไมซํ้ากัน มาศึกษาชื่อและลักษณะกันในแตละกลุมและแลกเปลี่ยนกันระหวาง กลุมใหรวบรวมขอมูลพืชจํานวน 15 ชนิดและบันทึกผลลงในตารางพรอมตอบคําถาม คําถาม 1. พืชที่นักเรียนนํามาศึกษามีลักษณะแตกตางกันหรือไม อยางไร จงอธิบาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ถานักเรียนจะจัดกลุมพืชที่นํามาศึกษา จะแบงไดกี่กลุม ไดแกอะไรบาง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลําดับที่ ชื่อ ลักษณะที่พบ พิจารณาคําตอบตามดุลยพินิจของครูผูสอน พิจารณาคําตอบตามดุลยพินิจของครูผูสอน พิจารณาคําตอบตามดุลยพินิจของครูผูสอน


36 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที 2่ เรือง อาณาจักรพืช่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาจะหาความรู ขั้นสํารวจแลคนหา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) และขั้นนําความรูไปใช (Extend Phase) คําสั่ง เมื่อนักเรียนศึกษาบัตรความรูเรื่องอาณาจักรพืชแลวจงตอบคําถามตอไปนี้ 1. พืชเปนสิ่งมีชีวิตที่มีกําเนิดขึ้นมาแลวไมตํ่ากวา....................................ป มีหลักฐานหลายอยางที่ทําใหเชื่อวา พืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหรายสีเขียวกลุม……………………………………………………………………….......…………………..... 2. ใหนักเรียนเติมสวนตางๆของเซลลพืชใหถูกตอง 3. ลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช คือ...................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………….…………………….................……………………………... ..................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4. พืชที่มีการสรางเมล็ดแลวทุกชนิด จะสรางสปอรเปน……………………………..………ชนิด (Heterospore) ไดแก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………........………… แวคิวโอล นิวเคลียส ผนังเซลล ไมโทคอนเดรีย เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม คลอโรพลาสต 400 ลาน Charophyte พืชมีโครงสรางที่ประกอบขึ้นดวยหลายเซลลที่มารวมกลุมกัน เปนเนื้อเยื่อ ที่ทําหนาที่เฉพาะอยางและวงชีวิต (Life cycle) ของพืชเปนวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) คือ ประกอบดวย ชวงชีวิตที่เปนสปอโรไฟต (Sporophyte Generation) ทําหนาที่สรางสปอร (Spore) สลับกับชวงชีวิตที่เปนแกมีโทไฟต (Gametophyte Generation) ทําหนาที่สรางแกมีต (Gamete) ไดแก เซลลสืบพันธุเพศผูหรือสเปรม (Sperm) และเซลลสืบพันธุเพศเมียหรือเซลลไข (Egg Cell) 2 ไมโครสปอร (Microspore) ซึ่งมีขนาดเล็ก และเมกะสปอร (Megaspore) ซึ่งมีขนาดใหญ นิวเคลียส ผนังเซลล เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม ไรโบโซม แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต กอลจิบอดี นิวคลิโอลัส ไลโซโซม รางแหเอนโดพลาซึม


37 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ เฉลยบัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที 3่ เรือง ความหลากหลายของพืช่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู ขั้นสํารวจและคนหา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) และ ขั้นประเมินผล (Evaluate Phase) คําสั่ง ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันพิจารณาภาพแลวเติมขอความลงในชองวางใหถูกตอง ชื่อ.............................................................. ไฟลัม.......................................................... .................................................................. ตําแหนง A คือ ระยะ................................. ตําแหนง B คือ ระยะ................................. ชื่อ.............................................................. ไฟลัม.......................................................... .................................................................. ลักษณะเดน คือ.......................................... .................................................................. .................................................................. ฮอรนเวิรต (Hornwort) แอนโทซีโรไฟตา (Anthocerophyta) (Anthocerophyta) แอนโทซีโรไฟตา สปอโรไฟต แกมีโทไฟต ลิเวอรเวิรต (Liverwort) เปนแผน ที่บริเวณขอบมี รอยหยักแตกแขนงเปน 2 พู Sporophyte มีลักษณะยาวเรียว A B


38 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ชื่อ.............................................................. ไฟลัม.......................................................... ลักษณะเดน คือ.......................................... .................................................................. .................................................................. .................................................................. ชื่อ.............................................................. ไฟลัม.......................................................... ลักษณะเดน คือ.......................................... .................................................................. .................................................................. มอส (Moss) ไบรโอไฟตา (Bryophyta) ไบรโอไฟตา (Bryophyta) เจริญเติบโตในหมูตนไม หรือบริเวณที่เปยกชื้นใตรมเงาไมใหญ ไมมีดอกและเมล็ด โดยทั่วไปใบที่ปกคลุม ลําตนจะบางเล็กคลายลวด ขาวตอกษี (Sphagnum Moss) คลายตนไมเล็กๆ และ มักจะพบอับสปอรรูปคลายผอบเล็กๆ มีฝาปด เจริญอยูบนตนที่สรางเซลลสืบพันธุ


39 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ เฉลยบัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที 4่ เรือง ความหลากหลายของพืช่ คําชี้แจง กิจกรรมการเรียนรูฉบับนี้เปนกิจกรรมที่จัดการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู ขั้นสํารวจและคนหา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) และ ขั้นประเมินผล (Evaluate Phase) ตอนที่ 1 ใหนักเรียนแตละกลุมพิจารณา Key word ที่กําหนดใหแลวนําตัวอักษรหนา Key Word เติมชองวางที่มีความสัมพันธกันอยางถูกตอง ค. ฌ. ญ. ช. ง. ก. ฉ. จ. ซ. ข. ก. Psilotum sp. จ. Moss ฌ. Archegonium ข. Equisetum sp. ฉ. Lycopodium ญ. Alternation of Generation ฐ. Homwort ฑ. Sporophyte Generation ค. Antheridium ช. Seleginella ฎ. Phyllidium ฒ. Gametophyte Generation ง. Rhizoid ซ. Sphagnum sp. ฏ. Rhizome ………1. อวัยวะสรางเซลลสืบพันธุเพศผูในพืชไมมีทอลําเลียง ………2. อวัยวะสรางเซลลสืบพันธุเพศเมียในพืชไมมีทอลําเลียง ………3. วงจรชีวิตแบบสลับ ………4. ตนขาวตอกษี ………5. ลักษณะคลายราก ……….6. พืชที่มีทอลําเลียงที่มีวิวัฒนาการตํ่าสุด ……….7. ชองนางคลี่ สรอยสุกรม สามรอยยอด ……….8. พืชที่มีระยะแกมีโทไฟตเดน ……….9. ตีนตุกแก ………10. พืชที่มีลําตนกลวง ใบขนาดเล็ก สังเคราะหดวยแสงได


40 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ตอนที่ 2 ใหนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับพืชกลุมมีทอลําเลียงที่ไรเมล็ด ตอนที่ 3 จากตัวเลือกที่กําหนดให นําตัวอักษรหนาตัวเลือกเติมลงในชองวางที่สัมพันธกับคําถามเกี่ยวกับ พืชเมล็ดเปลือย (บางขอตอบไดมากกวา 1 ตัวเลือก) 1. ใบเฟรนทุกชนิดขณะที่ยังออนอยู จะมีลักษณะเดนคือ........................................................................................... 2. ตนแกมีโทไฟตของเฟรนมีรูปรางคลาย................................................เรียกวา……........……………….…………........… 3. สปอโรไฟตของเฟรนที่เจริญเต็มที่จะสรางอับสปอรซึ่งจะมารวมกลุมกัน โดยแตละกลุมของอับสปอร เรียกวา……………………………………………………………….…………………………………………………………………….......…… 4. พืชดอกมีอวัยวะสืบพันธุคือ…………………….…….ประกอบดวย......……………………….…………………………….......…… 5. เมื่อเกิดการปฏิสนธิ โครงสรางภายในดอกจะมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ เซลลไข และสเปรม จะเจริญเปน........................................................................................................................... ออวุล (Ovule) จะเจริญเปน………………………………………….…………………………………………………………….......…... รังไข (Ovary) จะเจริญเปน…………………………………………………………………………....……………………….......…….…. ก. เมล็ดไมมีรังไขหุม ฉ. ไมมีออวุล ข. Coniferophyta ช. สนทะเล สนปฏิพัทธ ค. Cycadophyta ซ. ปรง ง. Pterophyta ฌ. สนสองใบ สนสามใบ จ. Lycophyta ญ. ปรงทอง ปรงทะเล 1. สนสองใบ สนสามใบ และปรง มีลักษณะใดที่เหมือนกัน …………………………………………………………………………………………………..................................................................... 2. พืชเมล็ดเปลือยคือพืชในไฟลัมใด …………………………………………………………………………………………………..................................................................... 3. เพราะเหตุใด สนสองใบ สนสามใบ และปรง มีเมล็ดแตไมมีผล …………………………………………………………………………………………………..................................................................... 4. พืชในไฟลัมโคนิเฟอโรไฟตา (Phylum Coniferophyta) คือพืชในขอใด …………………………………………………………………………………………………..................................................................... 5. พืชในไฟลัมไซแคโดไฟตา (Phylum Cycadophyta) คือพืชในขอใด …………………………………………………………………………………………………..................................................................... มีการมวนเขาดานในแบบลานนาิกา รูปหัวใจ โพรทัลเลียม (Prothalluim) ซอรัส (Sorus) ดอก กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู เกสรเพศเมีย ไซโกต เมล็ด ผล ก. เมล็ดไมมีรังไขหุม ก. เมล็ดไมมีรังไขหุม ข. Coniferophyta , ค. Cycadophyta ฌ. สนสองใบ สนสามใบ ซ. ปรง


41 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล เรือง อาณาจักรพืช่ คําชี้แจง ใหผูสอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางเรียนและนอกเวลาเรียน แลวขีด √ ลงในชองที่ตรง กับระดับคะแนน ชื่อ………………………………………….……………………………………..ชั้นมัธยมศึกษาปที่……………………….เลขที่………………. ลงชื่อ……………………………………………ผูประเมิน ..…………../…..…………/………….. เกณฑการใหคะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสมํ่าเสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมนอยครั้ง ให 1 คะแนน เกณฑตัดสินคุณภาพ ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 14-17 ดี 10-13 พอใช ตํ่ากวา 10 ปรับปรุง 1 2 3 4 5 4 3 2 1 การแสดงความคิดเห็น การยอมรับฟงความคิดเห็นคนอื่น การทํางานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ความมีนํ้าใจ การตรงตอเวลา ลําดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน รวม


แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายกลุ่ม เรือง อาณาจักรพืช่ คําชี้แจง ใหผูสอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางเรียนและนอกเวลาเรียน แลวขีด √ ลงในชองที่ตรง กับระดับคะแนน ชื่อ………………………………………….……………………………………..ชั้นมัธยมศึกษาปที่……………………….เลขที่………………. ลงชื่อ……………………………………………ผูประเมิน ..…………../…..…………/………….. เกณฑการใหคะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสมํ่าเสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมนอยครั้ง ให 1 คะแนน เกณฑตัดสินคุณภาพ ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 14-17 ดี 10-13 พอใช ตํ่ากวา 10 ปรับปรุง 1 2 3 4 5 4 3 2 1 การแบงหนาที่กันอยางเหมาะสม ความรวมมือกันทํางาน การแสดงความคิดเห็น การรับฟงความคิดเห็น ความมีนํ้าใจชวยเหลือกัน รวม ลําดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 42 ชุดที� 5 เรื�อง อาณาจักรพืช โดย นางสาวบุษกร ปทุมไกยะ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน (7E) ช�นมัธยมศ ั� ึกษาปีที� 6


Click to View FlipBook Version