The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำเนาของ การเขียน Code สร้างเกมอย่างง่าย ด้วยภาษา C_compressed

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bawktsom, 2022-01-19 04:04:11

สำเนาของ การเขียน Code สร้างเกมอย่างง่าย ด้วยภาษา C_compressed

สำเนาของ การเขียน Code สร้างเกมอย่างง่าย ด้วยภาษา C_compressed

การเขียน Code สร้
างเกมอย่างง่าย
ด้วยภาษา "C"

จัดทำโดย

กลุ่มที่ 3 Pa
rallel team



คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร

สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
และ

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

คำนำ

รายงานชิ้นนี้ เป็นส่วนหนึ่ งของวิชการใช้ภาษา
ไทย รหัสวิชา 001101 ห้องเรียนที่2โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับการเขียน
โปรแกรมและแนะนำโปรแกรมที่ใช้เขียน ทั้งนี้ ใน
รายงานฉบับนี้ มีเนื้ อหา ความรู้เกี่ยวกับการเขียน
โปรแกรมด้วยภาษาซี

คณะผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนี้ ในการทำงา
เนื่ องจากเป็นเรื่องที่น่ าสนใจและสามารถนำไปใช้
ในชีวิตประจำวันได้ คณะผู้จัดทำ หวังว่ารายงาน
ฉบับนี้ จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์ แก่ผู้อ่านทุกๆ
ท่าน หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อผิดพลาดประการใด
คณะผู้จัดทำขอน้ อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ ด้วย

นิ สิตกลุ่มที่3 Parallel team
(ลำดับที่51 - 75)
คณะผู้จัดทำ

สารบัญ

คำนำ
สารบัญ
เนื้ อหาอ้างอิง
จุดเด่นภาษา C
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษา C
กฎการตั้งชื่อ
แนะนำโปรแกรม
สรุปเนื้ อหา
เกมที่จะนำเสนอ
ตัวอย่างโค้ด
ตัวอย่างเกม

เนื้ อหาอ้างอิง

หนังสือ คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษา C
ผู้เขียน คุณ ไกรศร ตั้งโอภากุล

คุณ กิตินั นท์ พลสวัสดิ์


เป็นหนั งสือที่เหมาะกับการเริ่มเรียนรู้

ตั้งแต่พื้นฐาน ตัวอย่างพร้อมคำอธิบาย

ราคาปก
250 บาท

หนังสือ คู่มือเขียนโปรแกรมด้วย
ภาษาC

ผู้เขียน คือ คุณอรพิณ ประวัติบริสุทธิ์

ในหนั งสือมีเนื้ อหาทั้งการแนะนำ
โปรแกรม โปรแกรม คำอธิบายของ

ราคาปก ภาษาซีและความรู้อื่นๆมากกว่า 16 บท
255 บาท

อะไรคือ ภาษา "C"

ภาษา "C" เป็นภาษาระดับสูง ถูกสร้างมา
เพื่อให้เขียนโปรแกรมง่ายขึ้น

ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้น
ในปี ค.ศ. 1975 โดย เดนนิส ริสซี (Dennis
Ritchie)

และในปี "ค.ศ. 1978" เดนนิส ริสซี และ
นายเบรน เครนิกฮาน ได้แต่งหนังสือขึ้นมา
ชื่อ The C Programming Langguage

เป็นหนั งสือนำเสนอภาษา C อย่างง่าย
และได้รับความนิ ยมอย่างมาก

ในปี ค.ศ. 1990 องค์กรมาตรฐาน
สากล หรือ IOS ได้ยอมรับมาตรฐาน
และได้สร้างขึ้นมาในชื่อ ANS/ISO C

The C Programming
Language

Mr.Dennis Ritchie

Mr.Brian w Kernighan

จุดเด่นภาษา C

1. โค้ดภาษา C ที่เขียนในคอมพิวเตอร์

ระดับหนึ่ งสามารถนำไปใช้งานบน
คอมพิวเตอร์อีกระดับหนึ่ งโดยไม่ต้อง
เปลี่ยนชุดคำสั่งเลย และยังสามารถนำไป
ใช้งานบนระบบปฏิบัติการ ที่แตกต่างกัน
ได้อีกด้วย

2. มีประสิทธิภาพสูง(Efficiency)

ประสิทธิภาพที่นำมาใช้วัดกับภาษา C
สามารถวัดได้จาก 3 แนวทาง คือ

- ชุดคำสั่งที่มีความกระทัดรัด และ
กระซับมาก

- การจัดการหน่ วยความจำบนภาษา C
มีประสิ ทธิภาพสูงมาก

- มีการทำงานที่รวดเร็ว

3. ภาษา C อนุญาตให้มีการ

แบ่งโมดูลเพื่อคอมไพล์ได้ ซึ่ง
สามารถลิงค์เชื่อมโยงเข้ากันได้ดี
รูปแบบโปรแกรมสามารถเขียน
ขึ้นได้ตามแบบแผน
การโปรแกรมเชิงโครงสร้างได้
อย่างดีเยี่ยม




4. ภาษา C มีความสามารถในการ

ทำงานแบบพอยน์ เตอร์เป็นอย่างมาก
ยากที่จะพบได้ในภาษา ระดับสูงทั่วไป
โดยพอยน์ เตอร์หรือตัวชี้สามารถกำหนด
ได้จากชนิ ดข้อมูล
(Data Type)หลายชนิ ดด้วยกัน

5. ภาษา C จะจัดอยู่ในภาษา

คอมพิวเตอร์ระดับสูงแต่ภาษา C
ก็ยังสามารถเขียนใช้ งานร่วมกับ
ภาษาระดับต่ำ

6. ตัวอักษรตัวพิมพ์เล็กและ

ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่แตกต่างกัน
(Case Sensitivity) ตามปกติภาษา
ระดับสูงทั่วไป ตัวแปรที่ตั้งขึ้นด้วย
ตัวอักษรพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่
สามารถนำ มาใช้ร่วมกันได้ แต่ใน
ภาษา C จะถือว่าแตกต่างกันอย่าง
สิ้ นเชิง

เช่น NUM ไม่เท่ากับ num

ขั้นตอนการพัฒนา

โปรแกรมภาษาซี

ขั้นตอนที่ 1 เขียนโปรแกรม
ใช้ editor เขียนโปรแกรมภาษาซี

และทําการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น C
เช่น test.c เป็นต้น

NNOOTTEEeditor คือ โปรแกรมที่ใช้

สําหรับการเขียนโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรม
สามารถเลือกใช้โปรแกรมใดในการเขียน
โปรแกรมก็ได้ แล้วแต่ความถนั ดของแต่ละ
บุคคล

ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (compile)
นํ า Source Code จากขั้นตอนที่ 1

มาทําการคอมไพล์ เพื่อแปลจากภาษาซีที่
มนุษย์เข้าใจไปเป็น ภาษาเครื่องที่
คอมพิวเตอร์เข้าใจได้

หากเกิดข้อผิดพลาด จะแจ้งให้ผู้เขียน
โปรแกรมทราบ

หากไม่พบข้อผิดพลาด คอมไพเลอร์
จะแปลไฟล์ Source Code จากภาษา
ซีไปเป็นภาษาเครื่อง
(ไฟล์นามสกุล .obj)

จากหลักการของตัวแปลภาษาทั้งสองแบบ
นี้ ภาษาซีจัดเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตัว
แปลภาษาแบบคอมไพเลอร์

ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link)
การเขียนโปรแกรมภาษาซีนั้ นผู้เขียน

โปรแกรมไม่จําเป็นต้องเขียนคําสั่ งต่างๆขึ้น
ใช้งานเอง เนื่ องจากภาษาซีมีฟังก์ชั่นมาตร
ฐานให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียกใช้
งานได้เช่น การเขียนโปรแกรมแสดง
ข้อความ"Hello“ออกทางหน้ าจอ ผู้เขียน
โปรแกรมสามารถเรียกใช้ฟังก์ชั่น printf()

*** ด้วยเหตุนี้ ภาษาเครื่องที่ได้จาก
ขั้นตอนที่ 2 จึงยังไม่สามารถนํ าไปใช้
งานได้ แต่ต้องนํ ามาเชื่อมโยง (link)
เข้ากับ library ก่อน

โครงสร้างของ
โปรแกรมภาษาซี

โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น
3 ส่วน คือ

1. ส่วนหัวของโปรแกรม
ส่วนหัวของโปรแกรมนี้ เรียกว่า

Preprocessing Directives ใช้ระบุ
เพื่อบอกให้คอมไพเลอร์ กระทําการ
ใดๆก่อนการแปลผลโปรแกรม

คําสั่ งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์
นํ าเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม
สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ

#include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> คอมไพเลอร์จะทําการค้น
หาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ จากโดเร็คทอร ที่ใช้สํา
หรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ (ปกติคือไดเร็คทอรี
ชื่อ include)

#include "ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์" คอมไพเลอร์จะทําการ
ค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ จากโดเร็คทอง เดียวกัน
กับไฟล์ source code นั้ น แต่ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหา
จากไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บเฮดเดอร์ ไฟล์โดยเฉพาะ

2.ส่ วนของฟังก์ชั่นหลัก

ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชั่น main) ซึ่ง
โปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้ อยู่ใน
โปรแกรมเสมอจะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชัน คือ main แปลว่า
“หลัก" ดังนั้ นการเขียนโปรแกรมภาษาซี จึงขาดฟังก์ชั่น
นี้ ไปไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกําหนดด้วย
เครื่องหมาย { และ }

ฟังก์ชั่น main() สามารถเขียนในรูปแบบของ
void main(void) ก็ได้ มีความหมายเหมือนกัน คือ
หมายความว่า ฟังก์ชั่น main() จะไม่มีอาร์กิวเมนต์
(argument) คือไม่มีการรับค่าใดๆเข้ามาประมวลผล
ภายในฟังก์ชั่น

ไม่คืนค่าใดๆกลับออกไป
จากฟังก์ชั่น

ไม่รับค่าใดๆเข้ามาในฟังก์ชั่น

ตัวอย่าง 1.1 argument
และ parameter




3.ส่ วนของรายละเอียดของโปรแกรม

เป็นส่วนของการเขียนคําสั่ง เพื่อให้โปรแก
รมทํางานตามที่ได้ออกแบบไว้

กฎการตั้งชื่อ

ภาษาซีมีกฎเกณฑ์ในการตั้งชื่อให้กับ Identifier
ซึ่งได้แก่ ตัวแปร, ฟังก์ชั่น และเลเบล ดังนี้

ชื่อที่ตั้งจะต้องไม่ซ้ํากับคําสงวน

ตัวอย่างคำสวงน

ชื่อต่างๆที่ตั้งจะเป็นแบบ case-sensitiveหมายความ
ว่าตัวอักษรใหญ่กับตัวอักษรเล็ก ถือว่า เป็นคนละ
ตัวกัน

ชื่อจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย
underscore (_)เท่านั้ น จะขึ้นต้นด้วยตัวเลข ไม่ได้
แต่ภายในชื่อสามารถประกอบด้วยตัวอักษร
เครื่องหมาย undersCore

การตั้งชื่อจะเว้นวรรค
(มีช่องว่างหรือแท็บภายในชื่อ) ไม่ได้

การตั้งชื่อจะประกอบด้วยอักขระพิเศษ เช่น S, ®, #,
& ไม่ได้

ตัวอย่างการตั้งชื่อที่ไม่ถูกต้อง

โปรแกรมสำหรับเขียน
โปรแกรมภาษาซี

1. การแนะนำโปรแกรม Dev-C++

Dev-C++ คือ โปรแกรมที่ออกแบบขึ้นมา
เพื่อช่วยให้การเขียนโปรแกรมภาษา C ทำได้ง่าย
ขึ้น โดยผู้ใช้ไม่ต้องยุ่งยากแยกใช้ editor เขียน
code และเรียกใช้ compiler เพื่อทำการคอมไพล์
code

2. ตรวจสอบเครื่องก่อนติดตั้งโปรแกรม Dev-C++

Dev-C++ ได้กำหนดความต้องการ ใน
ด้านต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์
(Computer Specification)

3. วิธีการดาวน์ โหลดโปรแกรม Dev-C++
วิธีการดาวน์ โหลดโปรแกรม Dev-C++

1.ไป
ที่http://www.bloodshed.net/dev/devcpp.html
เลื่อนลงมาที่หัวข้อ Dev-C++
และคลิกที่ Source Forge ดังรูป

2. เว็บบราวเซอร์จะเริ่มต้นทำการดาวน์ โหลด
โปรแกรมให้โดยอัตโนมัต

4. วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dev-C++
วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dev-C++
1. ไปยังไดเร็คทอรีที่จัดเก็บ

โปรแกรมที่ดาวน์ โหลดมาเมื่อสักครู่นี้ และ
ดับเบิลคลิกเปิดไฟล์ จะมีหน้ าจอติดตั้ง
โปรแกรมปรากฏขึ้นดังรูปให้คลิกปุ่ม OK
เพื่อไปยัง หน้ าจอถัดไป

2. เลือกภาษาที่ใช้แสดงขั้นตอนการติด
ตั้งซึ่งค่าตั้งต้นจะเป็นภาษาอังกฤษ จากนั้ นคลิก
ปุ่ม OK

3. โปรแกรมจะแสดงหน้ าจอ
License Agreement ให้คลิกปุ่ม I Agree

4. หน้ าจอต่อไปจะแสดง
คุณสมบัติของโปรแกรม Dev-C++ ที่จะ
ติดตั้ง ซึ่งสามารถเลือก ติดตั้งเพียงบาง
คุณสมบัติได้

5. ขั้นต่อมาเป็นการระบุว่าจะติด
ตั้งโปรแกรม Dev-C++ ลงที่ไดเร็คทอรี
ใด ซึ่งดีฟอลต์ไดเร็ค ทอรีของโปรแกรม
Dev-C++

6. โปรแกรมจะเริ่มท าการติดตั้ง ดังรูป

7. หน้ าจอจะปรากฏดังรูปเพื่อ
แสดงรายละเอียดให้ทราบว่าโปรแกรมได้
ถูกติดตั้งอย่าง สมบูรณ์แล้ว

8. จะมีหน้ าจอแสดงขึ้นมาดังรูป
เพื่อแสดงให้ทราบว่าเสร็จสิ้ นขั้นตอน
ของการติดตั้งโปรแกรม

5. วิธีการใช้งานโปรแกรม Dev-C++
ติดตั้งโปรแกรม Dev-C++ เรียบร้อย

แล้ว ดังนั้ นต่อไปเราจะมาศึกษาวิธีการใช้
งานโปรแกรมกัน

1. ให้เปิดโปรแกรม Dev-C++

สำหรับ Windows 8 และ
Windows 10 ไปที่ Start พิมพ์ค าว่า
dev แล้วเลือก โปรแกรม Dev-C++ จะ
ปรากฏหน้ าจอโปรแกรมดังรูป

2. ไปที่เมนู File -> New -> Source File

3. โปรแกรมจะแสดงหน้ าต่างเอกสารใหม่ ดังรูป

4. พิมพ์ Code แสดงข้อความ "Hello World"

5. บันทึกเอกสาร โดยการ
คลิกที่เมนู File > Save As.. ดังรูป

6. เลือกตำแหน่ งเก็บเอกสาร
(Save in) ตั้งชื่อเอกสาร (File name)

7. เมื่อบันทึกแล้ว ทำการแปลภาษา (คอมไพล์)

8. เมื่อสั่งคอมไพล์โปรแกรม จะ
มีหน้ าต่างแสดงการคอมไพล์ปรากฏขึ้น
มา หากการคอมไพล์ เสร็จสิ้น

9. หากการคอมไพล์มีคำเตือนหรือข้อผิด
พลาดที่เกิดขึ้น จะมีข้อความแสดงที่หน้ าต่าง
Compiler

10. ต่อไปเราจะมาสั่งรันโปรแกรมเพื่อ
ดูผลลัพธ์ของโปรแกรมกัน โดยให้ไปที่เมนู
Execute และเลือกที่ Run

11. ผลลัพธ์ของโปรแกรมก็จะปรากฏขึ้นดังรูป

12. คำสั่งแนะนำเพิ่มเติม ไปที่เมนู
File -> Tool -> Editor Options

13. เลือก tab Display เรา
สามารถเลือกปรับรูปแบบตัวอักษร
และขนาดของตัวอักษรในส่ วน

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี

โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ

1. ส่ วนหัวของโปรแกรม เรียกว่า
ส่ วนหัวของโปรแกรมนี้

Preprocessing Directives ใช้ระบุเพื่อ

บอกให้ คอมไพเลอร์กระทำการใดๆ

ก่อนการแปลผลโปรแกรม

คำสั่ งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นำเฮดเดอร์
ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม

#include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> คอมไพ
เลอร์จะทำการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ

. #include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” คอมไพ
เลอร์จะทำการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่
ระบุ จาก ไดเร็คทอรีเดียวกันกับไฟล์
source code

2. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก
ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ
ฟังก์ชั่น main() ซึ่งโปรแกรมภาษา
ซีทุกโปรแกรมจะต้องมี ฟังก์ชั่นนี้
อยู่ในโปรแกรมเสมอ

ฟังก์ชั่น main() สามารถเขียนในรูป
แบบของ void main(void)

3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม

เป็นส่วนของการเขียนคำสั่ง เพื่อให้
โปรแกรมทำงานตามที่ได้ออกแบบไว้

NOTE คอมเมนต์ในภาษาซี
คอมเมนต์ (comment) คือ ส่วนที่
เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อผู้
เขียนโปรแกรมใส่ ข้อความอธิบายกำกับ
ลงไปใน source code

ในภาษาซีมี 2 แบบ คือ
1.คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย //
2.คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */

สรุปเนื้ อหา

Bloodshed Dev C++ คือ เครื่องมือที่ช่วยในการ
พัฒนาโปรแกรม เรียกว่า IDE ซึ่งเป็นโปรแกรมที่
ออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้ที่เขียน โปรแกรมใช้ใน
การสร้างโปรแกรม โดยจะมี Editor

วิธีการดาวน์ โหลดติดตั้ง
ใช้งานฟรี ขั้นตอนการ
ดาวน์ โหลดโปรแกรมไปที่
http://www.bloodshed.n
et/dev/devcpp.html

วิธีการติดตั้งโปรแกรม
Dev-C++ ไปยังไดเร็ค
ทอรีที่จัดเก็บโปรแกรม
ที่ดาวน์ โหลดมาเมื่อ สัก
ครู่นี้ และดับเบิล

ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม

ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน

1.การวิเคราะห์ปัญหา (Analysis the Problem)

มีขั้นตอนดังนี้ คือการระบุข้อมูลเข้า,การระบุข้อมูล
ออกและการกำหนดวิธีการประมวลผล

2. ออกแบบโปรแกรม (Design a Program)

โดยมีเครื่องมือที่ช่วยในการออกแบบโปรแกรม
เช่นผังงาน รหัสจำลอง แผนภูมิโครงสร้าง
และที่นิ ยมใช้กันมากก็คือผังงาน

3. การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

(Coding Program) เป็นการนำผังงานที่เขียนไว้มา
แปลงให้เป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์

4. การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม

(Testing and Validating)

5. การทำเอกสารประกอบโปรแกรม

(Documentation)

6. การบำรุงรักษาโปรแกรม

(Program Maintenance)

การวิเคราะห์ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้



1. กำหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อพิจารณาว่า

โปรแกรมต้องทำการประมวลผลอะไรบ้าง

2. พิจารณาข้อมูลนำเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะต้องนำ

ข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์

3. พิจารณาการประมวลผล เพื่อให้ทราบว่า

โปรแกรมมีขั้นตอนการประมวลผลอย่างไร

4. พิจารณาข้อสนเทศนำออก เพื่อให้ทราบว่ามีข้อ

สนเทศอะไรที่จะแสดง

การออกแบบโปรแกรม
การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมเป็น
ขั้นตอนที่ใช้เป็นแนวทางในการลงรหัสโปรแกรม

การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมเป็นการนำเอาผลลัพธ์ของ

การออกแบบโปรแกรม มาเปลี่ยนเป็นโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ ง ผู้เขียน
โปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อรู ปแบบคำสั่ ง
และกฎเกณฑ์ของภาษาที่ใช้เพื่อให้การประมวลผล

การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
การทดสอบโปรแกรมเป็นการนำโปรแกรมที่ลงรหัส

แล้วเข้าคอมพิวเตอร์ เพื่อตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑ์
ของภาษา และผลการทำงานของโปรแกรมนั้ น

อาจแบ่งได้เป็น 3 ขั้น

สร้างแฟ้มเก็บโปรแกรมซึ่งส่วนใหญ่นิ ยมนำ
โปรแกรมเข้าผ่านทางแป้นพิมพ์โดยใช้โปรแกรม
ประมวลคำ

ใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
แปลโปรแกรมที่สร้างขึ้นเป็นภาษา
เครื่อง โดยระหว่างการแปลจะมี
การตรวจสอบความถูกต้องของรูป
แบบและกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา

ตรวจสอบความถูกต้องของการประมวล
ผลของโปรแกรม โปรแกรมที่ถูกต้องตาม
รูปแบบและกฎเกณฑ์ของภาษา แต่อาจให้
ผลลัพธ์ของการประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้
ดังนั้ นผู้เขียนโปรแกรมจำเป็นต้องตรวจ
สอบว่าโปรแกรมประมวลผลถูกต้องตาม
ต้องการหรือไม่

การทำเอกสารประกอบโปรแกรม การทำเอกสาร
ประกอบโปรแกรมเป็นงานที่สำคัญของการพัฒนา
โปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้
โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์

เอกสารประกอบโปรแกรมที่จัดทำ
ควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้

1. วัตถุประสงค์
2.ประเภทและชนิ ดของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ใช้
3.วิธีการใช้โปรแกรม
4.แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม
5.รายละเอียดโปรแกรม
6.ข้อมูลตัวแทนที่ใช้ทดสอบ
7.ผลลัพธ์ของการทดสอบ

การบำรุ งรักษาโปรแกรมเมี่อโปรแกรม
ผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบร้อย
แล้ว และถูกนำมาให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน ในช่วง
แรกผู้ใช้อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจทำให้
เกิดปัญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้ นจึงต้องมีผู้
คอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการ
ทำงาน การบำรุงรักษาโปรแกรมจึงเป็น
ขั้นตอนที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้าดู
และหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมใน
ระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรม

เกมที่จะนำเสนอ

ทิก-แทก-โท หรือ เอ็กซ์โอ
เป็นเกมกระดานชนิ ดหนึ่ ง

เนื่ องจากวิธีการเล่นผู้เล่นแต่ละฝ่าย
จะผลัดกันเขียนรูปวงกลมและกากบาท
บนกระดานชาวไทยจึงนิ ยม
เรียกว่าเอ็กซ์โอ

ตัวอย่างโค้ด

โครงสร้างต่างๆของตัว Code

ส่ วนหัวโปรแกรม

ส่ วนตัวโปรแกรม

ตัวอย่างเกม

ประกาศตัวแปรต่างๆเพื่อใช้
ในการเก็บข้อมูลและใช้ใน
การประมวณผล
โดยตัวแปรต่างๆจะมีชนิ ดตัวแปร
แตกต่างกันโดยแต่
ละชนิ ดของตัวแปรจะมีน่ าที่ที่เก็บข้อมูลต่างกันไป
เช่น int หรือ integer เป็นชนิ ดตัวแปรที่ใช้เก็บค่าตัวเลข
จำนวนเต็ม เช่น -14 22

ในส่วนนี้ จะเป็นส่วนของการแสดงหน้ าตารางเกมออกสู้
หน้ าจอโดยจะใช้คำสั่ง printf เพื่อแสดงค่าออกมายังหน้ า

จอ


Click to View FlipBook Version