_
รายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี
(พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓)
การศกึ ษาปฐมวยั และระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
โรงเรยี นสามคั คศี รวี ชิ ัย
สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องคก์ ารมหาชน)
บทสรปุ สาหรบั ผูบ้ ริหาร
โรงเรียนสามัคคีศรีวชิ ัย ตั้งอยู่เลขท่ี ๑๐ หมู่ท่ี ๑๐ ตาบลทุ่งหัวช้าง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน สังกัด
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต ๒ เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ๑ ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓
คณะผู้ประเมินได้ตรวจเย่ียมสถานศึกษาเม่ือวันที่ ๑๘ ถึง ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๒ โดยมีผลการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบส่ี ดงั น้ี
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓)
๑. การศึกษาปฐมวยั
ดา้ น ระดบั คณุ ภาพ
๑. คุณภาพของเด็ก ดี
๒. กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดี
๓. การจัดประสบการณท์ เี่ น้นเดก็ เปน็ สาคัญ ดี
จดุ เด่น
ด้านคณุ ภาพของเดก็
๑. เด็กมีร่างกายแข็งแรง รูปร่างสมส่วนเหมาะสมกับวัย เล่นเคร่ืองเล่นสนามปีนป่ายได้อย่าง
คล่องแคล่ว เล่นฟุตบอลและว่ิงเล่นกลางแจ้งได้โดยไม่เหนื่อยง่าย มีของใช้ส่วนตัว สถานศึกษาจัดให้เด็ก
ได้รับประทานอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมกับวัยตามโปรแกรม Thai School
Lunch มีการควบคุมดูแลให้เด็กด่ืมนมเป็นประจาทุกวันอย่างสม่าเสมอ มีการช่ังน้าหนัก วัดส่วนสูง
ทุกเดือน มีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬา สนับสนุนให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับกลุ่มโรงเรียน
จัดโครงการดูแลรักษาสุขภาพระดบั ปฐมวัย ดูแลปากและฟนั โดยการแปรงฟันหลงั อาหารทกุ ครง้ั
๒. เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เด็กเล่นและ
ทากิจกรรมร่วมกนั ได้ท้ังกจิ กรรมกลุ่มใหญ่และกิจกรรมกลมุ่ ย่อย มีการช่วยเหลือกนั เป็นอยา่ งดี ชว่ ยเหลือ
ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ใช้ช้อนและส้อมได้ดี รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง ล้างภาชนะใส่อาหาร
ของตนเองได้ เข้าห้องน้า ห้องส้วม และแปรงฟันได้เอง ช่วยคุณครูในการทาความสะอาดโต๊ะอาหาร
โดยมีกิจกรรมการแบ่งกลุ่มสีรับผิดชอบเขตพ้ืนที่ในการทาความสะอาด รู้จักไหว้เม่ือเจอครู ผู้ปกครอง
จดั เกบ็ ของใชข้ องเล่นเข้าท่ี
๑
ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ
๑. สถานศึกษา มีการบริหารที่ใช้หลักของการมีส่วนร่วม ผู้บริหารและครูมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับ
ผู้ปกครอง ชุมชน เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาและการดูแลเด็ก ทาให้
ผู้ปกครองเกิดความมัน่ ใจ เห็นความสาคญั ของการจดั การศกึ ษา และสง่ บุตรหลานเข้าเรียน
๒. สถานศึกษามีหลักสูตรปฐมวัยที่ใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ
อย่างหลากหลาย ครอบคลุมการพัฒนาการท้ัง ๔ ดา้ น สอดคล้องกับวัย และพัฒนาการของเด็กตามหลัก
ของ เฟรอเบล เปน็ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
๓. สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก และนาแหล่งเรียนรู้
ภูมิปญั ญามาใชเ้ พื่อการพฒั นาเดก็ ไดเ้ หมาะสมกับบริบทและพัฒนาการของเดก็
ด้านการจดั ประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเป็นสาคัญ
ครูมกี ารจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กตามแผนการจัดประสบการณ์ที่กาหนดไวใ้ นหลักสูตรสถานศึกษา
โดยจัดการเรียนรู้ในรูปแบบเฟรอเบล คือ การพัฒนาเด็กผ่านกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม คือ กิจกรรม
เคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง
และกิจกรรมเกมการศึกษา มีการจัดตารางเวลาในการจัดกิจกรรมอย่างชัดเจน มีการจัดบรรยากาศ
ในช้ันเรียนอย่างอบอุ่น มีมุมการจัดประสบการณ์อย่างหลากหลาย และให้เด็กได้เข้าเล่นตามมุมที่สนใจ
เช่น มุมวิทยาศาสตร์ มุมประสาทสัมผัส มุมสร้างสรรค์ มุมตุ๊กตา มุมเกมการศึกษา มุมแต่งตัว มุมบ้าน
มมุ หนังสอื มุมบล็อก มีการใชส้ ื่อเทคโนโลยีเข้าช่วยในการจัดการเรียนรู้ให้กับเดก็ โดยการเปดิ ยูทูป สืบค้น
เรอ่ื งที่จะจดั ประสบการณ์ใหก้ บั เด็กกอ่ นจะนาเขา้ สู่บทเรียน มีการตรวจใบงาน และผลงานเด็ก
จดุ ที่ควรพฒั นา
ดา้ นคณุ ภาพของเด็ก
๑. เดก็ ควรได้รบั การสง่ เสริมด้านสุขนิสัยส่วนบุคคลในการใช้ของใช้ส่วนตัว การใช้ชอ้ นในการ
ตักอาหารแทนการใชม้ ือหยบิ จับ การปอ้ งกนั และตระหนกั ในเรอื่ งโรคติดตอ่
๒. เด็กควรได้รบั การส่งเสรมิ ในเร่ืองระเบยี บวินยั การอดทน รอคอย เข้าแถวในการทากิจกรรม
ต่าง ๆ ร่วมกนั อย่างสมา่ เสมอและต่อเนอื่ ง
๓. เดก็ ควรได้รบั การพัฒนาทางดา้ นภาษาและการสอื่ สารเพอ่ื ใชใ้ นการอยู่รว่ มกันกบั ผ้อู ื่นในสังคม
ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
การกาหนดตัวช้ีวัดความสาเร็จในการพัฒนาเด็ก พัฒนาครูท่ีชัดเจนในระดับแผนงาน/โครงการ
ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ และดาเนินการส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรม การจัดประสบการณ์เพ่ือพัฒนา
เด็กและเน้นเดก็ เปน็ สาคญั
๒
ด้านการจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สาคัญ
การประเมินผลไม่ชัดเจน เครื่องมือในการวัดและประเมินผลยังไม่ถูกต้องตามหลักการประเมิน
และยังไม่สอดคลอ้ งตามจดุ ประสงคท์ ่ีตั้งไวใ้ นแผนการจดั ประสบการณ์
ขอ้ เสนอแนะ
ดา้ นคณุ ภาพของเดก็
๑. การพัฒนาและส่งเสริมด้านสุขนิสัยส่วนบุคคลในการใช้ของใช้ส่วนตัว การใช้ช้อนในการ
ตักอาหารแทนการใช้มือหยิบจับ การป้องกันและตระหนักในเรื่องโรคติดต่อโดยครูควรจัดกิจกรรม
ท่ีช้ีให้เห็นถึงประโยชน์ของการใช้ของใช้ส่วนตัว และผลเสียของการใช้ของร่วมกันซ่ึงจะนามาในเร่ืองของ
โรคติดต่อได้ และควรให้เด็กทุกคนมีแก้วสาหรับด่ืมน้าของตนเองไม่ใช้ร่วมกับผู้อ่ืน การใช้ช้อนในการตัก
อาหารแทนการใช้มือหยิบ จับ ในถาดอาหารทั้งของตนเองและผู้อื่น การจามการไอโดยมีหน้ากากอนามัย
ในการป้องกันการแพร่กระจายเช้ือโรค การล้างมือบ่อย ๆ หลังจากเข้าห้องน้าและทากิจกรรมต่าง ๆ ต้อง
ทาบ่อย ๆ ทาซา้ ๆ จนเป็นนิสัย
๒. การพัฒนาและส่งเสริมด้านระเบียบวินัย การอดทน รอคอย เข้าแถวในการทากจิ กรรมต่าง ๆ
ครูควรจัดกิจกรรมกลุ่มให้เด็กได้ฝึกภาวะผู้นาและผู้ตาม มีหัวหน้ากลุ่มที่ทากิจกรรมร่วมกันและผลัดกัน
เป็นผู้นา แบ่งงานกันอย่างชัดเจน เช่น กลุ่มสีแดงทาความสะอาดโต๊ะกินข้าว กลุ่มสีเขียวล้างถาดอาหาร
กลุ่มสีเหลืองล้างห้องน้า ห้องส้วม กลุ่มสีฟ้า จัดท่ีนอน และผลัดเปลี่ยนกันทาในทุก ๆ สัปดาห์ มีการฝึก
วินัยในเร่ืองการอดทน รอคอย การเข้าแถวในกลุ่มเล็ก ๆ ก่อนเพื่อต่อยอดให้เด็กได้นามาใช้ในกลุ่มใหญ่
ซึ่งเป็นการฝึกทักษะการใช้ชีวิตในสังคมและแบ่งเบาภาระของคุณครูได้ในระดับหนึ่งอีกทั้งยังส่งผลดีต่อ
เดก็ ในทุก ๆ ด้าน ควรมีข้อตกลงในชั้นเรียนและเน้นย้าให้เด็กไดป้ ฏบิ ัติอย่างจริงจังและทาอย่างสม่าเสมอ
ต่อเนื่อง
๓. การพัฒนาและส่งเสริมด้านภาษาและการสื่อสาร ครูควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้ท่องคาคล้อง
จองบ่อย ๆ อย่างหลากหลาย ท่องเป็นประจา และให้เด็กได้ฟังนิทานบ่อย ๆ เป็นประจา จะช่วยในเร่ือง
ของการออกเสียง การพูดและการสื่อสารด้วยภาษาไทยได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น และควรมีข้อตกลงใน
ชั้นเรียนในเร่ืองของการใช้ภาษาในการสนทนาต้องสนทนากันด้วยภาษาไทยเท่านั้น เพื่อฝึกการพูดและ
สรา้ งความเข้าใจระหวา่ งครกู บั เด็ก
กาหนดการดาเนนิ การปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะภายใน ๑ ปี
๓
ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
สถานศึกษาควรกาหนดค่าเปา้ หมาย /ตัวชว้ี ัดความสาเร็จ ระดับแผนงาน/โครงการในการพัฒนา
เด็ก พัฒนาครู และควรมีการออกแบบเครื่องมือท่ีมีมาตรฐานในการวัด ตรวจสอบติดตามและประเมินผล
ที่สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ในระดบั แผนงาน/ โครงการ เพือ่ ได้ข้อมูลทีส่ ะท้อนผลการดาเนนิ งานทชี่ ัดเจน
สามารถนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาต่อไป ตลอดจนมีการส่งเสริมพัฒนาครูได้อบรมและพัฒนาตนเอง
เกย่ี วกับการจดั ประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กและเนน้ เดก็ เป็นสาคญั ให้มีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้ึน
กาหนดการดาเนินการปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี
ดา้ นการจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเดก็ เป็นสาคญั
ครูทุกคนควรควรบันทึกหลังการสอนให้สอดคล้องตามจุดประสงค์ท่ีได้กาหนดไว้ในแผนการจัด
ประสบการณ์ และบันทึกโดยละเอียดว่ามีเด็กก่ีคนท่ียังไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ช่ืออะไรบ้าง ออกแบบ
การบนั ทึกหลังการสอนให้ถูกตอ้ งตามหลักการประเมิน การกาหนดค่า และแปลผลตอ้ งมีความสอดคล้อง
กับเคร่ืองมือท่ีใช้ ต้องประเมินเดก็ ให้ครบทุกคน และครบทุกกิจกรรมตามวตั ถุประสงค์ในแตล่ ะวันเพอ่ื นา
ปัญหาที่พบมาพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมตามบริบท และเชื่อมโยงไปสู่การทาวิจัยในชั้น
เรียนรวมถึงการประเมินพัฒนาการเด็กตามแบบ อบ.๒ จะต้องสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาซ่ึงเป็น
ตัวกาหนดสภาพท่ีพึงประสงค์ที่เด็กจะต้องมีเพื่อนามาสะท้อนผลพัฒนาการเด็กในทุก ๆ ด้านและนาผล
ท่ไี ดม้ าเชอ่ื มโยงสมู่ าตรฐานการประกนั คุณภาพภายในดา้ นเดก็ ตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย
กาหนดการดาเนินการปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี
๔
๒. ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ด้าน ระดับคณุ ภาพ
ดี
๑. คุณภาพของผู้เรียน ดี
ดี
๒. กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๓. กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั
จดุ เด่น
ด้านคณุ ภาพของผเู้ รยี น
๑. ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีทักษะในการทางาน รักการทางาน
มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง ด้วยโครงการโรงเรียนประชา
รัฐ สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรทักษะอาชีพ เรื่องทอผ้า เล้ียงปลา เลี้ยงกบ เลี้ยงไก่ไข่ ปลูกผักปลอด
สารพิษ เพาะเห็ดนางฟ้า และจัดโครงการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้สู่อาชีพ น้อมนาสู่เศรษฐกิจพอเพียง
สง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นมีสว่ นร่วม
๒. ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ด้วยโครงการวันสาคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียน
มีส่วนร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรม และประเพณีไทย รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถ่ิน แต่งกายด้วยชุดประจาเผ่า ทุก
วันศุกร์ นักเรียนหญิงได้ฝึกทอผ้าด้วยก่ีเอว ทอถุงย่าม และผ้าคลุมไหล่ และทาโครงงานหมี่ด่อง กล่อง
พอเพียง
๓. ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และแสวงหาความรู้ได้ดว้ ย
ตนเอง ได้เรยี นรู้ผา่ นสอื่ โครงการ/กิจกรรม DLIT, DLTV และสื่อโครงการทรูปลูกปัญญา
ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๑. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่มีความสอดคล้องกับบริบท ความต้องการของชุมชน
ผู้ปกครอง และตอบสนองความถนัด ความสามารถของผู้เรียน มีกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning และ STEM ศึกษา มีการจัดทาหลักสูตรท้องถิ่น เร่ืองการทอผ้าด้วยกี่เอว ผ้าคลุมไหล่ และ
จัดทาแผน IEP ในทุกระดับช้ันเรียน มีกิจกรรมโครงงาน ที่เน้นการลงมือปฏิบัติจริงมีการบริหารและการ
จดั การอยา่ งเปน็ ระบบ
๒. สถานศึกษามีการพัฒนาสู่กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาทางวิชาการ
มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี เป็นผู้นาการเปล่ียนแปลง และสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดกับครูและผู้เรียนได้ดี
มีความสัมพันธ์ที่ดีกับ ผู้ปกครอง ชุมชน เครือข่าย องค์กรชุมชน ทาให้ได้รับการยอมรับ และการ
สนับสนุน มีเครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาคส่วน มีเครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาท่ี
เขม้ แขง็ สามารถนาองคก์ รกา้ วข้ามอุปสรรคของการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
๕
ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
๑. สถานศึกษามีกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และ STEM ศึกษา มีการ
จัดทาหลักสูตรท้องถิ่น เร่ืองการทอผ้าด้วยก่ีเอว ผ้าคลุมไหล่ และจัดทาแผน IEP ในทุกระดับชั้นเรียน
มีกิจกรรมโครงงาน ที่เน้นการลงมือปฏิบัติจริง เช่นโครงงานคณิตศาสตร์ เร่ืองกระปุกออม รูปทรง
เรขาคณติ
๒. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชัน้ เรียน โดยใช้ใบงาน ชิ้นงาน และแก้ปญั หา โดยใช้โจทย์
ให้เด็กผู้เรียนได้ศึกษา และค้นคว้าก่อนทางาน ครูใช้คาถามเพ่ือให้ผู้เรียนต่อเป็นคาถามปลายเปิด
บรรยากาศในชั้นเรียน ครู และผูเ้ รยี นมปี ฏิสัมพนั ธ์ที่ดี พดู เพราะ มีหางเสยี ง
๓. มีการใชส้ อื่ การเรียนการสอน ที่เหมาะสมกับผ้เู รียน บรรยากาศในชั้นเรยี นเหมาะสม และเอื้อ
ตอ่ การเรียนรู้ มกี ารใชส้ อื่ เทคโนโลยี ตามโครงการทรู ปลูกปญั ญา ในการจัดการเรยี นการสอน
จดุ ที่ควรพัฒนา
ดา้ นคณุ ภาพของผู้เรยี น
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา และผลการทดสอบระดับชาติ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ต่ากว่าระดับดี จาเป็นต้องพัฒนาการจัดการเรียนรู้
เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ และพัฒนา
ทักษะการคดิ คานวณ
ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๑. การกาหนดตวั ชี้วัดความสาเร็จในระดับแผนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับระดบั ความสามารถ
ศักยภาพของผู้เรียน และสถานศึกษาและดาเนินการออกแบบเคร่ืองมือในการตรวจสอบติดตาม
ประเมินผลท่ีสะทอ้ นคณุ ภาพอยา่ งชัดเจน
๒. การออกแบบและสร้างกระบวนการทางานหรือนวัตกรรมที่ตอบสนองต่อการพัฒนาระบบ
สารสนเทศของสถานศกึ ษา
ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ
๑ . การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล การนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปพัฒนาผู้เรียนตรงตาม
เปา้ หมาย และตามศักยภาพผู้เรียน
๒ . การนาผลการบันทึกหลังสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน และการวิจัยในชั้นเรียน ไปแลกเปลี่ยน
เรยี นรตู้ ามกระบวนการ PLC อย่างเป็นระบบ
๖
ข้อเสนอแนะ
ด้านคณุ ภาพของผู้เรียน
ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้มีผลคะแนนการทดสอบ ทั้งในระดับ
สถานศึกษาและระดับชาติสูงข้ึนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร โดยเฉพาะคณิตศาสตร์ และ
ภาษาอังกฤษ วางแผนกาหนดเป้าหมายท่ีต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนทั้งด้านความรู้ และทักษะ
กระบวนการ นาข้อมูลนั้นมาวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีตอบสนองต่อความสามารถของ
ผเู้ รยี น ประเมินความกา้ วหน้าของผู้เรียนดว้ ยการใช้เครอ่ื งมอื วิธีการที่หลากหลายเหมาะสมใหต้ รงจุดตรง
ตามประเดน็ แลว้ นาผลมาวเิ คราะห์เพอื่ ปรับปรงุ /ซ่อมเสรมิ /พัฒนาผูเ้ รียนต่อไป
กาหนดการดาเนนิ การปรบั ปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี
ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ
๑. สถานศึกษาควรดาเนินการ กาหนดตวั ชวี้ ัดความสาเร็จในการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาครู พัฒนา
งาน ท้ังเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพ ในระดบั แผนงาน/ โครงการ ที่เชือ่ มโยงสู่แผนการพัฒนาคุณภาพของ
สถานศึกษา ท่ีคลอบคลุมทุกมาตรฐาน มีการออกแบบเครื่องมือในการวัด ตรวจสอบติดตามและ
ประเมินผล ท่ีสามารถสะท้อนผลการประเมิน และสามารถนาข้อมูล ผลการประเมินตามแผนงาน/
โครงการ ไปปรับปรุงเพือ่ พฒั นางานใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลสูงสดุ
๒. สถานศึกษาควรออกแบบและสร้างกระบวนการทางานหรือนวัตกรรมท่ีตอบสนองต่อการ
พัฒนาระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูล ฐานความรู้ เพ่ือพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญและการจัดการความรู้ การ
เลือก การรวบรวม และบูรณาการข้อมูลและสารสนเทศให้สอดคล้องไปในทางเดียวกัน ที่จะนาไปตดิ ตาม
ผลการดาเนินงาน เพ่อื สนับสนนุ การตดั สนิ ใจในระดบั ปฏิบัตกิ ารและระดับกลยทุ ธ์ การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิง
เปรียบเทียบ เพื่อใช้ในการวางแผน ทบทวนยุทธศาสตร์ รวบรวมข้อมูลจากทุกแหล่งไว้ในท่ีเดียวกัน
สารองข้อมูล ดาเนินการประมวลผลแบบ Real time เพ่ือให้ข้อมูลมีความทันสมัยมากที่สุด โดยคานึงถึง
เทคโนโลยี สารสนเทศ องค์ความรู้ และความคล่องตัวในการปฏิบัติงานของสถานศึกษา ออกแบบ
กระบวนการทางานให้ครอบคลุมประเดน็ หลักท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ การควบคุมคุณภาพ การควบคุมความเส่ียง
เพ่ือสรา้ งนวัตกรรมอยา่ งมีประสิทธผิ ล
กาหนดการดาเนินการปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะภายใน ๑ ปี
ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
๑. ครูทุกคนควรจัดกิจกรรมให้ตรงกับเป้าหมาย และคุณลักษณะของผู้เรียน จากการวิเคราะห์
ผู้เรียนเป็นรายบุคคล การนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปพัฒนาผู้เรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
Active Learning โดยส่งเสริมให้ผู้เรียน ใช้เวทีแสดงความคิด กล้าแสดงออก และแสดงผลงาน อ่าน
ชิ้นงานของตนเอง อย่างสม่าเสมอ และทุกชั้นเรียน โดยบูรณาการเนื้อหาสาระของหน่วยการเรียนรู้ ควร
บันทึกหลังสอนให้ตรงกับคุณลักษณะของผู้เรียน เนน้ เป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มย่อย เพื่อง่ายตอ่ การจัด
๗
กิจกรรมเสริมผู้เรียน ควรนามาวัด และประเมินผลการพัฒนาผู้เรียน เพ่ือปรับปรุงแก้ไขในปีการศึกษา
ต่อไป
๒ . ครูทุกคนควรนาผลการบันทึกหลังสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน และปัญหาที่บันทึกไว้ในสมุด
(Lock Book) ไปแลกเปล่ียนเรียนรู้ตามกระบวนการ PLC อย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง โดยคานึงถึงการ
แก้ปัญหาด้วยวิธีการสอน การจดั กิจกรรมท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน และ การใช้สื่อ เพอื่ สู่การพัฒนาศักยภาพ
ด้านการวิจัยในชั้นเรียน พัฒนาในเรื่องหลักสูตรบูรณาการท้องถิ่น ให้เห็นเด่นชัด ในทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ เพือ่ ให้ผู้เรยี นเกดิ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ท้องถิ่น รักในท้องถ่ิน สามารถนาไปปฏิบัตใิ นชวี ิตประจาวัน
ได้นอกจากน้ีควรพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ใช้ส่ือเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ ๆให้มี
ประสทิ ธิภาพ เกดิ ประโยชนต์ ่อการแสวงหาความรู้ และยกระดบั ผลสมั ฤทธขิ์ องผเู้ รียน
กาหนดการดาเนนิ การปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี
๘
ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ทัว่ ไปของสถานศึกษา
๑. โรงเรียนสามัคคีศรีวิชัย ต้ังอยู่เลขที่ ๑๐ หมู่ท่ี ๑๐ ตาบลทุ่งหัวช้าง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน
รหสั ไปรษณีย์ ๕๑๑๖๐ โทรศัพท-์ โทรสาร ๐-๕๓๕๑-๘๑๓๖ E-mail : [email protected]
๒. หน่วยงานต้นสงั กัดหรือหนว่ ยงานที่กากบั ดแู ลสถานศกึ ษา
สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาพนู เขต ๒
๓. สรปุ ขอ้ มลู สาคญั ของสถานศึกษา
๓.๑ จดั ช้ันเรียนต้ังแตอ่ นุบาล ๑ ถงึ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓
๓.๒ จานวนผเู้ รียน/เดก็ จาแนกตามระดับชน้ั ดังน้ี
จานวน จานวน
จานวน ผเู้ รยี นปกติ (คน) ผู้เรียน
หอ้ งเรยี น ท่ีมีความตอ้ งการ
ระดบั ช้ันทีเ่ ปิดสอน รวม
พเิ ศษ (คน)
๒๕
ชาย หญงิ ชาย หญิง ๓๒
๕๗
อนบุ าล ๒ ๑ ๑๘ ๗ - - ๓๓
๓๘
อนุบาล ๓ ๑ ๒๑ ๑๑ - - ๔๔
๓๒
รวม ๒ ๓๙ ๑๘ - - ๑๙
๑๔
ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ๑ ๒๐ ๑๓ - - ๑๘๐
๓๗
ประถมศึกษาปีที่ ๒ ๑ ๒๐ ๑๘ - - ๒๖
๓๕
ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ๒ ๑๑ ๑๐ ๑๕ ๘ ๙๘
๓๓๕
ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ๑ ๗ ๑๐ ๑๑ ๔
ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ๑ ๕๘๕ ๑
ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๑ ๔๖๒ ๒
รวม ๗ ๖๗ ๖๕ ๓๓ ๑๕
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๑ ๑๑ ๒๒ ๒ ๒
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๑ ๒ ๑๓ ๑๐ ๑
มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑ ๓ ๑๘ ๑๑ ๓
รวม ๓ ๑๖ ๕๓ ๒๓ ๖
รวมท้ังส้ิน ๑๑ ๑๒๒ ๑๓๖ ๕๖ ๒๑
๙
๓.๓ ข้อมลู บุคลากร จานวน ๑ คน
: ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา จานวน ๒ คน
: คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ การศึกษาปฐมวัย จานวน ๑๐ คน
: ครูประถมศึกษา จานวน ๗ คน
: ครมู ัธยมศกึ ษา จานวน ๒ คน
: บคุ ลากรสายสนบั สนุน
สรปุ อัตราส่วน
การศึกษาปฐมวัย
อตั ราสว่ นของจานวนผ้เู รียน/เด็ก : ครู เท่ากับ ๒๙ : ๑
อตั ราสว่ นของจานวนผู้เรยี น/เดก็ : หอ้ ง เท่ากับ ๒๙ : ๑
มีจานวนครู/ผดู้ ูแลเด็ก ครบช้นั ครบชน้ั ไมค่ รบช้นั
ภาระงานสอนของครู/ผดู้ ูแลเด็ก โดยเฉลยี่ ชัว่ โมง : สัปดาห์ เท่ากบั ๒๐ : ๑
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
ระดบั ประถมศึกษา
อัตราส่วนของจานวนผู้เรียน : ครู เทา่ กบั ๑๘ : ๑
อัตราส่วนของจานวนผเู้ รยี น : หอ้ ง เท่ากับ ๒๖ : ๑
มจี านวนครู ครบชั้น ครบช้ัน ไมค่ รบชัน้
ภาระงานสอนของครู โดยเฉลีย่ ชัว่ โมง : สัปดาห์ เท่ากับ ๑๘ : ๑
ระดบั มัธยมศกึ ษา
อัตราส่วนของจานวนผู้เรียน : ครู เทา่ กบั ๑๔ : ๑
อัตราส่วนของจานวนผ้เู รยี น : หอ้ ง เท่ากบั ๓๓ : ๑
มจี านวนครู ครบช้ัน ครบชัน้ ไม่ครบช้นั
ภาระงานสอนของครู โดยเฉล่ยี ชัว่ โมง : สัปดาห์ เท่ากับ ๒๐ : ๑
๑๐
ตอนที่ ๒ ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
๒.๑ การศึกษาปฐมวัย
ด้านท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็
ผลการดาเนนิ งาน
สถานศึกษามีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีหลักสูตร
สถานศึกษาระดับปฐมวยั สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน มีแผนการจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ
ครบ ทั้ง ๔ ด้าน ผ่านกิจกรรม ๖ กิจกรรมหลัก เดก็ ส่วนใหญ่มีร่างกายแข็งแรง รูปร่างสมส่วนเหมาะสมกับวัย เล่น
เคร่ืองเล่นสนามปีนป่ายได้อย่างคล่องแคล่ว เล่นฟุตบอลและวิ่งเล่นกลางแจ้งได้โดยไม่เหน่ือยงา่ ย มีของใช้ส่วนตัว
สถานศึกษาจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารท่ีสะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมกับวัยตามโปรแกรม Thai
School Lunch มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจาทุกวันอย่างสม่าเสมอ มีการชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูงทุก
เดือน มีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬา สนับสนุนให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับกลุ่มโรงเรียน จัดโครงการดูแล
รักษาสุขภาพระดับปฐมวัย เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กส่วนใหญ่อารมณ์ดี สดใส ร่าเริงเม่ือได้อยู่กับ
เพ่ือนในวัยเดียวกัน ขี้อายและยังไม่กล้าแสดงออกมากนัก เด็กมีมารยาท ไหว้และทักทายเม่ือเจอครู ผู้ปกครอง
เด็กยังไม่สามารถควบคุมตนเองได้ยังมีการทะเลาะ หยิกตีกัน แกล้งและรังแกเพ่ือน เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม
ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกทด่ี ขี องสงั คม เดก็ เล่นและทากิจกรรมรว่ มกนั ไดท้ งั้ กิจกรรมกลุ่มใหญ่และกิจกรรม
กลุ่มย่อย มีการช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวัย ใช้ช้อนและส้อมได้ดี รับประทาน
อาหารได้ด้วยตนเอง ล้างภาชนะใส่อาหารของตนเองได้ เข้าห้องน้า ห้องส้วม และแปรงฟันได้เอง ช่วยคุณครู
ในการทาความสะอาดโต๊ะอาหาร โดยมีกิจกรรมการแบ่งกลุ่มสีรบั ผิดชอบเขตพ้ืนที่ในการทาความสะอาด รจู้ ักไหว้
เม่ือเจอครู ผู้ปกครอง จัดเก็บของใช้ของเล่นเข้าท่ี เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิด
พ้ืนฐาน แสวงหาความรู้ได้ เด็กสามารถทาช้ินงานและเล่นเกมการศึกษาตามที่ครูแนะนาได้ สามารถตอบคาถาม
จากบทเรียนได้แต่ยังไมส่ อดคลอ้ ง และชดั เจนมากนกั สื่อสารไดต้ ามวัยและตามบริบท มที ักษะในการคิดและแก้ไข
ปัญหาได้จากการเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย กิจกรรมบ้านวทิ ยาศาสตร์น้อยซึ่งได้
เข้าร่วมอย่างต่อเน่ือง และจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด เฟรอเบล ซ่ึงเน้นการจัดส่ิงแวดล้อม มีสนาม มีมุมของเล่น
การจัดตารางเวลากจิ กรรมประจาวนั ซงึ่ มคี วามสาคญั เปน็ อย่างมากซ่ึงจะต้องครอบคลมุ พฒั นาการท้งั ๔ ด้าน ผ่าน
การจัดกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรม
สรา้ งสรรค์ กจิ กรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา มีการเรียนรู้ตามโครงการบา้ นวทิ ยาศาสตร์
อยา่ งต่อเน่อื งมา ๓ ปี นอกจากนี้ยงั มแี หล่งเรียนร้ภู ายนอก สนามเดก็ เล่นกลางแจ้ง สนามหญ้าให้เดก็ ได้วิ่งเล่นออก
กาลังกาย สถานศกึ ษายังจัดโครงการจัดการเรียนการสอนคอมพวิ เตอร์ระดับปฐมวัย จัดโครงการกิจกรรมให้เดก็ ๆ
ได้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อพัฒนาด้านร่างกายให้แข็งแรงและมีสุขนิสัยที่ดี เช่น กิจกรรมแปรงฟนั หลังอาหารกลางวัน
กิจกรรมด่ืมนม โครงการอาหารกลางวัน จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กได้ออกกาลังกาย ได้เคลื่อนไหวร่างกายอย่าง
สม่าเสมอ พฒั นาดา้ นอารมณ์ จิตใจ โดยจัดทาโครงการกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมระดับปฐมวัย การสวดมนต์
ไหว้พระ นั่งสมาธิก่อนนอนภาคบ่าย จัดกิจกรรมให้เด็กได้แต่งชุดประจาชนเผ่าทุกวันศุกร์ พัฒนาการด้านสังคม
ช่วยเหลือตนเอง โดยจัดใหม้ กี ารแบง่ เวรทางานประจาวันในห้องเรยี น พัฒนาการด้านสติปญั ญา ส่อื สารได้ มที กั ษะ
๑๑
การคิดพ้ืนฐาน แสวงหาความรู้ จากกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานท่ี กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมการเล่น
เกมการศึกษา กิจกรรมบทบาทสมมุติ จัดทาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย กิจกรรมเปิดบ้านวิชาการ สร้าง
โอกาสให้ เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุขตามโครงการศึกษาภูมิปัญญาท้องถ่ินและ
แหล่ง เรียนรู้ระดับปฐมวัย โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ โครงการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์
ระดับปฐมวัย โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยซ่ึงนักเรียนจะได้ปฏิบัติกิจกรรมการทดลองตามโครงการบ้าน
นักวิทยาศาสตรน์ ้อย จานวน ๒๐ กิจกรรม ๑ โครงงาน ซ่ึงในปีการศึกษา ๒๕๖๐ สถานศึกษาไดผ้ า่ น การประเมิน
คงสภาพบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย คร้ังที่ ๓ ระหว่างปี ๒๕๖๑-๒๕๖๕ เข้ารับตราพระราชทานบ้าน
นักวิทยาศาสตร์น้อย เม่ือวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๖ กิจกรรม
หลัก มีการประเมินคุณภาพเด็ก โดยการจัดทาแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ แบบบันทึกน้าหนัก ส่วนสูง แบบ
ประเมินพัฒนาการ บัญชีเรียกช่ือ สมุดรายงานประจาวัน บันทึกการดื่มนมและบันทึกการแปรงฟัน บันทึกการ
เยย่ี มบ้านแบบบันทึกกิจกรรมออมทรัพย์ เดก็ มีพัฒนาการทั้ง ๔ ดา้ นเหมาะสมกับวัยตามเกณฑ์มาตรฐาน รายงาน
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มีระดับคุณภาพดี เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัยได้รับการส่งเสริมให้
มีสุขนิสัยสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี โดยจัดโครงการดูแลรักษาสุขภาพระดับปฐมวยั โครงการกิจกรรมส่งเสริม
สมรรถภาพและการเล่นกีฬา ด้านสังคมเด็กไดร้ ับการส่งเสริมโดยจัดกิจกรรมแบ่งเวรทางานประจาวันในห้องเรียน
ด้านสติปัญญาส่งเสริมโดยให้เด็กได้เล่นเกมการศึกษา กิจกรรมบ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อย การเรียนการสอนโดยครู
ใช้คาถามแบบปลายเปดิ เพ่อื ให้เด็กไดร้ ู้จักตั้งคาถาม ตอบคาถามสามารถบอกความเกี่ยวข้องกับสิ่งตา่ ง ๆ ที่เกดิ ข้ึน
โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ มีความเหมาะสมกับความสนใจของเด็ก กระบวนการดาเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์
เป้าหมายและตัวบ่งชีค้ วามสาเร็จ จากการประเมินผลด้วยวิธีการสังเกตพฤติกรรมเด็ก การสัมภาษณ์ การทดสอบ
ความรู้ และนาผลการประเมินไปพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการ
ประเมนิ เด็ก การดาเนนิ การและเป็นไปตามระบบวงจรคณุ ภาพ PDCA ผลการประเมินมคี วามนา่ เชือ่ ถือ
สรปุ การประเมนิ ด้านท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ มรี ะดบั คุณภาพ ดี
จดุ เด่น
๑. เด็กมีร่างกายแข็งแรง รูปร่างสมส่วนเหมาะสมกับวัย เล่นเคร่ืองเล่นสนามปีนป่ายได้อย่างคล่องแคล่ว
เล่นฟตุ บอล และวิ่งเล่นกลางแจ้งไดโ้ ดยไม่เหนื่อยงา่ ย มีของใช้ส่วนตัว สถานศึกษาจัดให้เด็กได้รับประทานอาหาร
ที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปรมิ าณเหมาะสมกับวัยตามโปรแกรม Thai School Lunch มีการควบคุมดแู ลให้เด็กดื่ม
นมเป็นประจาทกุ วนั อย่างสม่าเสมอ มีการช่งั น้าหนัก วัดส่วนสูงทกุ เดือน มีการส่งเสรมิ ให้เดก็ ได้เล่นกีฬา สนบั สนุน
ให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับกลุ่มโรงเรียน จัดโครงการดูแลรักษาสุขภาพระดับปฐมวัย ดูแลปากและฟันโดย
การแปรงฟนั หลังอาหารทกุ ครง้ั
๒. เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เด็กเล่นและทากิจกรรม
ร่วมกันได้ทั้งกิจกรรมกลุ่มใหญ่และกิจกรรมกลุ่มย่อย มีการช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสม
กับวัย ใช้ช้อนและส้อมได้ดี รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง ล้างภาชนะใส่อาหารของตนเองได้ เข้าห้องน้า ห้อง
๑๒
ส้วม และแปรงฟันได้เอง ช่วยคุณครูในการทาความสะอาดโต๊ะอาหาร โดยมีกิจกรรมการแบ่งกลุ่มสีรับผิดชอบ
เขตพน้ื ท่ใี นการทาความสะอาด ร้จู ักไหวเ้ มอ่ื เจอครู ผู้ปกครอง จัดเก็บของใชข้ องเล่นเข้าท่ี
จุดท่คี วรพัฒนา
๑. เด็กควรได้รับการส่งเสริมด้านสุขนิสัยส่วนบุคคลในการใช้ของใช้ส่วนตัว การใช้ช้อนในการตักอาหาร
แทนการใชม้ ือหยบิ จบั การป้องกนั และตระหนักในเรือ่ งโรคตดิ ตอ่
๒. เด็กควรได้รับการส่งเสริมในเร่ืองระเบียบวินัย การอดทน รอคอย เข้าแถวในการทากิจกรรมต่าง ๆ
รว่ มกนั อย่างสมา่ เสมอ และตอ่ เนือ่ ง
๓. เด็กควรได้รับการพฒั นาทางด้านภาษาและการสอ่ื สารเพอ่ื ใช้ในการอยรู่ ว่ มกนั กับผ้อู ่ืนในสังคม
ขอ้ เสนอแนะ
๑. การพัฒนาและส่งเสริมด้านสขุ นิสยั ส่วนบุคคลในการใช้ของใชส้ ่วนตัว การใชช้ อ้ นในการตักอาหารแทน
การใช้มือหยิบจับ การป้องกันและตระหนักในเรือ่ งโรคติดตอ่ โดยครคู วรจัดกจิ กรรมทช่ี ใ้ี ห้เห็นถึงประโยชน์ของการ
ใช้ของใช้ส่วนตัว และผลเสียของการใชข้ องร่วมกันซ่ึงจะนามาในเร่ืองของโรคติดตอ่ ได้ และควรใหเ้ ด็กทกุ คนมีแก้ว
สาหรับด่ืมน้าของตนเองไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น การใช้ช้อนในการตักอาหารแทนการใช้มือหยิบ จับ ในถาดอาหาร
ทั้งของตนเองและผู้อื่น การจามการไอโดยมีหน้ากากอนามัยในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค การล้างมือ
หลงั จากเขา้ ห้องนา้ และทากิจกรรมต่าง ๆ ตอ้ งทาบ่อย ๆ ทาซ้า ๆ จนเป็นนิสัย
๒. การพัฒนาและส่งเสริมด้านระเบียบวินัย การอดทน รอคอย เข้าแถวในการทากิจกรรมต่าง ๆ ครูควร
จัดกิจกรรมกลุ่มให้เด็กไดฝ้ ึกภาวะผู้นาและผู้ตาม มีหัวหน้ากลุ่มที่ทากิจกรรมร่วมกันและผลัดกันเป็นผู้นา แบง่ งาน
กันอย่างชัดเจน เช่น กลุ่มสีแดงทาความสะอาดโต๊ะกินข้าว กลุ่มสีเขียวล้างถาดอาหาร กลุ่มสีเหลืองล้างห้องน้า
ห้องส้วม กลุ่มสีฟ้า จัดที่นอน และผลัดเปล่ียนกันทาในทุก ๆ สัปดาห์ มีการฝึกวนิ ัยในเร่ืองการอดทน รอคอย การ
เข้าแถวในกลุ่มเล็ก ๆ ก่อนเพ่ือต่อยอดให้เด็กได้นามาใช้ในกลุ่มใหญ่ ซึ่งเป็นการฝึกทักษะการใช้ชีวิตในสังคมและ
แบ่งเบาภาระของคุณครูได้ในระดับหนึ่งอีกทั้งยังส่งผลดีต่อเด็กในทุก ๆ ดา้ น ควรมีข้อตกลงในช้ันเรียนและเน้นย้า
ใหเ้ ดก็ ได้ปฏิบัตอิ ย่างจริงจงั และทาอยา่ งสมา่ เสมอต่อเนือ่ ง
๓. การพัฒนาและส่งเสริมดา้ นภาษาและการส่ือสาร ครูควรจัดกิจกรรมให้เด็กไดท้ ่องคาคล้องจองบ่อย ๆ
อย่างหลากหลาย ท่องเปน็ ประจา และให้เด็กได้ฟังนิทานเปน็ ประจา จะช่วยในเรื่องของการออกเสียง การพดู และ
การสื่อสารด้วยภาษาไทยได้อย่างชัดเจนมากยิ่งข้ึน และควรมีข้อตกลงในช้ันเรียนในเร่ืองของการใช้ภาษาในการ
สนทนาตอ้ งสนทนากันด้วยภาษาไทยเท่านน้ั เพ่ือฝึกการพดู และสร้างความเข้าใจระหว่างครูกบั เด็ก
กาหนดการดาเนนิ การปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี
๑๓
ด้านที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ผลการดาเนนิ งาน
สถานศึกษามีการกาหนดมาตรฐานและกาหนดเป้าหมายของมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรียน
สามัคคีศรีวิชัย มีระบบบริหารคุณภาพท่ีใช้หลักการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม กาหนด
วิสัยทัศน์ในการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยดังน้ี “ภายในปี พุทธศักราช ๒๕๖๓ โรงเรียนสามัคคีศรีวิชัยมุ่งพัฒนา
เด็กอายุ ๔ - ๖ ปี ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา เหมาะสมกับวัย เน้นให้เด็ก
เรียนรู้ผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้อย่างเหมาะสมกับวัยและ
บริบทของตน ผู้ปกครอง ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ
มีเจตคติท่ีดีต่อท้องถ่ิน สนใจใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างมีความสุข” สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการ
ของชุมชน ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด สามารถนาไป
ปฏิบัติได้ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาทางวิชาการ เอาใจใส่ต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย มีการบริหารจัดการระบบ PDCA
เพ่ือกาหนดทิศทางในการพัฒนา และขับเคลื่อนการศึกษาโดยพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพเด็กรอบด้านตาม
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โดยได้กาหนดปรัชญาในการจัดการศึกษาปฐมวัย ดังน้ี “โรงเรียนสามัคคีศรีวิชัย
จัดการพัฒนาเด็กอายุ ๔-๖ ปี บนพื้นฐานการอบรมเล้ียงดูส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ท่ีสนองต่อธรรมชาติและ
พฒั นาการของเด็กแต่ละคนใหเ้ ตม็ ศักยภาพ
สถานศึกษาได้พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีมุ่งเน้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง ๔ ด้าน อย่างสมดุลและเต็ม
ศักยภาพ โดยมุ่งเน้นให้เด็กมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีคุณธรรม มีวินัย มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีสุขภาพ
อนามัยท่ีดีสามารถเรียนรู้อย่างมีความสุข และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ สถานศึกษาจัดครูให้เพียงพอ
ตอ่ ช้ันเรยี น มีครทู ่ีจบการศกึ ษาปฐมวัยและมีครูพ่ีเลีย้ ง วิทยากรท้องถิ่นดา้ นภาษาถิ่นปกากะญอ มาดแู ลและฝึกฝน
การใช้ภาษาไทยกลางเพ่ือการส่ือสารและเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้ให้กับเด็กในระดับอนุบาล ๑ เน่ืองจาก
เป็นเด็กชาวเขาเผ่ากะเหรย่ี ง ๑๐๐% ไม่สามารถสือ่ สารภาษาด้วยภาษาไทยซึ่งเป็นอปุ สรรคสาคัญต่อการเรยี นรู้ได้
สถานศึกษาจึงเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับเด็กมากท่ีสุด
ส่งเสริมให้ผู้ปกครองให้ความร่วมมือกันปรับสภาพแวดล้อมที่บ้าน รวมท้ังจัดหาอุปกรณ์การเรียนเพ่ือให้ลูกได้
เรยี นร้ดู ว้ ยตนเองมากท่ีสุด
สถานศึกษากาหนดแผนพัฒนาคุณภาพท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน โดยแยกเป็นแผนปฏิบตั ิการด้านปฐมวยั
อย่างชัดเจน สถานศึกษาดาเนินโครงการในแผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ถึง ๒๕๖๑ มีรายงานผลการ
ปฏิบัติงาน สรุปรายงานโครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติการประจาปี มีการดาเนินการโครงการ เช่น โครงการ
พัฒนาการศึกษาปฐมวัย โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย โครงการศึกษาภูมิปัญญาท้องถ่ินและแหล่งเรียนรู้
ระดับปฐมวัย กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ โครงการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ระดับปฐมวยั โครงการ
พัฒนาบรรยากาศในชั้นเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ กิจกรรมการแข่งขันกีฬาสี มีกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ตามพระราชดารสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี การจัดกิจกรรมแบบโครงงาน สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการ
เรียนรู้ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ส่งเสริมให้
๑๔
บุคลากรได้วางแผนพัฒนาตนเองเป็นรายบุคคล (ID PLAN) ส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัด
ประสบการณ์ จัดสภาพแวดล้อม และสื่อเพ่ือการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ให้บริการสื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศ และส่ือการเรยี นรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ มีทักษะในการจัดประสบการณ์ และการประเมิน
พัฒนาการเด็ก มกี ารจดั ทาแผนการจัดประสบการณท์ ี่สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั มีการ
ประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการประเมิน
ตนเองประจาปี มีการนาผลการประเมินไปปรบั ปรงุ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมพร้อมท้ังงาน
ผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่าง ต่อเนื่อง มีการนิเทศติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน
โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ และสรุปผลการดาเนินงานโดยใชร้ ูปแบบการบริหารจัดการ PDCA มีการประเมินผล
ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ตดิ ตามผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี
และมีการตรวจสอบทบทวน ติดตามประเมินผล โดยคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ ระบบประกันคุณภาพ
ภายในโดยหน่วยงานต้นสังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต ๒ ข้อมูลการสังเกตและ
สัมภาษณ์ ซึ่งพบว่าสถานศึกษามีกระบวนการดาเนินการ การประเมินผลที่เป็นระบบชัดเจน สถานศึกษามีข้อมูล
จากหลายแหล่งยืนยันที่มีความสอดคล้องกัน และผลการดาเนินงานของ สถานศึกษามีความสอดคล้องกับผลใน
รายงานการประเมินตนเองที่มีข้อมูลยืนยันเช่ือถือได้ ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพเด็ก แต่การพัฒนายัง
ไมต่ ่อเนือ่ ง
สรปุ การประเมินด้านที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มรี ะดบั คุณภาพ ดี
จดุ เด่น
๑. สถานศึกษามีการบริหารที่ใช้หลักของการมีส่วนร่วม ผู้บริหารและครูมีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง
ชุมชน เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาและการดูแลเด็ก ทาให้ผู้ปกครองเกิดความม่ันใจ
เหน็ ความสาคญั ของการจดั การศึกษาและสง่ บุตรหลานเขา้ เรยี น
๒. สถานศึกษามีหลักสูตรปฐมวัยที่ใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญอย่าง
หลากหลาย ครอบคลุมการพัฒนาการท้ัง ๔ ดา้ น สอดคล้องกับวัย และพัฒนาการของเด็กตามหลักของ เฟรอเบล
เปน็ การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้
๓. สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก และนาแหล่งเรียนรู้ ภมู ิปญั ญามา
ใชเ้ พือ่ การพัฒนาเดก็ ไดเ้ หมาะสมกับบรบิ ท และพัฒนาการของเด็ก
จุดทค่ี วรพฒั นา
การกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จในการพัฒนาเด็ก พัฒนาครูที่ชัดเจนในระดับแผนงาน/โครงการ ท้ังเชิง
ปริมาณและคณุ ภาพ และดาเนนิ การส่งเสริมให้ครูไดร้ ับการอบรม การจัดประสบการณ์เพ่อื พัฒนาเด็กและเน้นเดก็
เปน็ สาคัญ
๑๕
ข้อเสนอแนะ
สถานศึกษาควรกาหนดค่าเป้าหมาย /ตัวช้ีวัดความสาเร็จ ระดับแผนงาน/โครงการในการพัฒนาเด็ก
พฒั นาครู และควรมีการออกแบบเคร่ืองมือท่ีมีมาตรฐานในการวัด ตรวจสอบตดิ ตามและประเมินผล ที่สอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์ในระดับแผนงาน/ โครงการ เพ่ือได้ข้อมูลท่ีสะท้อนผลการดาเนินงานท่ีชัดเจน สามารถนาไปใช้ใน
การวางแผนพัฒนาต่อไป ตลอดจนมีการส่งเสริมพัฒนาครูได้อบรมและพัฒนาตนเองเก่ียวกับการจัดประสบการณ์
เพ่ือพฒั นาเด็กและเน้นเดก็ เป็นสาคัญให้มีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขนึ้
กาหนดการดาเนนิ การปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี
๑๖
ด้านท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเปน็ สาคญั
ผลการดาเนนิ งาน
สถานศึกษามีแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑ มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ
เป้าหมายของสถานศึกษาไว้ชัดเจน มีการจัดทามีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและบริบทของสถานศึกษา มีการกาหนดมาตรฐาน
และเป้าหมายเชิงคณุ ภาพในการดาเนินงานพฒั นาตามประเด็นท่ีกาหนด โครงการพัฒนาบุคลากร โครงการพฒั นา
บรรยากาศในช้ันเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ โครงการพัฒนานวัตกรรมและผลิตส่ือการเรียนการสอน กิจกรรมสาน
สัมพันธ์ บ้าน วัด โรงเรียน ได้ครอบคลุมกระบวนการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญทุกประเด็นดังกล่าว
ข้างต้น มีการมอบหมายงานให้ครูระดับปฐมวัยทุกคนเป็นผู้รับผิดชอบในการดาเนินงานโครงการและกิจกรรม
ท่ีกาหนด มีการประเมินผลโครงการตามรูปแบบของสถานศึกษา และมีผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ที่ระบุว่าไดร้ ะดับดี มีการพัฒนากระบวนการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญในมาตรฐานท่ี ๓ มีประเด็นการ
พัฒนา ๔ ประเด็น คือ ๑. ครูจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กได้มีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
๒. ครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจากการเล่น และปฏิบตั ิอย่างเปน็ ระบบ ๓. ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อ
ต่อการเรียนรู้ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัยและ ๔. ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผล
การประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก พบว่า ครูมีการจัดการเรียนรู้ให้กับเด็ก
ตามแผนการจัดประสบการณ์ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาโดยจัดการเรียนรู้ในรูปแบบเฟรอเบลคือการ
พฒั นาเด็กผ่านกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรม
สร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา มีการจัดตารางเวลาในการจัดกิจกรร ม
อย่างชัดเจน มีการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนอย่างอบอุ่น มีมุมการจัดประสบการณ์อย่างหลากหลาย และให้เด็ก
ได้เข้าเล่นตามมุมท่ีสนใจ เช่น มุมวิทยาศาสตร์ มุมประสาทสัมผัส มุมสร้างสรรค์ มุมตุ๊กตา มุมเกมการศึกษา
มุมแต่งตัว มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมบล็อก มีการใช้ส่ือเทคโนโลยีเข้าช่วยในการจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กโดยการเปิด
ยูทูป สืบค้นเรื่องท่ีจะจัดประสบการณ์ให้กับเด็กก่อนจะนาเข้าสู่บทเรียน มีการตรวจใบงานและผลงานเด็ก มีการ
บันทึกหลังการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ จากผลการประเมินภายในสรุปได้ว่า
สถานศึกษามีประสิทธิผลการดาเนินงานด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ บรรลุเป้าหมายและ
วัตถุประสงค์ของสถานศึกษาที่ตั้งไว้ทุกประเด็น จากการสังเกต/การสัมภาษณ์และข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า ครูมี
แผนการจดั ประสบการณ์ และใชแ้ ผนการจดั ประสบการณ์กับเด็กในทุกช้ันเรียน จดั บรรยากาศในชน้ั เรียนท่ีเออ้ื ตอ่
การเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัยใช้ส่ือ สถานศึกษาโดยจัดให้มีการประเมินพัฒนาการเด็กตาม
มาตรฐาน ครบพัฒนาการท้ัง ๔ ด้านทุกภาคเรียน โดยใช้วิธีการประเมินผลโดยการ สังเกต การสัมภาษณ์การ
ทดสอบ การประเมินชิ้นงาน จัดทาแฟ้มสะสมงานเด็กรายบุคคล และนาผลการประเมินมาปรับปรุงในการจัด
กิจกรรมเพ่ือพัฒนาเด็กในด้านที่มีปัญหาให้พัฒนา มีการจัดทาวิจัยในช้ันเรียน เพื่อแก้ปัญหาในช้ันเรียน ได้จัดทา
โครงการพัฒนาบรรยากาศในช้นั เรียนใหเ้ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ โดยการจดั สภาพห้องเรียนใหน้ ่าอยู่ มมี ุมกิจกรรมในช้ัน
เรียนต่าง ๆ จัดการเรียนการสอน คอมพิวเตอร์ระดับปฐมวัย มีการประเมินพัฒนาการเด็กตามมาตรฐาน
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ทุกภาคเรียน ได้ใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์
๑๗
การทดสอบสมรรถนะ นาผลการประเมินมาปรับปรุงในการจัด กิจกรรมเพ่ือพัฒนาเด็กในด้านต่าง มีวิธีการ
ประเมินพัฒนาการเด็กทั้ง ๔ ด้านด้วยการสังเกตพฤติกรรม การแสดงออก การอยู่ร่วมกันในสังคม การสัมภาษณ์
และการทดสอบความรู้ตามเกณฑ์ที่เหมาะสมกับเด็ก โดยดาเนินการประเมินตามสภาพจริงท้ังในห้องเรียนและ
นอกห้องเรียน มีการประเมินโดยผู้ปกครอง เช่นพฤติกรรมของเด็กทางบ้านมีการรายงานผลการประเมิน และ
สรุปผลการประเมินทุกสิ้นปีการศึกษา ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง เด็ก มีส่วนร่วม ในการประเมินเด็ก ทาให้ผลการ
ประเมนิ มคี วามน่าเชอื่ ถือ
สรปุ การประเมนิ ด้านท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเปน็ สาคัญ มีระดับคุณภาพ ดี
จดุ เด่น
ครูมีการจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กตามแผนการจัดประสบการณ์ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถาน ศึกษาโดย
จัดการเรียนรู้ในรูปแบบเฟรอเบล คือ การพัฒนาเด็กผ่านกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม คือ กิจกรรมเคล่ือนไหวและ
จังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกม
การศกึ ษา มีการจดั ตารางเวลาในการจดั กจิ กรรมอย่างชัดเจน มีการจดั บรรยากาศในชั้นเรียนอย่างอบอนุ่ มีมมุ การ
จัดประสบการณ์อย่างหลากหลาย และให้เด็กได้เข้าเล่นตามมุมที่สนใจ เช่น มุมวิทยาศาสตร์ มุมประสาทสัมผัส
มุมสร้างสรรค์ มุมตุก๊ ตา มุมเกมการศึกษา มุมแต่งตัว มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมบล็อก มีการใชส้ ื่อเทคโนโลยีเข้าช่วย
ในการจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กโดยการเปิดยูทูป สืบค้นเร่ืองท่ีจะจัดประสบการณ์ให้กับเดก็ ก่อนจะนาเข้าสู่บทเรียน
มกี ารตรวจใบงาน และผลงานเดก็
จดุ ทีค่ วรพัฒนา
การประเมินผลไม่ชัดเจน เคร่ืองมือในการวัดและประเมินผลยังไม่ถูกต้องตามหลักการประเมิน และยังไม่
สอดคลอ้ งตามจดุ ประสงค์ท่ตี ั้งไว้ในแผนการจดั ประสบการณ์
ข้อเสนอแนะ
ครูทุกคนควรควรบันทึกหลังการสอนให้สอดคล้องตามจุดประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ในแผนการจัด
ประสบการณ์ และบันทึกโดยละเอียดวา่ มีเด็กกค่ี นท่ียังไมบ่ รรลุตามวัตถุประสงค์ ชื่ออะไรบ้าง ออกแบบการบันทึก
หลังการสอนให้ถูกต้องตามหลักการประเมิน การกาหนดค่าและแปลผลต้องมีความสอดคล้องกับเคร่ืองมือท่ีใช้
และต้องประเมินเด็กให้ครบทุกคน และครบทุกกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ในแต่ละวันเพ่ือนาปัญหาท่ีพบมาพัฒนา
แผนการจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมตามบริบท และเช่ือมโยงไปสู่การทาวิจัยในชั้นเรียนรวมถึงการประเมิน
พัฒนาการเด็กตามแบบ อบ.๒ จะต้องสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาซ่ึงเป็นตัวกาหนดสภาพที่พึงประสงค์ท่ี
เด็กจะต้องมีเพ่ือนามาสะท้อนผลพัฒนาการเด็กในทุก ๆ ด้านและนาผลที่ได้มาเชื่อมโยงสู่มาตรฐานการประกัน
คณุ ภาพภายในดา้ นเดก็ ตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั
กาหนดการดาเนินการปรับปรุงตามขอ้ เสนอแนะภายใน ๑ ปี
๑๘
๒.๒ ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
ด้านท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น
ผลการดาเนนิ งาน
สถานศึกษามีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานชาติ และ
มาตรฐานการศึกษาของตน้ สังกัด สภาพบริบท ปญั หา ความต้องการโดยเน้นการมีส่วนร่วม การจัดทาแผนพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีให้สอดคล้อง กับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีการ
กาหนดมาตรฐานการศึกษาที่เก่ียวเนื่องกับผู้เรียน คือ ด้านคุณภาพผู้เรียน มีการจัดการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียน
ลงมือปฏิบัติจริงและพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง แบ่งเป็น ๒ ด้าน คือ ๑. ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน
๒. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มีการจัดทาโครงการกิจกรรม เพื่อพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาได้
ดาเนนิ การพัฒนาการศึกษาโดยจัดกจิ กรรมตามโครงการโรงเรยี นประชารัฐ ส่งเสรมิ การจดั ทาหลกั สูตรทักษะอาชีพ
เนน้ ผู้เรยี นใหม้ ีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และมีใจรักต่องานอาชพี ทอผา้ ทาอิฐบล็อก เลย้ี งปลาดกุ เลยี้ งกบ เลย้ี งไก่ไข่
ปลูกผัก เพาะเห็ดนางฟ้า อีกท้ังกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ และกิจกรรมการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รวบรวมความรู้ เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่
โครงการ/กิจกรรม DLIT , DLTV และส่ือโครงการทรูปลูกปัญญา ทาให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการ
เรียนรู้ การส่ือสาร การทางานอย่างสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี และมีคุณธรรม โครงการโรงเรียนคุณธรรม
โรงเรียนวิถีพุทธ และพัฒนาคุณธรรมปลูกฝังค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ได้จัดโครงการ/กิจกรรมวัน
สาคัญ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรม แต่งกายด้วยชุดประจาเผ่า (กะเหร่ียง) ทุกวันศุกร์ และ
ประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปญั ญาไทย ส่งเสรมิ กิจกรรมประชาธปิ ไตยในโรงเรียน โครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรียน
และส่งเสริมการใช้และอนุรักษ์ภาษาถ่ินควบคู่กับภาษาไทย โครงการส่งเสริมผู้เรียนให้อ่านออกเขียนได้ โครงการ
พัฒนาทักษะผู้เรียนด้านความรู้ และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร โครงการทาสื่อนวัตกรรมเพ่ือการเรียนการสอน
นักเรียน โครงการการอ่านตามแนว PISA โครงการพัฒนาการอ่านรู้เรื่องและส่ือสารได้ โครงการพัฒนาการอ่าน
การเขียนคิดคานวณ โครงการเสริมสร้างทักษะการอ่านออกเขียนได้ กิจกรรมวันภาษาไทยและสุนทรภู่ กิจกรรม
ภาษาไทยวันละคา และโครงการการจัดหาสื่อการสอนแบบ BBL
สถานศึกษามีการติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงานตามแผนโดยกาหนดปฏิทินการดาเนินงานให้กับ
บุคลากรท่ีเก่ียวข้องได้ปฏิบัติ และมีการประชุมเพ่ือติดตามงาน เม่ือสิ้นสุดโครงการและกิจกรรมมีการรายงานผล
การดาเนินโครงการและกิจกรรมให้ผู้บริหารได้รับทราบ มีการประเมินผลโครงการตามรูปแบบของสถานศึกษา
และมีแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ตามคาส่ังโรงเรียนสามัคคีศรีวิชัย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการ
ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา
๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ โดยมีผทู้ รงคณุ วุฒิภายนอกร่วมเป็นกรรมการด้วย มีการใชเ้ ครือ่ งมือหลายอย่าง
เพอื่ รวบรวมข้อมูลจากแหลง่ ต่าง ๆ อยา่ งหลากหลาย สถานศึกษามีกระบวนการพฒั นาผู้เรียนดว้ ยวิธีทีห่ ลากหลาย
มีการจัดการเรียนการสอนเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ด้านผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ ผู้เรียนรู้จักการวางแผนสามารถทางานร่วมกับ
ผู้อ่ืนได้ดีตามหลักประชาธิปไตยกล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถ
๑๙
แก้ปัญหา และนาไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม สืบค้นข้อมูล หรือแสวงหาความรู้จากส่ือ
เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมท้ังสามารถวิเคราะห์ จาแนกแยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี สาคัญ จาเป็น ผลการทดสอบ
ระดบั ชาติของผู้เรียนมีพัฒนาการสูงกว่าระดับประเทศท้ังระดบั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ และเม่ือ
จบปีการศึกษา ผู้เรียนเรียนต่อในระดับชั้นท่ีสูงข้ึน และเลือกสาขาวิชาท่ีเหมาะกับตนเอง ได้รับรางวัลเหรียญทอง
การแข่งขันการสร้างการ์ตูนแอนิเมช่ัน (2D Animation) และรางวัลเหรียญทอง การแข่งขันประดิษฐ์ของใช้จาก
วสั ดธุ รรมชาติในท้องถนิ่ งานหัตถกรรมและทักษะวิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี ๖๖ ประจาปี ๒๕๖๐
ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะและค่านิยมที่พึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากาหนด กล่าวคือผู้เรียนมีความเอ้ือ
อาทรผู้อื่น และกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ยอมรับความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่าง มีความตระหนักรู้คุณค่า
ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทยของตนเอง มีทัศนคติท่ีดีต่ออาชีพสุจริต
รวมถึงมีความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบคุ คลและระหว่างวัย ผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของ
สิ่งเสพติดต่าง ๆ เลือกรับประทานอาหารท่ีสะอาด และมีประโยชน์ รักการออกกาลังกาย ผู้เรียนสามารถเล่นกีฬา
ได้ มีผลการดาเนนิ งานเชิงประจักษ์จากการประเมินในด้านต่าง ๆ ส่งผลให้คุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับคุณภาพ
ดี ทั้งนี้มีผลการประเมินจากเอกสารรายงานการสรุปของแต่ละโครงการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ แต่ยังไม่มีพัฒนาการ
ท่ชี ดั เจน และไมพ่ บนวตั กรรมที่เป็นแบบอย่างท่ีดไี ด้
สรุปการประเมินดา้ นที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน มรี ะดบั คณุ ภาพ ดี
จดุ เดน่
ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ มีทักษะในการทางาน รักการทางาน มีทักษะในการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง ด้วยโครงการโรงเรียนประชารัฐ สถานศึกษาจัดทา
หลักสูตรทักษะอาชีพ เร่ืองทอผ้า เลี้ยงปลา เล้ียงกบ เลี้ยงไก่ไข่ ปลูกผักปลอดสารพิษ เพาะเห็ดนางฟ้า และจัด
โครงการลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้สู่อาชีพ น้อมนาสู่เศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ผู้เรียนมีความ
ภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย ด้วยโครงการวันสาคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรม และ
ประเพณีไทย รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น แต่งกายด้วยชุดประจาเผ่า ทุกวันศุกร์ นักเรียนหญิงได้ฝึกทอผ้าด้วยก่ีเอว
ทอถุงย่าม และผ้าคลุมไหล่ และทาโครงงานหม่ีด่อง กล่องพอเพียง ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ การส่ือสาร และแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ได้เรียนรู้ผ่านสื่อ โครงการ/กิจกรรม DLIT, DLTV
และสอ่ื โครงการทรูปลูกปญั ญา
จดุ ท่คี วรพัฒนา
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา และผลการทดสอบระดับชาติ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ต่ากว่าระดับดี จาเป็นต้องพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิชาคณติ ศาสตร์ และภาษาองั กฤษ และพัฒนาทกั ษะการคดิ คานวณ
๒๐
ข้อเสนอแนะ
ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้มีผลคะแนนการทดสอบ ท้ังในระดับ
สถานศกึ ษาและระดบั ชาติสงู ข้ึนในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรตู้ ามหลกั สูตร โดยเฉพาะคณิตศาสตร์ และภาษาองั กฤษ
วางแผนกาหนดเป้าหมายท่ีต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนท้ังด้านความรู้ และทักษะ กระบวนการ นาข้อมูลนั้นมา
วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ตอบสนองต่อความสามารถของผู้เรียน ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียน
ดว้ ยการใช้เครื่องมือ วิธีการท่ีหลากหลายเหมาะสมให้ตรงจุดตรงตามประเด็น แล้วนาผลมาวเิ คราะห์เพือ่ ปรับปรงุ /
ซอ่ มเสรมิ /พฒั นาผู้เรียนต่อไป
กาหนดการดาเนินการปรบั ปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะภายใน ๑ ปี
๒๑
ดา้ นท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
ผลการดาเนนิ งาน
สถานศึกษากาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจ กาหนดไว้ชัดเจน ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๕๙-๒๕๖๑ และแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ถึง ๒๕๖๒ มีคาสั่งแต่งตง้ั โรงเรยี นสามัคคีศรวี ิชัย เร่อื งแต่งตง้ั คณะกรรมการรบั ผิดชอบมาตรฐานการศกึ ษาเพือ่ การ
ประกันคุณภาพภายใน ประกาศโรงเรียนสามัคคีศรีวิชัย เร่ืองการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานและปฐมวัยเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกาศโรงเรียนสามัคคีศรีวิชัย
เรื่องการกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและปฐมวัย เพ่ือ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๑ คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการประเมิน
คุณภาพการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑
มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง เครือข่ายศิษย์เก่า มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพของ
สถานศึกษา โดยการเข้าร่วมประชุม ปรึกษาหารือ ให้ความเห็นชอบต่อการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระดมทรัพยากรเพ่ือสนับสนุน การดาเนินการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาให้บรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์
ท่ีกาหนดไว้ โดยสถานศึกษาได้กาหนดวิสัยทัศน์ คือ “โรงเรียนสามัคคีศรีวิชัยจัดการศึกษาในเขตบริการได้อย่าง
ท่ัวถึงใช้แหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายนักเรียนมีความรู้ทักษะมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีเป็นคนดีมีคุณธรรมนา
เท คโน โลยีและแน วคิ ดป รัชญ าของเศรษ ฐกิจพ อเพี ยงม าใช้ใน ก ารดารงชีวิตแ ละส าม ารถอยู่ร่วมกั น ใน สังค ม
ประชาธิปไตยได้อย่างมีความสุข” มีปรัชญาการศึกษาคือ “ความพยายามอยู่ท่ีไหนความสาเร็จอยู่ท่ีน่ัน” คาขวัญ
ประจาโรงเรยี น “สามคั คี มวี ินัย ใฝ่ศึกษา กฬี าเด่น เน้นคุณธรรม”
สถานศึกษาดาเนินการพัฒนาคุณภาพตามแผนงาน/โครงการท่ีบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการปีการศึกษา
๒๕๖๑ และนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นหลักในการพฒั นา ผู้บริหารและครูปฏิบัติงานตามบทบาท
หน้าที่อย่างมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศกึ ษาเป็นสังคม
แห่งการเรียนรู้ พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาโดยใชก้ ระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) พฒั นา
คุณภาพการจัดการศึกษา มีการระดมความคิดเห็นจากผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
แผนงาน โครงการ กจิ กรรมท่สี อดคล้องกับนโยบายรัฐบาล นโยบายต้นสังกดั ชมุ ชนและท้องถิ่น จัดทาแผนพฒั นา
การศึกษาระยะ ๓ ปี แผนปฏิบัติการประจาปี และเพ่ือให้การดาเนินการพัฒนาสถานศึกษาเป็นตามวิสัยทัศน์
สถานศึกษาได้ดาเนินการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้
เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพบริบทของท้องถ่ิน สังคม ความต้องการ ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน
รวมถึงผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ หรือพิการเรียนร่วม จัดกิจกรรมที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศึกษาท่สี อดคลอ้ งกับหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน และกิจกรรมเสริมหลักสตู ร
สถานศึกษามีการกาหนดโครงสร้างงานออกเป็น ๔ ฝ่าย ครอบคลุมภาระงานทั้ง ๔ ด้าน และมอบหมาย
ใหบ้ คุ ลากรร่วมปฏบิ ัติ เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปตามแผนงานครอบคลมุ มาตรฐานการจดั การศึกษา โดยกาหนด
งานและหน้าที่ความรับผิดชอบตามฝ่ายงาน มีคาส่ังแต่งตั้งครูและบุคลากรร่วมปฏิบัติงาน และได้แจ้งให้ครู
บุคลากรและผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ทกุ คนรบั ทราบเพอื่ ปฏิบตั ิ มีการตดิ ตามการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการประจาปี
๒๒
จัดทารายงานผลการดาเนนิ งานทกุ ภาคเรยี น รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา มีการนาข้อมูลผลการดาเนินงานใน
ปีที่ผ่านมาทบทวนวัตถุประสงค์ เพ่ือปรับแผนปฏิบัติการประจาปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา บริบทของ
สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ สถานศึกษาได้จัดครูเข้าสอนวิชาที่ตรงตามวุฒิการศึกษา มอบหมายงานบุคลากรตาม
ความสามารถ รวบรวมข้อมูลสารสนเทศของครู บุคลากรเพื่อจัดทาแผนพัฒนา มีการพัฒนาครูที่ปฏิบัติหน้าท่ี
ประจาการ การพัฒนาเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ การพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ การพัฒนาครู
เพ่อื เตรยี มการปฏิบัตหิ น้าที่ทดแทนผเู้ กษยี ณอายรุ าชการใหค้ รู บคุ ลากรได้ทาแผนพัฒนาตนเอง มกี ารนเิ ทศโดยครู
ประจากลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) และเข้ารับการอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ในโครงการ
คูปองครู ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สถานศึกษาได้ส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหา เพื่อให้ผู้เรียนได้
พัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจท่ีเข้มแข็ง และมีทักษะการดารงชีวิต
โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน มีการใชร้ ะบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การ
เย่ียมบ้านนักเรียน ในการส่งต่อ สามารถนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อการคัดกรองผู้เรียนเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มมีปัญหา
หรือกลุ่มพิเศษ เพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และทันเวลา ภายใต้ระบบบริหารจัดการ
คุณภาพการศึกษาข้างต้น ส่งผลให้สถานศึกษามกี ารบริหารจดั การอยา่ งเป็นระบบ ครู บคุ ลากรมีวฒั นธรรมองคก์ ร
ในการทางานท่ีต้องมีความมุ่งมั่น เสียสละทุ่มเทในการทางาน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนที่ด้อยโอกาสอย่างเต็มศักยภาพ
สถานศึกษามีการดาเนินงานในการพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมายให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและวิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษา โดยการจัดให้มี
หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรท้องถิ่นท่ีหลากหลายตอบสนองต่อความต้องการท่ีผู้เรียนมีส่วนร่วมทุกรายวิชา
มโี อกาสในการลงมือปฏิบัติ มีผลงาน โครงงาน และโครงการที่แสดงใหเ้ ห็นการอธิบายวิธีคิด และสรปุ ความคิดของ
ผู้เรียน สถานศึกษาได้จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีการ
จัดทาแผนงานโครงการ /กิจกรรมในการพัฒนาอาคารสถานท่ี มีห้องเรียน ห้องปฏบิ ัตกิ าร ห้องศูนย์การเรียนรู้ทุก
กลุ่มสาระ ห้องพยาบาล ห้องน้า โรงอาหาร หอประชุม อาคารประกอบ สวนเกษตร ห้องสมุด สนามกีฬาอย่าง
เพียงพอ มีความสะอาด เป็นระเบียบ มั่นคงแข็งแรง มีความปลอดภัยและสามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นอกจากนยี้ ังมีมุมสวนพฤกษศาสตร์และมตี น้ ไมท้ ่ีให้ท้งั ความร้แู ละความรม่ ร่ืน สวยงาม สถานศึกษาไดพ้ ฒั นาแหล่ง
เรียนรู้ให้มีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเพียงพอตอ่ การใช้งาน ไดร้ ับการคัดเลือกเข้ารว่ มโครงการโรงเรียนส่งเสริม
และพัฒนาการศึกษาระบบทางไกลในถิ่นทุรกันดารโดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงตามพระราชดาริใน
สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาสยามบรมราชกุมารี สามารถสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็วและทันต่อ
เหตุการณ์ สามารถใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีเสียงและภาพคมชัด
ใช้ได้ดีมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยมีการกาหนดผู้รับผิดชอบจัดทาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ ในการรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การนาเสนอข้อมูลและ
สารสนเทศ และการจดั เก็บขอ้ มลู สารสนเทศ
สถานศกึ ษาจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน มกี าร
ประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการประเมิน
ตนเองประจาปี มีการนาผลการประเมินไปปรบั ปรงุ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วมพร้อมท้ังงาน
๒๓
ผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่าง ต่อเนื่อง มีการนิเทศติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน
โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ และสรุปผลการดาเนินงานโดยใชร้ ูปแบบการบริหารจัดการ PDCA มีการประเมินผล
ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษ ติดตามผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี
และมีการตรวจสอบทบทวน ติดตามประเมินผล โดยคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ ระบบประกันคุณภาพ
ภายในโดยหน่วยงานต้นสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต ๒ ข้อมูลการสังเกตและ
สัมภาษณ์ ซ่ึงพบว่าสถานศึกษามีกระบวนการดาเนินการ การประเมินผลท่ีเป็นระบบชัดเจน สถานศึกษามีข้อมูล
จากหลายแหล่งยืนยันท่ีมีความสอดคล้องกัน และผลการดาเนินงานของ สถานศึกษามีความสอดคล้องกับผลใน
รายงานการประเมินตนเองทีม่ ีข้อมูลยนื ยันเชอ่ื ถอื ได้
สรุปการประเมนิ ด้านท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มีระดับคุณภาพ ดี
จุดเดน่
๑. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่มีความสอดคล้องกับบริบท ความต้องการของชุมชน ผู้ปกครอง
และตอบสนองความถนัด ความสามารถของผู้เรียน มีกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และ
STEM ศึกษา มีการจัดทาหลักสูตรท้องถ่ิน เร่ืองการทอผ้าด้วยกี่เอว ผ้าคลุมไหล่ และจัดทาแผน IEP ในทุก
ระดับชัน้ เรยี น มกี จิ กรรมโครงงาน ทเ่ี นน้ การลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ มีการบริหารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ
๒. สถานศึกษามีการพัฒนาสู่กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาทางวิชาการ มีมนุษย
สัมพันธ์ท่ีดี เป็นผู้นาการเปล่ียนแปลง และสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดกับครูและผู้เรียนได้ดี มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับ
ผู้ปกครอง ชุมชน เครือข่าย องค์กรชุมชน ทาให้ได้รับการยอมรับ และการสนับสนุน มีเครือข่ายความร่วมมือจาก
ทุกภาคส่วน มีเครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาท่ีเข้มแข็ง สามารถนาองค์กรก้าวข้ามอุปสรรคของ
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
จุดทคี่ วรพัฒนา
๑. การกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จในระดับแผนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับระดับความสามารถ
ศักยภาพของผู้เรียน และสถานศึกษาและดาเนินการออกแบบเครื่องมือในการตรวจสอบติดตาม ประเมินผลที่
สะท้อนคุณภาพอยา่ งชัดเจน
๒. การออกแบบและสร้างกระบวนการทางานหรือนวัตกรรมที่ตอบสนองต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ของสถานศกึ ษา
ข้อเสนอแนะ
๑. สถานศึกษาควรดาเนินการ กาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จในการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาครู พัฒนางาน ทั้ง
เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในระดับแผนงาน/ โครงการ ท่ีเช่ือมโยงสู่แผนการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
ท่ีคลอบคลุมทุกมาตรฐาน มีการออกแบบเครื่องมือในการวดั ตรวจสอบติดตามและประเมินผล ที่สามารถสะท้อน
๒๔
ผลการประเมิน และสามารถนาข้อมูล ผลการประเมินตามแผนงาน/โครงการ ไปปรับปรุงเพื่อพัฒนางานให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพ และประสิทธผิ ลสูงสดุ
๒. สถานศึกษาควรออกแบบและสร้างกระบวนการทางานหรือนวตั กรรมท่ีตอบสนองตอ่ การพัฒนาระบบ
สารสนเทศ ฐานขอ้ มลู ฐานความรู้ เพ่ือพัฒนาระบบผู้เชย่ี วชาญและการจดั การความรู้ การเลอื ก การรวบรวม และ
บรู ณาการข้อมูลและสารสนเทศให้สอดคล้องไปในทางเดยี วกัน ที่จะนาไปตดิ ตามผลการดาเนินงาน เพื่อสนับสนุน
การตัดสินใจในระดับปฏิบัติการและระดับกลยุทธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ เพ่ือใช้ในการวางแผน
ทบทวนยุทธศาสตร์ รวบรวมข้อมูลจากทุกแหล่งไว้ในท่ีเดียวกัน สารองข้อมูล ดาเนินการประมวลผลแบบ Real
time เพื่อให้ข้อมูลมีความทันสมัยมากที่สุด โดยคานึงถึงเทคโนโลยี สารสนเทศ องค์ความรู้ และความคล่องตัวใน
การปฏบิ ตั งิ านของสถานศึกษา ออกแบบกระบวนการทางานให้ครอบคลุมประเด็นหลกั ท่ีสาคญั ได้แก่ การควบคุม
คุณภาพ การควบคมุ ความเสยี่ ง เพอ่ื สร้างนวตั กรรมอยา่ งมีประสทิ ธิผล
กาหนดการดาเนนิ การปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะภายใน ๑ ปี
๒๕
ดา้ นท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั
ผลการดาเนนิ งาน
ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้นให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง มีแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง ด้วยการ
ดาเนินงาน และกจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลกั สูตร มีการประชมุ ปฏิบตั ิการ วิเคราะหห์ ลักสูตรปรบั ปรุง
หลักสูตรสถานศึกษา ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กาหนดคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล โดยนาข้อมูล และผลจากการ
วิเคราะห์บุคคลด้วยความเสมอภาค มีการจัดบุคลากรปฏิบัติหน้าท่ีตรงตามคาแนะนา คาปรึกษาแก่ผู้เรียนเป็น
รายบุคคล จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และ STEM ศึกษา เรียนรู้ด้วยโครงงาน จัดทาป้ายนิเทศ
การศึกษา ใบงาน ชน้ิ งาน เปน็ ตนั ครูมกี ารมอบหมายการเรยี นการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภูมิปญั ญาต่างๆ
ท้ังภายในห้องเรียน และนอกห้องเรียน มีโครงการท่ีส่งเสริมให้ครูทุกกลุ่มสาระพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่าง
สม่าเสมอ เพ่ือนาความรู้ และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมตาม
มาตรฐานต้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ มีรูปแบบการจดั การเรยี นรู้เฉพาะ สาหรับ
ผู้ที่มีความจาเป็น และต้องการความช่วยเหลือพิเศษ ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุป
องค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้
ครูใชส้ ื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ โดย
สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากส่ือท่ีหลากหลายเช่นส่ือ ICT การบันทึกใช้ห้องปฏิบัติการ
การบันทึกส่ือ และนวัตกรรมท่ีใช้สอน รายงานโครงการจัดหาส่ือ เพ่ือการเรียนการสอน รายงานโครงการพัฒนา
เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารเพ่ือการศึกษา รายงานโครงการปรับปรุงห้องคอมพิวเตอร์ และรายงาน
โครงการแหล่งเรยี นรู้ ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ มกี ารดาเนนิ การโครงการพฒั นา ICT ภายในโรงเรยี น ในกจิ กรรมปรับปรุง
ระบบเทคโนโลยีภายในโรงเรียน รายงานดาเนินงานโครงการปีงบประมาณ ๒๕๖๑ โครงการพัฒนารูปแบบ DLTV
DLIT เพ่ือใช้ในการจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธเ์ ชิงบวก ให้เด็กรักครู ครูรัก
เดก็ และเด็กรักเด็ก เดก็ รักท่จี ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นร้รู ว่ มกนั อย่างมคี วามสุข
ครูทุกคนทางานวิจัยในช้ันเรียนปีการศึกษาละ ๑ เรื่อง ครูมีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการ
จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เคร่ืองมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายใน
การจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน การวิเคราะห์หลักสูตร
หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรอาชีพ แผนการจัดการเรียนรู้ และบันทึกแผนหลังสอนหลักฐานการวัด และ
ประเมินผลเคร่ืองมือ และประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลายตามศักยภาพ และคุณลักษณะของผู้เรียน โครงการ
นเิ ทศภายในสถานศึกษา แบบมีส่วนร่วม และมแี บบประเมนิ วดั ผลที่เปน็ ระบบ
ครู และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประสบการณ์รวมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่ือ
นาไปใช้ในการปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ มีการบันทึกกระบวนการ PLC ของคณะครูบันทึกการ
ประเมินตนเองรายบุคคล บันทึกการนิเทศห้องเรียนตามเกณฑ์การประเมินห้องเรียนคุณภาพ รายงานโครงการ
พัฒนา และปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา และรายงานโครงการพัฒนาทักษะนักเรียน ด้านความรู้ และทักษะ
๒๖
ที่จาเป็นตามหลักสูตร สถานศึกษายังมีกิจกรรมที่สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แหล่งเรียนรู้ และมีการแข่งขันทั้ง
ภายในและนอกสถานศึกษา ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนได้เข้ารับการแข่งขันทักษะวิชาการอยา่ งต่อเนอื่ งด้วยกิจกรรมผลงาน
ผู้เรียนท่ีหลากหลาย เช่น ในปี ๒๕๖๒ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมในงานศิลปหัตถกรรมภาคเหนือ ที่จังหวัดสุโขทัย
จานวน ๙ รายการ
สถานศึกษาดาเนินงานตามมาตรฐานดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ท่ีเป็น
ระบบ ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด กระบวนการและผลการประเมินคุณภาพมีความเชื่อถือได้ ส่งผลต่อการ
ยกระดับคุณภาพผู้เรยี น
สรปุ การประเมินดา้ นที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั มีระดบั คุณภาพ ดี
จุดเดน่
๑. สถานศึกษามีกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และ STEM ศึกษา มีการจัดทา
หลักสูตรท้องถ่ิน เรื่องการทอผ้าด้วยก่ีเอว ผ้าคลุมไหล่ และจัดทาแผน IEP ในทุกระดับช้ันเรียน มีกิจกรรม
โครงงาน ท่ีเน้นการลงมือปฏิบัติจริง เช่นโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่องกระปุกออม รูปทรงเรขาคณิต ส่งผลให้ได้รับ
ผลงานระดับเหรียญทองแดง ในงานประกวดโครงงานประเภท ๒ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ๓ กิจกรรมการ
เล้ียงไก่ไข่ การทาไม้กวาดดอกหญ้า การทาน้าหมักชวี ภาพ การประดิษฐ์น้าพริกผักสดเคร่ืองเคียงอาหารคาวหวาน
เพื่อสุขภาพ การเล้ียงปลา การเล้ยี งกบ การเลยี้ งหมู การเพาะเหด็
๒. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยใช้ใบงาน ช้ินงาน และแก้ปัญหา โดยใช้โจทย์ให้เด็ก
ผู้เรียนได้ศึกษา และค้นคว้าก่อนทางาน ครูใช้คาถามเพ่ือให้ผู้เรียนต่อเป็นคาถามปลายเปิด บรรยากาศในชั้นเรียน
ครู และผเู้ รยี นมปี ฏสิ ัมพันธ์ทดี่ ี พดู เพราะ มีหางเสยี ง
๓. ครูใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาใช้ในการจัดการเรียนรู้
โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรยี นไดแ้ สวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากสื่อทห่ี ลากหลาย เชน่ สื่อ ICT มีการใช้ส่ือการเรียนการ
สอน ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน และเอ้ือต่อการเรียนรู้ มีการใช้สื่อเทคโนโลยี ตามโครงการ True ปลูกปัญญา ในการ
จดั การเรยี นการสอน
จุดทีค่ วรพัฒนา
๑. การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล การนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปพัฒนาผู้เรียนตรงตามเป้าหมาย
และตามศักยภาพผเู้ รยี น
๒. การนาผลการบันทกึ หลงั สอน ไปแลกเปลย่ี นเรียนรู้ตามกระบวนการ PLC
ข้อเสนอแนะ
๑. ครูทุกคนควรจัดกิจกรรมให้ตรงกับเป้าหมาย และคุณลักษณะของผู้เรียน จากการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น
รายบุคคล การนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปพัฒนาผู้เรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย
๒๗
ส่งเสริมให้ผู้เรียน ใช้เวทีแสดงความคิด กล้าแสดงออก และแสดงผลงาน อ่านช้ินงานของตนเอง เรียนรู้จาก
สถานการณ์จาลอง และมีการฝึกปฏิบัติจริง เช่ือมโยงกับเนื้อหาสาระในรายวิชา อย่างสม่าเสมอ และทุกชั้นเรียน
โดยบูรณาการเนอื้ หาสาระของหน่วยการเรยี นรู้ ครูทุกคนควรบันทกึ หลังสอนให้ตรงกบั คุณลักษณะของผเู้ รียน เน้น
เป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มย่อย เพ่ือง่ายต่อการจัดกิจกรรมเสริมผู้เรียน ควรนามาวดั และประเมินผลการพัฒนา
ผเู้ รียน เพอื่ ปรบั ปรุงแกไ้ ขในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป
๒. ครูทุกคนควรนาผลการบันทึกหลังสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน และปัญหาที่บันทึกไว้ในสมุด (Lock
Book) ไปแลกเปล่ียนเรียนรูต้ ามกระบวนการ PLC อย่างเปน็ ระบบ ตอ่ เน่ือง โดยคานึงถึงการแก้ปัญหาด้วยวิธีการ
สอน การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกบั ผู้เรียน และการใชส้ ่อื เพอื่ สูก่ ารพัฒนาศกั ยภาพดา้ นการวจิ ัยในชนั้ เรียน พัฒนา
ในเรื่องหลักสูตรบูรณาการท้องถนิ่ ให้เห็นเดน่ ชัด ในทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับ
ท้องถิ่น รักในท้องถิ่น สามารถนาไปปฏิบตั ิในชีวิตประจาวันได้ นอกจากน้ีควรพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
รู้จักประยุกต์ใช้ส่ือเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ๆ ให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อการแสวงหาความรู้ และ
ยกระดบั ผลสมั ฤทธข์ิ องผู้เรยี น
กาหนดการดาเนินการปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะภายใน ๑ ปี
๒๘
การประเมนิ ความโดดเดน่
ความโดดเดน่ ผลการประเมนิ ความโดดเด่น
ไมม่ ีการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ
เปน็ ตน้ แบบ มคี วามโดดเดน่ ได้รับการยอมรับระดบั นานาชาติ (C3)
เป็นต้นแบบ มคี วามโดดเดน่ ได้รับการยอมรบั ระดบั ชาติ (C2)
เปน็ ตน้ แบบหรือมีความโดดเดน่ ระดบั ท้องถ่นิ /ภูมภิ าค (C1)
ยังไมเ่ ป็นไปตามเกณฑก์ ารพจิ ารณาการประเมินความโดดเด่น
๒๙
คารบั รองของคณะผู้ประเมนิ
รายงานน้ีได้ตรวจสอบพิจารณาความถูกต้องของรายงานในประเดน็ ตอ่ ไปนเ้ี รยี บรอ้ ยแล้ว
ตรวจสอบคาผิด การใชภ้ าษา
ตรวจสอบรูปแบบให้เปน็ ไปตามท่ี สมศ. กาหนด
ตรวจสอบความถูกต้องของผลการประเมิน ตลอดจนความสอดคล้องต้ังแต่เนื้อหา จุดเด่น จุดที่ควร
พฒั นา ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนาสนู่ วตั กรรม และการประเมินความโดดเด่น
รายช่อื ตาแหนง่ ลงช่ือ
๑. นางรตมิ า ปฤษฎางคเดชา ประธาน
๒. นางอบุ ลนภา เก่งการกจิ กรรมการ
๓. นางสาวชนวิษา พรมคา กรรมการ
๔. นางวไิ ล จรรยส์ ืบศรี กรรมการและเลขานกุ าร
วันท่ี ๑ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓
๓๐