The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

JINDAรายงานการอบรมหลักสูตรวิทยาการคำนวณ สสวท

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jinda Mahachai, 2020-05-14 20:01:34

JINDAรายงานการอบรมหลักสูตรวิทยาการคำนวณ สสวท

JINDAรายงานการอบรมหลักสูตรวิทยาการคำนวณ สสวท

บันทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรยี นศรพี ฤฒา

ที่ พิเศษ/2563 วันท่ี 14 พฤษภาคม 2563

เรอ่ื ง รายงานการอบรม หลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หลกั สตู รอบรมออนไลน์การจัดการเรียนรู้วทิ ยาการคานวณสาหรบั ครู

มัธยมศึกษาปที ่ี 1-3 Coding Online for Grade 7-9 Teacher (C4T-8)

เรียน ผู้อานวยการโรงเรยี นศรีพฤฒา
ส่งิ ทีส่ ง่ มาดว้ ย แบบรายงานผลการอบรมหลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูฯ จานวน 1 ฉบับ

ตามท่ี ก.ค.ศ. ได้กาหนดมาตรฐานตาแหน่งครูและมาตรฐานวิทยฐานะ (ว21/2560 ลว 5 กค 2560) เพ่ือ
เปน็ ขอ้ กาหนดในการรักษา พัฒนา ประเมิน ขอมีและเลื่อนตาแหนง่ และวทิ ยฐานะ พรอ้ มกาหนดรายละเอยี ดตวั ชว้ี ัด
ในการพัฒนาและประเมินตามหนังสือส่ังการที่ ศธ 0206.3/0635 ลงวันท่ี 10 ตุลาคม 2560 ในด้านที่ 3 ด้านการ
พัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ตัวชว้ี ัดที่ 12 การพัฒนาตนเอง กาหนดให้มีการพัฒนาตนเองตามหลักสูตรท่ีอนุมัติ
โดยสถาบนั ครุ ุพฒั นา จานวนการพฒั นาไม่นอ้ ยกว่า 12 ชวั่ โมงตอ่ ปี

จากความสาคัญดังกลา่ ว ผรู้ ายงานได้อบรมหลกั สูตร การจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคานวณสาหรบั ครู
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 Coding Online for Grade 7-9 Teacher (C4T – 8) จดั โดยสานกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน และสถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และรับรองชวั่ โมงการอบรมโดย
สถาบนั ครุ พุ ฒั นา รวมระยะเวลาการอบรม 20 ชว่ั โมง โดยการพฒั นาอย่างต่อเนอื่ งผา่ นช่องทางออนไลน์

บดั นี้ การอบรมตามโครงการดงั กลา่ ว ได้เสร็จส้นิ เป็นทีเ่ รียบรอ้ ยแล้ว ข้าพเจา้ จึงขอนาสง่ รายงานการอบรม
มาพรอ้ มกบั หนังสือฉบับนี้

จงึ เรียนมาเพ่อื โปรดทราบและพิจารณา

ลงชอ่ื ................................................ผ้รู ายงาน
( นางสาวจินดา มหาชัย )
ตาแหนง่ ครู

ความเห็นผอู้ านวยการโรงเรยี น
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชอ่ื
( นายภิญโญ ภศู รี )

ผ้อู านวยการโรงเรยี นศรีพฤฒา

แบบรายงานผลการอบรม หลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
สายงานการสอน สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
ปีการศกึ ษา 2562

*******************************************************************************************

1. หลกั สตู ร

ชอื่ หลักสตู รภาษาไทย : หลกั สูตรอบรมออนไลน์การจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาการคานวณสาหรับครูมธั ยมศกึ ษา

ปที ี่ 1-3 Coding Online for Grade 7-9 Teacher (C4T-8)

รหัสหลกั สตู ร :

เรียนรู้รวมเป็นเวลาจานวน 20 ชว่ั โมง เรียนรจู้ าก https://teacherpd.ipst.ac.th

2. วันท่ีอบรม 3 – 13 พฤษภาคม 2563

3. ผเู้ ข้าอบรม นางสาวจนิ ดา มหาชัย ตาแหนง่ ครู

4. หนว่ ยงานทจ่ี ัด สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.)

5. วทิ ยากร

1. คุณหญิงกลั ยา โสภณพนิช รฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

2. ดร.โชติมา หนูพริก ผอ.กลุม่ พฒั นาความสามารถพเิ ศษ สานักวิชาการฯ

3. อาจารย์ทศั นีย์ กรองทอง ผู้ชานาญ สาขาเทคโนโลยี สสวท.

4. ดร.สชุ ริ า มอี าษา ครู โรงเรยี นนครนายกวทิ ยาคม

5. ดร.พชั รพล ธรรมแสง ครู โรงเรยี นบุญเหลอื วทิ ยานุสรณ์

6. ครกู ญั ญาวรี ์ วุฒิศิริพรรณ ครู โรงเรยี นมัธยมวดั หนองจอก

7. ครมู ณฑารพ สิงหโ์ ตเกษม ครู โรงเรยี นศรัทธาสมุทร

6. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ เพ่ิมพนู ความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาการคานวณ “Coding &
Computing Science” ให้ครผู สู้ อนมีความพรอ้ ม และจดั การเรยี นรู้ วชิ าวิทยาการคานวณได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
2. เพอ่ื ให้ครูผูส้ อนในสงั กัดพัฒนาผ้เู รยี นให้มที กั ษะกระบวนการคดิ เชงิ คานวณ (Computational Thinking) เกดิ
กระบวนการคดิ เชิงวิเคราะห์ คิดอยา่ งเป็นระบบด้วยเหตผุ ลอย่างเปน็ ขั้นตอน
3. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาการคานวณ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3

  รายงานโดย นางสาวจินดา มหาชัย ตาแหน่ง ครู
โรงเรยี นศรีพฤฒา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 2

7. ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ หรอื อืน่ ๆ ที่ไดร้ บั ในการอบรมนามาเพื่อพัฒนางานของหน่วยงาน
ดังนี้

การจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคานวณสาหรับครู (Coding for Teacher: C4T) แบบออนไลน์ ระดบั
มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-3 (20 ชว่ั โมง) การจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาการคานวณระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐานพุธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย 8 สว่ น ได้แก่

7.1 ดา้ นความรู้(Knowledge)
1) แนะนาหลักสูตรวิทยาการคานวณ
- การขบั เคล่ือนการจัดการเรียนรโู้ ค้ดดิ้งในโรงเรียน
- การจดั การเรียนรูว้ ิทยาการคานวณสาหรบั คร(ู C4T)
- ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้วทิ ยาการคานวณมัธยมศึกษาตอนตน้
2) การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
- จุดประสงคแ์ ละแนวคิด
- การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการทาความสะอาดข้อมูล
- การสรา้ งแบบสอบถามออนไลน์
- การสร้างทางเลือก
- การประมวลผลขอ้ มูลเพ่ือสรา้ งทางเลือกในการตัดสินใจ
3) การรดู้ ิจิทัล
- จุดประสงค์และแนวคดิ
- การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภยั
- Be Internet Awesome
4) แนวคิดเชงิ คานวณ
- จุดประสงคแ์ ละแนวคดิ
- แนวคดิ เชิงคานวณ

7.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(Process)
1) การแกป้ ัญหา
- จุดประสงค์และแนวคดิ
- Unplugged Coding
- การแกป้ ญั หา
- การถา่ ยทอดความคิด
2) การแก้ปญั หาด้วย Scratch
- จุดประสงคแ์ ละแนวคดิ
- ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับ Scratch
- การทางานแบบสร้างทางเลือก
- ฟังกช์ ัน

  รายงานโดย นางสาวจนิ ดา มหาชัย ตาแหนง่ ครู
โรงเรียนศรีพฤฒา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 2

3) การแก้ปัญหาดว้ ย Python
- จุดประสงค์และแนวคิด
- ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกีย่ วกับ Python
- โปรแกรมแสดงผลขอ้ มลู
- โปรแกรมคานวณพ้ืนฐาน
- โปรแกรมวาดรปู ดว้ ยเตา่ ไพทอน
- ทางเลือกของฉัน

4) การออกแบบและเทคโนโลยี
- จุดประสงคแ์ ละแนวคดิ
- ธรรมชาติของเทคโนโลยี
- การออกแบบเชิงวศิ วกรรม

8. การเผยแพร่ความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ และอืน่ ๆ แก่ผทู้ ี่เก่ยี วข้อง คอื
8.1 นาความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ไปใช้ในการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด เพื่อ

ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการคานวณสาหรับช่วงช้ัน ม.1-ม.3 ได้เหมาะสมตามศักยภาพ
ของผ้เู รยี น

8.2 ถ่ายทอดความรู้ในเน้ือหารายวิชาวิทยาการคานวณเพ่ือให้พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะท่ีสาคัญในการ
ดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะพ้ืนฐานความคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) , ทักษะพ้ืน
ฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) , ทักษะการเรียนรู้และทักษะด้านนวัตกรรม (Learning
and Innovation –The 4 C’s) , ทักษะการทามาหาเล้ียงชีพและการดาเนินชีวิต (Career and Life) และทักษะ
พน้ื ฐานการร้เู ทา่ ทนั สื่อและข่าวสาร (Media and information Literacy)

8.3 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้แก่ ความสามารถด้านการ
สื่อสาร ความสามารถด้านการคิด ความสามารถด้านการแก้ปัญหา ความสามารถด้านการใช้ทักษะชีวิต และ
ความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยี

8.4 จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสามารถพัฒนาโครงงานการ
แก้ปัญหา โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีและนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันหรือสามารถพัฒนาต่อยอดเป็น
นวัตกรรมต้นแบบ ที่มีมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกจิ ท้ัง ในเรอื่ งกระบวนการผลติ รปู แบบผลิตภัณฑ์ และบรกิ ารใหมๆ่

8.5 นาความรู้เร่ืองการจัดการเรียนรู้แบบ Coding มาออกแบบการจัดการเรียนรู้ในช้ันเรียน เพ่ือส่งเสริม
ศักยภาพของผู้เรียนด้านวิทยาการคานวณ รวมทั้งบูรณาการกับองค์ความรู้ด้าน ๆ เพ่ือส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน
ในการสรา้ งนวัตกรรม

8.6 นาความร้เู รือ่ งการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาบริหารจดั การเรยี นร้ใู นชั้นเรยี น และ
จัดระบบข้อมูลสารสนเทศของสถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพและเปน็ ปัจจุบนั

8.7 นาความรเู้ รอ่ื งการรดู้ จิ ทิ ัล มาส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนรู้จักการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างปลอดภัย และ รู้จักการคิด
วิเคราะห์ และแยกแยะข้อมูลตา่ งๆ รวมท้ังรจู้ ักการตดั สนิ ใจอย่างรอบคอบในโลกออนไลน์ (Be Internet
Awesome)

  รายงานโดย นางสาวจนิ ดา มหาชัย ตาแหนง่ ครู
โรงเรยี นศรีพฤฒา สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 2

8.8 นาความรู้เรือ่ งการออกแบบและเทคโนโลยีและการแก้ปัญหาด้วย Unplugged Coding, Scratch,
Python มาออกแบบการจัดการเรยี นร้ทู งั้ ในและนอกชั้นเรียน เพอ่ื สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนมีทกั ษะการแก้ปัญหาและมีการ
ลงมือปฏบิ ัติดว้ ยตนเอง ตามรูปแบบ Active Learning และ STEM

8.9 เผยแพรแ่ ละบรู ณาการความร้รู ว่ มกับคณะครูโรงเรียนบา้ นคูบ ผ่านกระบวนการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และ
กิจกรรม PLC เพ่ือพฒั นาคุณภาพการจดั การเรยี นรแู้ ละพัฒนาศักยภาพผเู้ รียนให้มีทักษะของผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21

9. ปญั หา / อุปสรรค ในการเขา้ รว่ มประชมุ / อบรม /สมั มนา
ไมป่ รากฏปญั หาและอปุ สรรคขณะปฏบิ ัติหน้าท่ี

11. ข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะทไี่ ดร้ บั จากการประชุม
11.1 ควรสง่ เสรมิ ให้ครผู ้สู อนเขา้ รับการอบรมทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เนอ่ื งจากสามารถนาความรูไ้ ปใช้

บรหิ ารจัดการชนั้ เรยี นได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
11.2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานควรส่งเสริมให้มีการจัดอบรมและจัดอปุ กรณ์ในการ

จัดการเรยี นรู้ Coding ในสถานศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ งและทว่ั ถึง เนือ่ งจากเป็นกระบวนการที่เน้นการลงมอื ปฏิบตั ิจริง

12. เอกสารประกอบการอบรม (ภาคผนวก)
12.1 รายละเอยี ดเนื้อหาหลกั สตู ร
12.2 การรบั รองหลักสตู ร ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด
12.3 วฒุ บิ ตั รผา่ นการอบรม

  รายงานโดย นางสาวจินดา มหาชยั ตาแหนง่ ครู
โรงเรยี นศรีพฤฒา สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 2

ภาคผนวก ก

รายละเอยี ดเนื้อหาหลกั สตู ร

รายละเอยี ดเนื้อหาหลักสตู ร

ภาคผนวก ข

การรบั รองหลกั สตู ร
ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารที่ ก.ค.ศ. กาหนด

รอประกาศรบั รองหลักสตู ร

ภาคผนวก ค

- ผลการอบรม
- สาเนาหนังสือรับรองการผา่ นการอบรมหลักสตู ร

ผลการ

รอบรม

สาเนาหนงั สือรบั รองการ

รผา่ นการอบรมหลักสตู ร


Click to View FlipBook Version