PLC มนี วัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ ส่วู ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 0
PLC มีนวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ สู่วิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 1
คานา
เอกสาร แนวคิดและแนวปฏิบัติ PLC : Professional Learning Community กับ
การพัฒนาครูเพื่อศิษย์ ยุค Thailand 4.0 ฉบับน้ี ผู้เรียบเรียง ดร.นัตยา หล้าทูนธีรกุล
ศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแก่น ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มงาน
นเิ ทศการศึกษา รับผิดชอบงานท่ีเกี่ยวข้องกับการขับเคล่ือนนโยบาย : การพัฒนาครูทั้งระบบ
นโยบาย : การอาชีวศึกษา โดยเฉพาะงานเพิ่มสัดส่วนผู้เรียน อาชีวศึกษา : สามัญศึกษา
ได้ศกึ ษา วเิ คราะห์ หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง
ครมู วี ทิ ยฐานะและเลือ่ นวทิ ยฐานะตามหนงั สอื สานกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 21 ลงวันที่ 5
กรกฎาคม 2560 เชื่อมโยงกับศาสตร์และศิลป์ความเป็นครู (Pedagogical Content
Knowledge : PCK) หลากหลายด้านหลอมรวมเป็นสาระสาคัญที่ครูควรรู้และนาไปปฏิบัติได้
เพือ่ ใหค้ รูได้ใช้ศึกษาความรเู้ พิม่ เติม สาหรับการนานโยบายสกู่ ารปฏิบัตใิ ห้เกิดคุณภาพสูงสุด
การขับเคลือ่ นจุดเน้นการปฏริ ูปการศึกษา 6 ยุทธศาสตร์ ของกระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ และยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการผลิต
พัฒนากาลังคนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ ซ่ึง
ผู้เรียบเรียงได้จัดทาเอกสารน้ีขึ้น เพื่อใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ครูในนโยบายการจัด
การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง การจัดการเรียนรู้บูรณาการ แนว Active Learning
กับ แนว STEM Education และการจัดการเรยี นรู้ภายใตก้ รอบแนวคิด Thailand 4.0 โดยนา
กระบวนการของ PLC : Professional Learning Community สู่สถานศึกษา ผ่านภาระงาน
ของ ครู ผู้ส อนใน กา รอ อก แบ บห น่ว ยก าร เรี ยนรู้ แล ะก าร จัดกา รเ รีย นรู้ สู่คุ ณภ าพ ผู้เ รีย น
ยุค Thailand 4.0
ผ้เู รียบเรียง หวังเป็นอย่างย่ิงวา่ เอกสาร ชุดนี้ จะช่วยส่งเสริมให้ครูผู้สอน สามารถ
ประยุกต์ใช้ความรู้สู่การพัฒนางานในวิชาชีพครู ในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ได้อย่างมี
คณุ ภาพ พร้อมเชื่อมโยงผลงานอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าท่ีสู่วิทยฐานะแนวใหม่(ว21/2560)
ไดอ้ ยา่ งสอดคลอ้ ง สมดุล อันจะสง่ ผลตอ่ การพฒั นาคุณภาพการศึกษาในภาพรวมตอ่ ไป
ดร.นตั ยา หล้าทูนธีรกลุ
ศึกษานิเทศก์ สังกดั สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดขอนแก่น
ผเู้ รยี บเรียง
PLC มีนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ ส่วู ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 2
สารบญั
เนอ้ื หา หน้า
คานา 1
สารบัญ 2
ตอนที่ 1 โมเดล Thailand 4.0 3
ตอนท่ี 2 PLC : Professional Learning Community 5
ตอนท่ี 3 ขัน้ ตอนการดาเนินการ PLC ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา 9
ขน้ั ตอนที่ 1 รวมกลุ่ม PLC และขอจดั ตั้งกลุม่ 10
ขั้นตอนที่ 2 วเิ คราะห/์ ส่งิ ทต่ี ้องการพัฒนา 12
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบและจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ 16
ขั้นตอนที่ 4 จดั การเรียนรใู้ นหอ้ งเรียนจริง 20
ขั้นตอนท่ี 5 ประเมินผล สะทอ้ นการจัดการเรยี นรู้ 26
ข้ันตอนที่ 6 สรปุ ผลการจดั การเรียนรู้/กิจกรรม/นวตั กรรม/เผยแพร่ 26
27
ตอนท่ี 4 การบันทกึ กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ(PLC) 30
เอกสารอ้างอิง 31
ประวตั ิผเู้ ขียน/วทิ ยากร
PLC มีนวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ สูว่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 3
ตอนท่ี 1
โมเดล Thailand 4.0
โมเดล Thailand 4.0 คือ รูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจ ภายใต้การบริหารประเทศ
ของรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ (คสช.) บนวิสัยทัศน์ภายใน 5-6 ปี ท่ีระบุว่า “มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน” ให้เป็นประเทศ
ที่มีเศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) มีรายได้สูงจากเศรษฐกิจที่ขับเคล่ือน
ดว้ ยนวัตกรรม (Value Based Economy)
Value Based Economy คือ การขับเคล่ือนเศรษฐกิจแนวใหม่ท่ีเปลี่ยนจาก
การผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” เปล่ียนจากการขับเคล่ือนประเทศ
ด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และ
นวตั กรรม และเปลยี่ นจากการเน้นภาคการผลิตสนิ ค้า ไปสู่การเน้นภาคบรกิ ารมากขนึ้
Thailand 4.0 พฒั นาเร่อื งสาคัญ 5 กลมุ่ ดังนี้
1. กลมุ่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยชี ีวภาพ
2. กล่มุ สาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยที างการแพทย์
3. กลุม่ เคร่ืองมือ อปุ กรณอ์ ัจฉริยะ หนุ่ ยนต์ และระบบเครื่องกล
ท่ใี ช้ระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ควบคุม
4. กลมุ่ ดิจติ อล เทคโนโลยอี ินเตอรเ์ น็ตทเ่ี ช่ือมตอ่ และบงั คบั อปุ กรณต์ า่ งๆ
ปัญญาประดษิ ฐแ์ ละเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว
PLC มนี วัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ สวู่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 4
5. กลมุ่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการท่มี ีมลู ค่าสงู
กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดกรอบแนวคดิ เพ่อื เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั กิ ารปฏิรูป
การศึกษาไทยสู่ผลลพั ธ์ Thailand 4.0 ทีค่ รอบคลมุ ภารกจิ การจดั การศกึ ษาใน 4 องคก์ รหลกั
ท่มี ีกรอบบทบาท หนา้ ที่ เก่ียวขอ้ งกับการจดั การเรียนรู้สู่คุณภาพผเู้ รยี นให้เป็นพลเมืองไทย
ในยคุ Thailand 4.0 ดังภาพ
องค์กรหลักที่มีความสาคญั กับการจัดการศกึ ษา ดงั กล่าวมานี้ ประกอบด้วย สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน(สพฐ.) สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัย(กศน.) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา(สอศ.) และสานักงาน
คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา(สกอ.) โดยรัฐบาลให้ทุกองคก์ รจัดการศึกษาให้ได้ผลผลิตที่ดีตาม
ระดับหลกั สูตร และเกิดผลลัพธใ์ นเป้าหมายการขบั เคลอื่ นประเทศ โมเดล Thailand 4.0
PLC มนี วัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ สวู่ ิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 5
ตอนท่ี 2
PLC : Professional Learning Community
Professional Learning Community (PLC) ตรงกับข้อความในภาษาไทย ว่า
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีความหมายตรงกับเหตุการณ์ว่า “เกิดการรวมตัว รวมใจ รวม
พลงั ร่วมมือกัน ในการช่วยเหลือ แนะนา ให้กาลังใจกัน ของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา
ในโรงเรียน เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เกิดผลดีมีคุณภาพในยุคศตวรรษที่ 21 :
Teachers, administrators, teacher educators, and communities seeking advice
and motivation for restructuring schools for the 21st century would be well
advised to consult this work." (Sergiovanni,1994)
ความหมาย Professional Learning Community (PLC) ในองค์กรระดับโรงเรียน
ที่นาเสนอมานั้น เมื่อพิจารณารูปแบบ (Model) ของ Hiatt-Michael, D. (Ed.). (2001)
เราจะเห็นภาพของกระบวนการ PLC ไดล้ กึ ซึง้ ชดั เจน ดังภาพ
PLC มนี วตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ สู่วิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 6
ระบบของ PLC (Professional Learning Community) กรณีตัวอย่างของ
สถานศึกษาแห่งหน่ึง ท่ีมีความต้องการจาเป็นให้เกิด “ระบบ PLC ให้ทีมครูจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการ โดยใช้STEM Education เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนยุค Thailand 4.0”
มีกรอบแนวคดิ ดงั นี้
ปจั จัยของPLC กระบวนการของPLC
วนิ ยั 5 ประการ ของบุคลากรในโรงเรยี น ขน้ั ตอนท่ี 1 Community
1. ความรอบรู้แห่งตน (Personal Mastery) สร้างทีมครูบรู ณาการ STEM Education
2. แบบแผนความคิดอ่าน (Mental Models)
3. วสิ ัยทัศนร์ ว่ ม (Shared Vision) ข้นั ตอนที่ 2 Practice
4. การเรียนรู้ของทีม (Team Learning) จดั การเรียนรบู้ รู ณาการ STEM Education
5. การคดิ อย่างเป็นระบบ ขน้ั ตอนที่ 3 Reflection
สะทอ้ นคดิ เพอ่ื การพัฒนาการปฏบิ ัติ
(Systematic Thinking) ขนั้ ตอนที่ 4 Evaluation
ประเมินเพือ่ การพัฒนาสมรรถนะครู
Senge (1990) ขน้ั ตอนที่ 5 Network Development
สร้างเครือข่ายการพฒั นา
ผลลัพธ์ของPLC
คณุ ภาพผูเ้ รยี นยคุ Thailand 4.0
ผลผลติ ของPLC
ครมู นี วตั กรรมการสอนและมสี มรรถนะ
ในการจดั การเรยี นรู้
บรู ณาการ STEM Education
-คดิ เองได้
-ทาเองได้
-ผลติ ผลงานอยา่ งสรา้ งสรรคไ์ ด้
PLC มนี วัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ สวู่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 7
PLC มคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ความกา้ วหนา้ ทางวิชาชพี ของครู
PLC มนี วัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ส่วู ิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 8
หนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3 /ว 21 ลงวันท่ี 5 กรกฎาคม 2560
กาหนดให้ครูที่ต้องการขอมีและขอเลื่อนวิทยฐานะ ระบุว่า ในชั่วโมงปฏิบัติงานต้องมีช่ัวโมง
PLC ในแต่ละปี ไม่น้อยกว่า 50 ช่ัวโมง นอกจากนี้ ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ
0206.7 / ว 22 ลงวันที่5 กรกฎาคม 2560 กาหนดให้ครูต้องเข้ารับการพัฒนาโดยเข้า
ฝกึ อบรมในหลักสูตรท่ีสถาบนั คุรุพัฒนารับรองตามมาตรฐานวิทยฐานะ หรือท่ี ก.ค.ศ. รับรอง
ต่อเน่ืองทุกปี โดยในแต่ละปี ไม่น้อยกว่า 12 – 20 ชั่วโมง และภายในระยะเวลา 5 ปี ต้องมี
ชวั่ โมงพัฒนา จานวน 100 ชั่วโมง แต่หากภายในระยะเวลา 5 ปี ชั่วโมงในการพัฒนาไม่ครบ
100 ช่ัวโมง สามารถนาชั่วโมง PLC ส่วนท่ีเกิน 50 ช่ัวโมงในแต่ละปี มานับรวมเป็นจานวน
ช่วั โมงการพัฒนาได้
ดงั นั้น การพัฒนาครูด้วยกระบวนการชุมชนการเรียนเรยี นรทู้ างวิชาชพี จึงเป็นนโยบาย
สาคัญของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และเป็นนวัตกรรมหน่ึงในการพัฒนาครู
ผู้บริหารสถานศึกษา อย่างเป็นระบบต่อเนื่องทุกปี ส่งผลให้เกิดการพัฒนาครูให้เป็นครู
เพือ่ ศิษยท์ แ่ี ทจ้ ริง อันสง่ ผลตอ่ การพฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างย่ังยนื
PLC มีนวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ สู่วทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 9
ตอนที่ 3
ขัน้ ตอนการดาเนินการ PLC ในสถานศึกษาอาชวี ศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (2561) ได้เสนอแนวทางในการลาดับขนั้ ตอน
การดาเนนิ การ PLC ในสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา ดังภาพ
PLC มนี วตั กรรมการจดั การเรียนรู้ สวู่ ิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 10
ข้ันตอนที่ 1 รวมกลมุ่ PLC และขอจัดตัง้ กลุ่ม
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา(2561) ไดเ้ สนอแนวทางการรวมตัวกันของครู
ที่มคี วามสนใจ คา่ นยิ ม และมีความเช่ือในทิศทางเดยี วกนั พร้อมจะรวมพลังแกป้ ัญหาคณุ ภาพ
ผูเ้ รียน เปา้ หมายเดยี วกัน โดยมีการรวมสมาชกิ ในPLC แตล่ ะกลมุ่ ประมาณ 4-8 คน ดงั ภาพ
แนวทางการรวมตัวกันของครู ใน 4 แบบ มีดังน้ี
แบบท่ีหนึ่ง เปน็ การรวมตวั ของครู จากกลมุ่ สาระการสอนเดยี วกนั หรือใกลเ้ คียง
กนั และทางานอยู่ในสถานศึกษาเดียวกนั
แบบทีส่ อง เปน็ การรวมตัวของกลุ่มครูมาจากกล่มุ สาระการสอนแตกต่าง
หลากหลาย แตส่ อนระดบั เดียวกนั ทางานอยู่ในสถานศกึ ษาเดยี วกัน
แบบทสี่ าม เป็นการรวมตัวของกลุ่มครูมาจากสถานศึกษาท่ีแตกต่างกัน ต้ังแต่
2 แห่ง ทาให้การติดตอ่ ส่ือสาร อาจตอ้ งใช้การส่อื สารผา่ นระบบอิเลคทรอนิกสม์ าเปน็ สอ่ื กลาง
แบบท่ีสี่ เป็นการรวมตัวของกลุ่มครู ซึ่งมาจากกลุ่มสาระการสอนแตกต่าง
หลากหลาย แต่สอนระดบั เดียวกนั และอาจมาจากหลากหลายสถานศึกษา การติดต่อสื่อสาร
อาจตอ้ งใชก้ ารส่อื สารผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์มาเปน็ ส่ือกลาง
PLC มีนวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ สูว่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 11
ตัวอยา่ ง
แบบคารอ้ งขอจดั ต้งั กลมุ่ ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC)
วทิ ยาลยั ............................................................
วันที่.......................................
เร่ือง ขอจดั ต้งั กลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ประจาภาคเรยี นท่ี ......../๒๕๖๑
เรยี น ประธานคณะกรรมการดาเนินงานขับเคล่ือนชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC)
ดว้ ยขา้ พเจา้ .............................................ตาแหน่ง ครู สาขาวิชา.....................................
มคี วามประสงค์ขอจดทะเบยี นจัดตั้งกลุม่ ชุมชนการเรียนรู้วชิ าชีพ (PLC) ประจาภาคเรยี น
ท่ี ....../........มีรายละเอยี ดดงั น้ี
1. กลมุ่ ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ สาขาวิชา........................................................................
2. สมาชิกกลุม่
2.1................................................................................................................................
2.2................................................................................................................................
2.3................................................................................................................................
2.4................................................................................................................................
3. ผู้เชย่ี วชาญประจากลมุ่ .................................................................................................
4. สถานทป่ี ระชุมกลุ่ม หอ้ ง......................อาคาร.............................................................
5. วนั เวลาประชุมกลมุ่ วนั ..........................................เวลา..............................................
จงึ เรยี นมาเพื่อทราบและพจิ ารณา
(.....................................)
ตาแหน่ง...........................................
ผูอ้ านวยความสะดวกกล่มุ PLC
ความเห็นหวั หนา้ แผนกวชิ า.........................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ
(..................................................)
ประธานคณะกรรมการดาเนนิ งานขับเคลื่อนชมุ ชนการเรยี นรวู้ ชิ าชพี
ลงชื่อ
(..................................................)
PLC มนี วัตกรรมการจัดการเรียนรู้ สวู่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 12
ข้ันตอนที่ 2 วเิ คราะห/์ สิง่ ทตี่ ้องการพฒั นา
ปัญหาคุณภาพผู้เรียนระดับอาชีวศึกษา ควรเป็นปัญหาท่ีมีความเช่ือมโยงกับ
เป้าหมาย (Goal) การจดั การศกึ ษาระดบั อาชีวศกึ ษา อันจะเป็นเส้นทางสู่ความสาเร็จของการ
อาชีวศึกษาเมื่อผู้เรียนได้รับการพัฒนา ยกตัวอย่างปัญหา ได้แก่ ผู้เรียนขาดความรับผิดชอบ
ขาดทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ ทักษะการคิดเชิงระบบ ทักษะการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทกั ษะในการปฏิบตั ิ ความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างนวัตกรรม ซึ่งเป็นปัญหาสาคัญร่วมกัน
“ยดึ ปัญหาของผู้เรียนเปน็ สาคญั ” (สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2560)
ปญั หาคณุ ภาพผู้เรียนระดบั อาชวี ศึกษา ในส่วนของทกั ษะที่สาคญั คอื 3R ไดแ้ ก่
• Reading คือ ทักษะอ่านออก
• (W)Riting คอื ทักษะ เขยี นได้
• (A)Rithmatic คือ มีทกั ษะในการคานวณ
นอกจากน้ัน ยงั คงพบปญั หาในสว่ นของทักษะ 8 C ดังนี้
• Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคิดวิเคราะห์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแกไ้ ขปัญหาได้
PLC มีนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ สู่วิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 13
• Creativity and Innovation : คิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ คิดเชิงนวัตกรรม
• Collaboration Teamwork and Leadership : ความร่วมมือ การทางาน
เป็นทีมและภาวะผ้นู า
• Communication Information and Media Literacy : ทกั ษะในการ
สอ่ื สาร และการร้เู ท่าทนั สอื่
• Cross-cultural Understanding : ความเขา้ ใจความแตกต่างทาง
วฒั นธรรมกระบวนการคิดขา้ มวฒั นธรรม
• Computing and ICT Literacy : ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ และการรู้
เทา่ ทนั เทคโนโลยี
• Career and Learning Skills : ทกั ษะทางอาชีพ และการเรียนรู้
• Compassion : มคี ณุ ธรรม มเี มตตา กรณุ า มีระเบียบวนิ ัย
PLC มีนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ สู่วิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 14
แบบบนั ทกึ การคน้ หาปญั หา
วนั ท่ี..........................................................................สถานที่.......................................................
เวลาเรมิ่ ...............................น. เวลาสน้ิ สดุ .............................น.จานวนผูเ้ ขา้ รว่ ม………………คน
ที่ ช่ือ-สกุล บทบาทใน PLC
ปญั หา สาเหตุของปญั หา ลาดบั ความสาคัญ
สรปุ ปัญหาดา้ นการเรียนรู้ของนักเรียนท่กี ล่มุ คัดเลือก
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ………………………..……………..ผบู้ ันทึกกลมุ่ PLC
(……………………………………….)
ตาแหนง่ ..........................................
PLC มนี วตั กรรมการจดั การเรียนรู้ สู่วทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 15
บันทกึ แนวทางแก้ปญั หา
วันท่ี..........................................................................สถานท่ี.......................................................
เวลาเรมิ่ ............................น. เวลาส้ินสุด........................น.จานวนผู้เขา้ รว่ ม…………….……….คน
รายช่อื สมาชิกกลุ่ม PLC (Buddy teacher /ครูรุ่นพี่ (Senior teacher)/ ผู้อานวยการ/
รองผู้อานวยการ ผู้เช่ยี วชาญ (Expert) ปราชญท์ อ้ งถ่ิน.(ถ้ามี))
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ปัญหาด้านการเรยี นรู้ของผู้เรยี นท่กี ลมุ่ PLC คัดเลอื ก
ช่อื ปญั หา
....................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ปัญหา
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
วัตถปุ ระสงค์
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
แนวทางการดาเนินงาน
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
การวดั และประเมนิ ผล
………………………………………….…………………………………………………………………………….......…….
………………………………………….…………………………………………………………………………….......…….
ประโยชน์ทีจ่ ะได้รับ
....................................................................................................................................................
ลงชื่อ………………………..……………..ผบู้ นั ทึกกลมุ่ PLC
(………………………………………)
ตาแหน่ง.........................................
PLC มีนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ สู่วทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 16
ขัน้ ตอนท่ี 3 ออกแบบและจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้
ขน้ั ตอนการออกแบบและจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ น้ี สมาชิกในกลุ่ม PLC รวมพลัง
ออกแบบกลยุทธ์การจดั การเรียนรู้ (Learning Management Strategy) ให้ได้นวัตกรรมที่จะ
นาไปจัดการเรียนรู้สู่เป้าหมายคุณภาพผู้เรียนท่ีต้องการ ซ่ึงกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้อันเป็น
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ นี้ มี 3 ลักษณะ คือ เทคนิคการสอน วิธีการสอน และรูปแบบ
การสอน และมคี วามสัมพนั ธ์กัน ดังภาพ
ตัวอย่างกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ (Learning Management Strategy) จาแนกตาม
ระดับของนวัตกรรมการจดั การเรียนรู้
นวัตกรรมระดบั เทคนิคการสอน ได้แก่ เทคนิคการใช้คาถาม เทคนิคการใช้ผังกราฟิก
Graphic Organizer เทคนคิ การร้องเพลง เทคนิคการใช้ส่ือเทคโนโลยี เปน็ ตน้
นวัตกรรมระดับวิธีการสอน ได้แก่ วิธีการสอนเขียนสร้างสรรค์หรรษา 5 ข้ันตอน
วิธีการสอนแบบโครงงานสานสนู่ วัตกรรม 6 ขนั้ ตอน วธิ ีการสอนแบบ STEM ศึกษา 6 ข้ันตอน
วธิ กี ารสอนแบบแกป้ ัญหาในหน้างาน 7 ข้ันตอน เป็นตน้
นวัตกรรมระดับรูปแบบการสอน ได้แก่ รูปแบบการสอนเน้น STEM สู่ Innovation
ยุค Thailand 4.0 รูปแบบการสอนสร้างนวัตกรรม ยุค Thailand 4.0 รูปแบบการสอนเน้น
ทกั ษะอาชีพ ยคุ Thailand 4.0 เป็นตน้
PLC มนี วตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ สูว่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 17
แผนการจัดการเรียนรู้
สัปดาหท์ ี่...........
ช่อื วิชา....................................................................................................รหัสวิชา........................
แผนกวชิ า.......................................................วันทีส่ อน...................................... หน่วยท่ี...........
รายการสอน…………………....................................................................จานวน ….......….. ชว่ั โมง
ภาคทฤษฎี...................................................นาที ฝกึ ปฏิบตั ิ.................................................นาที
ภาคเรยี นที่.................ปกี ารศกึ ษา...........................
ช้ัน...........................กลุ่ม...................จานวน............คน เข้าเรยี น..........คน ขาดเรียน..........คน
1. วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1.1.........................................................................................................................................
1.2.........................................................................................................................................
1.3.........................................................................................................................................
2. ความรแู้ ละทกั ษะเดิม
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
3. สือ่ การสอน
[ ] เอกสารประกอบการสอน
[ ] แผ่นใสประกอบหวั ขอ้ การสอน
[ ] ใบงานการทดลอง
[ ] วีดิทศั น์
[ ] ของจริง
[ ] อื่นๆ โปรดระบุ เช่น Power point ประกอบการสอน สอื่ โซเชียล
4. การบ้าน / การมอบหมายงาน
[ ] การบ้าน
[ ] การมอบหมายงาน ใบงาน เร่ือง การเตรยี มหวั เชือ้ ขา้ วฟา่ ง
[ ] อน่ื ๆ
PLC มีนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ สวู่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 18
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 1 การนาเข้าสู่บทเรียน
วิธีการ
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ขั้นที่ 2 ข้ันสอน /ฝึกปฏบิ ตั ิ
วธิ ีการ………………………………………………………………………………………………………………………….
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ข้นั ท่ี 3 การสรุปและทบทวนบทเรยี น
วธิ กี าร…………………………………………………………………………………………………………………………
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………
ขนั้ ที่ 4 การประเมินผล
วิธีการ………………………………………………………………………………………………………………………….
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ลงชื่อ ................................................ผู้สอน
(................................................)
.........../.........……/...............
ลงช่อื ................................................หวั หนา้ แผนก
(........................................)
.........../.........……/...............
PLC มีนวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ ส่วู ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 19
ตัวอยา่ ง
แบบประเดน็ การแลกเปล่ยี นเสนอแนะเพอื่ การนาเสนอแผนการสอน/กิจกรรมการสอน
1) ความสอดคลอ้ ง ครอบคลุมของวัตถุประสงค์
ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ ...................................................................................................................
....................................................................................................................................................
2) กิจกรรมนกั เรยี นมคี วามเหมาะสม เป็นไปได้ และความสอดคลอ้ งวตั ถปุ ระสงค์
ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม...................................................................................................................
....................................................................................................................................................
3) กิจกรรมครูมคี วามเหมาะสม เป็นไปได้ และความสอดคลอ้ งวัตถุประสงค์
ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม...................................................................................................................
....................................................................................................................................................
4) เทคโนโลยแี ละสอื่ การสอนมีความเหมาะสม และความสอดคลอ้ งวตั ถปุ ระสงค์
ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ...................................................................................................................
....................................................................................................................................................
5) การวัดและประเมนิ ผลมีความถูกตอ้ ง เหมาะสม และชดั เจนสอดคล้องวตั ถุประสงค์
ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ ...................................................................................................................
....................................................................................................................................................
6) กจิ กรรมขนั้ นา มีความเหมาะสม เป็นประโยชน์ เป็นไปได้
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม...................................................................................................................
....................................................................................................................................................
7) กิจกรรมขั้นสอน มีความเหมาะสม เป็นประโยชน์ เป็นไปได้
ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม...................................................................................................................
....................................................................................................................................................
8) กจิ กรรมข้ันสรุป มคี วามเหมาะสม เป็นประโยชน์ เป็นไปได้
ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม...................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ลงชอื่ ………………………..……………..ผู้บนั ทกึ กลมุ่ PLC
(………………………………………)
ตาแหน่ง.........................................
PLC มนี วตั กรรมการจัดการเรียนรู้ สู่วทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 20
ขัน้ ตอนที่ 4 จัดการเรยี นรู้ในหอ้ งเรยี นจรงิ
การจดั การเรียนร้ใู นห้องเรียนจรงิ เนน้ การใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ท่ีสอดคล้อง
กับแนว Active Learning ซึ่ง Active Learning คือ อะไรก็ตาม สิ่งใดก็ตาม ท่ีเก่ียวข้องกับ
นักเรยี นในการทาในการฝึก อะไรบางอย่าง และ การคดิ เกี่ยวกับส่ิงท่ีเขากาลังลงมือทาลงไป :
Active learning is "anything that involves students in doing things and thinking
about the things they are doing" (Bonwell & Eison, 1991, p. 2)
Active Learning คือ การเรียนรู้ภายใต้สมมติฐาน 2 ประการ คือ 1) การเรียนรู้
เป็นความพยายามโดยธรรมชาตขิ องมนุษย์ และ 2) บุคคล แตล่ ะบคุ คลมแี นวทางในการเรยี นรู้
ที่แตกต่างกัน : Active learning is based on two assumptions : (1) that learning
is by nature an active endeavour and (2) that different people learn in different
ways" (Mayers and Jones, 1993).
PLC มนี วัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ สวู่ ิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 21
วิธสี อน “บูรณาการ STEM 6 ข้นั ตอน”
วิธีสอน “บูรณาการ STEM 6 ข้ันตอน” เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
แนวการจัดการเรียนรู้ Active Learning ท่ีเน้นให้ผู้เรียนสร้างนวัตกรรม มีองค์ประกอบ
พื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ ส่ือการจัดการเรียนรู้ ข้ันตอนการจัดการเรียนรู้ และ
การจัดสิ่งแวดล้อมการจัดการเรียนรู้ มาเพิ่มเติมข้ันตอนการสอนเพ่ือให้การจัดการเรียนรู้
มคี ุณภาพสงู สุด ดงั ภาพ
ข้นั ตอนท่ี 1 ระบุปัญหาในชวี ิตจริงที่พบหรอื นวตั กรรมที่ต้องการพฒั นา
………โรงเรยี นของเราต้องการพฒั นานวตั กรรมเชงิ ผลติ ภณั ฑ์ ภายใต้
กรอบแนวคิด “ผลิตภัณฑป์ ลา วถิ ใี หม่ไทอีสาน” ท่บี รโิ ภคแล้วปลอดภัย
จากโรคโดยเฉพาะโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเรง็ ท่อนา้ ดี………
ขน้ั ตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ปัญหาหรอื นาไปสู่
การพฒั นานวตั กรรมน้ัน
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยเช่ือมโยงความร้ดู ้านวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์
ขัน้ ตอนที่ 4 วางแผนและดาเนนิ การแก้ปญั หาหรือพัฒนานวัตกรรม
ข้ันตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธกี ารแกป้ ญั หา
หรอื พฒั นานวัตกรรมได้
ขน้ั ตอนที่ 6 นาเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหา ผลการแกป้ ญั หาหรือผลของนวัตกรรม
ท่ีพฒั นาได้
PLC มีนวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ สู่วทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 22
วธิ สี อน “โครงงานเป็นฐาน 6 ขน้ั ตอน”
วิธสี อน “โครงงานเป็นฐาน 6 ขน้ั ตอน” เปน็ กรณีตวั อย่างของนวตั กรรมการสอนอกี
นวัตกรรมหนึ่ง ทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวการจัดการเรยี นรู้ Active Learning ซ่ึงเน้นให้ผู้เรียนสร้าง
องคค์ วามรใู้ หม่ สร้างนวัตกรรมที่เป็นผลลพั ธจ์ ากการเรยี นรู้ เพื่อสรา้ งเสริมทักษะแห่งศตวรรษ
ที่ 21 ของ ดษุ ฎีโยเหลา และคณะ (2557) โดยมีท้ังหมด 6 ขน้ั ตอน ดังน้ี
การจัดการเรียนรู้ ตามวิธีสอน “โครงงานเป็นฐาน 6 ขั้นตอน” มรี ายละเอียด ดังนี้
1. ขน้ั ให้ความรพู้ น้ื ฐาน
ครูให้ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับการทาโครงงานก่อนการเรียนรู้ ซ่ึงผู้เรียนจะต้องมี
ความรู้เก่ียวกับโครงงานไว้เป็นพ้ืนฐาน เพ่ือใช้ในการปฏิบัติขณะทางานโครงงานจริง
ในขน้ั แสวงหาความรู้
2. ขั้นกระตนุ้ ความสนใจ
ครเู ตรียมกจิ กรรมทจ่ี ะกระตนุ้ ความสนใจของผู้เรียน โดยต้องคิดหรือเตรียมกิจกรรม
ท่ีดึงดูดให้ผู้เรียนสนใจ ใคร่รู้ ถึงความสนุกสนานในการทาโครงงานหรือกิจกรรมร่วมกัน
PLC มีนวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ สู่วทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 23
โดยกิจกรรมนั้นอาจเป็นกิจกรรมที่ครูกาหนดข้ึน หรืออาจเป็นกิจกรรมที่ ผู้เรียน
มีความสนใจต้องการจะทาอยู่แล้ว ทั้งน้ี ในการกระตนุ้ ของครูจะตอ้ งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเสนอ
จากกิจกรรมที่ไดเ้ รียนรู้ผ่านการจดั การเรียนรขู้ องครูที่เกี่ยวขอ้ งกบั ชุมชนที่ผู้เรียนอาศัยอยู่หรือ
เปน็ เรือ่ งใกลต้ วั ท่สี ามารถเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง
3. ข้ันจัดกลุม่ ร่วมมอื
ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม เพ่ือเตรียมการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการกลุ่มในการวางแผน
ดาเนนิ กิจกรรม โดยผู้เรียนเป็นผู้ร่วมกันวางแผนกิจกรรมการเรียนของตนเอง ระดมความคิด
และหารือ แบ่งหน้าท่ีเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติร่วมกัน หลังจากท่ีได้ทราบหัวข้อสิ่งท่ีตนเอง
ตอ้ งเรียนรู้ในภาคเรยี นน้นั ๆเรียบรอ้ ยแล้ว
4. ข้นั แสวงหาความรู้
ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน ตามหัวข้อที่กลุ่มสนใจ ผู้เรียนปฏิบัติหน้าที่
ของตน ตามข้อตกลงของกลุ่ม พร้อมท้ังร่วมมือกันปฏิบัติกิจกรรม โดยขอคาปรึกษาจากครู
เป็นระยะเม่ือมีข้อสงสัยหรือปัญหาเกิดขึ้น ผู้เรียนร่วมกันเขียนรูปเล่ม สรุปรายงาน
จากโครงงานท่ตี นปฏิบตั ิ
5. ขั้นสรปุ สิ่งทีเ่ รียนรู้
ครใู ห้ผู้เรียนสรปุ สง่ิ ท่ีเรยี นรจู้ ากการทากิจกรรม โดยครูใชค้ าถาม ถามผู้เรยี นนาไปสู่
การสรุปส่งิ ที่เรียนรู้
6. ขนั้ นาเสนอผลงาน
ครูให้ผู้เรียนนาเสนอผลการเรียนรู้ โดยครูออกแบบกิจกรรมหรือจัดเวลาให้ผู้เรียน
ไดเ้ สนอสิง่ ที่ตนเองไดเ้ รยี นรู้ เพ่อื ใหเ้ พือ่ นร่วมชัน้ และผู้เรียนอ่นื ๆในโรงเรียนไดช้ มผลงาน
PLC มนี วัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ ส่วู ิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 24
แบบสังเกตการสอน
ชอื่ แผนการสอน/แบบฝึกปฏบิ ตั ิ..................................................................................................
ชอ่ื Model Teacher สอน/ฝึกปฏบิ ตั ิ.........................................................................................
สถานทีส่ อน/ฝึกปฏบิ ตั ิ……………………………………………………………………………………………………
วันทส่ี ังเกตการสอน/ฝึก/กิจกรรม...........................เวลา........................จานวน...............ชวั่ โมง
รายการสังเกตการสอน/การฝึก/จัดกิจกรรม ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ตั ิ
1. การให้ความสาคัญกบั การเรียนรู้ของผเู้ รียน
2. การรว่ มมือรวมพลงั ของครูผสู้ อน ผู้บรหิ าร ศึกษานเิ ทศก์
และผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง
3. การทางานรว่ มกันด้วยความสัมพันธแ์ บบกัลยาณมิตร
เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายเดยี วกัน
4. นาแนวทางการแกไ้ ขปัญหาสู่การปฏิบัตใิ นชนั้ เรียน
5. การนาสือ่ เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนา
การเรยี นการสอนตามบรบิ ทของสถานศึกษา
6. สมาชิกร่วมสงั เกตการสอนและเก็บข้อมูล
7. อภิปรายผลการสงั เกตการสอนและปรบั ปรุงแกไ้ ข
8. การตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านของครูกับผลการเรียนรู้
ของผูเ้ รียน
9. สรปุ ผลวธิ กี ารแกป้ ัญหาทีไ่ ดผ้ ลดีต่อการเรียนร้ขู องผเู้ รยี น
10. การเรียนรู้ทางวชิ าชพี อย่างต่อเนอื่ งระหว่างการปฏิบัติงาน
11. บนั ทึกทุกข้นั ตอนการทางานกล่มุ : ระบปุ ญั หา วธิ ีแก้
การทดลองใช้ ผลทไ่ี ด้
12. การปรบั ปรงุ การเรยี นการสอนในช้นั เรยี น
13. แบง่ ปันประสบการณ์
14. การสร้างขวญั และกาลังใจในการปฏบิ ตั งิ าน
ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
....................................................................................................................................................
ลงช่ือ………………………..……………..……………………
(…………………………………………………………)
ตาแหน่ง................................................................
ผสู้ งั เกตการสอน
PLC มนี วัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ส่วู ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 25
บนั ทกึ หลังการสอน
สัปดาหท์ .ี่ ................
ชอื่ วชิ า....................................................................................................รหสั วิชา........................
แผนกวิชา.................................................วันทสี่ อน........................................ หน่วยที่ …………..
รายการสอน……………………………...................................................…. จานวน ….......….. ชวั่ โมง
ภาคเรยี นท่ี.................ปกี ารศกึ ษา...................
จานวนผ้เู รียน ชั้น................กลมุ่ ...........จานวน...........คน เข้าเรยี น.........คน ขาดเรียน........คน
ช้ัน...............กลุ่ม............จานวน...........คน เข้าเรียน.........คน ขาดเรยี น.......คน
1. เนอื้ หาที่สอน (สาระสาคัญ)
……………………………………………………………….............................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
2. ผลการสอน
……………………………………………………………….............................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
3. ปญั หา อปุ สรรค ท่ีเกดิ ขนึ้ ในระหวา่ งการเรยี นการสอน
……………………………………………………………….............................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
4. แนวทางการแกป้ ญั หาของครผู ้สู อน (แนวทางการทาวจิ ัย)
……………………………………………………………….............................................................................
....................................................................................................................................................
ลงชื่อ ................................................ผสู้ อน
(................................................)
.........../.........……/...............
ลงช่ือ ................................................หวั หน้าแผนก
(........................................)
.........../.........……/...............
PLC มีนวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ สวู่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 26
ขั้นตอนท่ี 5 ประเมนิ ผล สะท้อนการจดั การเรียนรู้
การประเมินผล สะท้อนการจัดการเรียนรู้ เป็นการสืบเสาะ สรุปผลการปฏิบัติงาน
เพ่ือการพัฒนา (Debrief) ซ่ึง สมาชิกกลุ่มการเรียนรู้จะต้องมารวมตัวกันสืบเสาะ ต้ังคาถาม
สะท้อนคิดต่อผลการปฏิบัติการสอนท่ีผ่านไปแล้ว โดยมุ่งตอบคาถาม อย่างน้อย 4 ประเด็น
คือ
1) ผเู้ รยี นได้เรียนรแู้ ละเกิดพฤติกรรมตามเป้าหมายทตี่ ง้ั ไว้มากน้อยเทา่ ใด
2) รไู้ ด้อยา่ งไรวา่ ผูเ้ รยี นเหล่าน้ันเกิดการเรยี นรู้ และ/หรือมพี ฤตกิ รรมบรรลตุ าม
เปา้ หมายนั้นแลว้
3) ผู้เรยี นท่ีไม่สามารถเรียนรแู้ ละยังไมบ่ รรลุพฤติกรรมตามเป้าหมาย จะทาอย่างไรกบั
ผเู้ รยี นกลมุ่ นต้ี อ่ ไป
4) ผูเ้ รยี นทเ่ี กิดการเรยี นร้แู ละบรรลุพฤติกรรมตามเป้าหมายแล้ว จะทาอย่างไรต่อไป
กับผูเ้ รียนกลมุ่ นี้ สมาชิกของกลมุ่ ตอ้ งร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อให้ครูที่เป็นเจ้าภาพ หรือ
Model Teacher สรุปผลการจัดการเรียนรู้ท่ีตอบคาถามท้ัง 4 ประเด็น รวมถึงส่ิงท่ีเป็นแนว
การปฏบิ ตั ิท่ีดี และสงิ่ ที่เปน็ จดุ อ่อนทคี่ วรได้รับการปรบั ปรงุ ในโอกาสตอ่ ไป
ขน้ั ตอนที่ 6 สรปุ ผลการจดั การเรยี นรู้/กจิ กรรม/นวตั กรรม/เผยแพร่
การสรุปผลเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ัติการนาสกู่ ารวางแผนการจัดการเรยี นร้รู อบใหมต่ อ่ ไป
ครทู ี่เป็น Model Teacher การจัดการเรยี นรู้ จะต้องนาผลสรุปทไี่ ด้รวบรวม บันทึกผลไวใ้ ห้
เรยี บร้อยอยา่ งเป็นทางการ โดยจะมกี ารดาเนนิ การอย่างน้อย 2 เปา้ หมาย คอื
เป้าหมายที่ 1 บนั ทกึ ผลการจัดการเรยี นรู้ไว้เพื่อเปน็ พฒั นาการของการพฒั นา
การจัดการเรียนร้สู ู่เป้าหมาย (Goal) ท่ีได้กาหนดไว้ร่วมเพื่อสะท้อนวา่ กวา่ จะสามารถพัฒนา
ลกู ศษิ ยใ์ ห้บรรลตุ ามพฤตกิ รรมเปา้ หมายไดน้ ้ันมบี ทเรียนท่ไี ด้เรียนรรู้ ว่ มกันอยา่ งไรบ้าง ส่วนนี้
จะเปน็ ข้อมลู สาคัญทีม่ ีคุณค่าอยา่ งยิง่ และถอื เปน็ งานวิจัยในชั้นเรยี นที่มคี ณุ ภาพมาก
เป้าหมายที่ 2 บันทึกผลทีไ่ ดจ้ ากการสรปุ จะตอ้ งนาไปสู่การวางแผนการจัดการเรียนรู้
รอบใหม่ ซึ่งเชื่อมนั่ วา่ การจัดการเรยี นรู้ จะมคี ณุ ภาพตอ่ เนอ่ื งและมีประสิทธภิ าพมากกวา่ เดิม
โดยจ ะมีการเริ่มดาเนินการวงรอบใหม่ของการจัดกิจกรรมกลุ่มชุม ชนการเรียนรู้ร่วมกัน
ในรอบท่ี 2 รอบท่ี 3 และ รอบตอ่ ๆ ไป
PLC มีนวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ สู่วิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 27
ตอนท่ี 4
การบันทึกกจิ กรรมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC)
คาช้ีแจง : ใหส้ มาชกิ ในกลุ่ม ปฏบิ ตั บิ ทบาทในชุมชนการเรียนรู้วชิ าชีพ (PLC)
เทคนคิ : สุนทรียสนทนา (dialogue)
PLC มนี วัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ สู่วิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 28
บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
สถานศกึ ษา……………………………………………………สังกดั ……………………………………………………
ชื่อกล่มุ กิจกรรม……………………………………………ชือ่ กิจกรรม……………………………………………….
จานวนสมาชิก……คน คร้งั ที่……วนั ที่……เดอื น………… ป…ี ……ภาคเรียนที่…..ปกี ารศกึ ษา……….
จานวนสมาชิกทเี่ ข้าร่วมกิจกรรมในครง้ั นี้……..…..คน จานวนชว่ั โมง………..…ชวั่ โมง
ประเดน็ ………………………………………………………………………………………………………………………
สาเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
ความร้/ู หลักการทน่ี ามาใช้
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
กิจกรรมท่ีทา
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
PLC มนี วัตกรรมการจดั การเรียนรู้ สวู่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 29
ผลท่ีได้จากกจิ กรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
การนาผลทไ่ี ด้ไปใช้
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
อื่นๆ………………….....………………………………………………………………………………………………………
สมาชิกที่เขา้ รว่ มกิจกรรมในคร้ังน้ี บทบาทในPLC ลายมือชื่อ
ท่ี ชื่อ-สกลุ
1
2
3
4
5
6
7
8
(ลงชอ่ื ) ผบู้ นั ทกึ
()
ตาแหนง่ …………………………………………………………………………….
หมายเหตุ
สาเนาบนั ทึกกจิ กรรม PLC ในครั้งนี้ ใหส้ มาชกิ ทกุ คน พรอ้ มลงลายมือชือ่ รบั รองสาเนาถูกต้อง
PLC มีนวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ สวู่ ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 30
เอกสารอ้างอิง
ดษุ ฎี โยเหลา และ คณะ. (2557). การศกึ ษาการจดั การเรียนรแู้ บบ PBL ท่ไี ดจ้ ากโครงการ
สร้างชดุ ความรเู้ พอื่ สร้างเสรมิ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ของเดก็ และเยาวชน :
จากประสบการณค์ วามสาเร็จของโรงเรยี นไทย. กรุงเทพฯ : หจก. ทิพยวิสุทธิ์.
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา.(2561).แนวทางการขบั เคลอ่ื นกระบวนการ
ชุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community :
PLC). (เอกสารอัดสาเนา).
สานกั งานคณะกรรมการข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา. (2560). คมู่ อื การใช้งาน
Logbook สาหรับข้าราชการครสู ายงานการสอนเพอ่ื ขอประเมินวิทยฐานะ.
(เอกสารอัดสาเนา).
Bonwell, C. C., and Eison, J. A. (1991). Active learning: Creating excitement
in the classroom. ERIC Digests (ED340272, pp. 1-4).
George Washington University, Washington D.C.: ERIC Clearinghouse
on Higher Education.
Heinich, R. and others. (1996). Instructional Media and Technologies
for Learning. New Jersey:Prentice-Hall, Inc.
Hiatt-Michael, D. (2001). Caring and the learning community. Unpublished
manuscript, Pepperdine University, Malibu, CA.
McKeown, M. (2008). The Truth About Innovation. London, Prentice Hall.
Meyers, Chet and Jones, Thomas B. (1993). Promoting Active Learning:
Strategies for the Collage Classroom. San Francisco: Jossey-Bass.
Senge,P.M. (1990). The fifth discipline :Theart andpracticeof the learning
organization. London: CenturyPress.
Sergiovanni, T. J. (1994). Building community in schools.
San Francisco: Jossey-Bass.
PLC มนี วัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ ส่วู ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 31
PLC มนี วัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ ส่วู ทิ ยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 32