The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นิ่ม ยอดเงิน, 2022-09-14 03:38:19

นิ่ม ยอดเงิน 1019

นิ่ม ยอดเงิน 1019

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา

ชาตพิ นั ธลุ ์ า้ นนา

เสนอ ผชู้ ว่ ยศาสตรต์ ราจารยส์ าโรช สอาดเอ่ียม
จัดจัดทาโดย นางสาวนมิ่ ยอดเงิน ป3ี /1

รายงานเล่มนเ้ี ป็นสว่ นหน่งึ ของการศกึ ษษ วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การศกึ ษาค้นคว้า
รหสั วิชา GE 4005 ภาคเรียนที่1 ปีการศกึ ษา2565

สสี นั

ชาตพิ นั ธุ ์

ลา้ นนา

นางสาวน่มิ ยอดเงิน

คานา

รายงานเล่มนจ้ี ัดทาข้ึนเพ่ือเปน็ สว่ นหน่งึ ของรายวิชา GE 4005 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื
การศกึ ษาค้นคว้าโดยวัตถุประสงค์เพ่อื ให้ทราบถึงความเปน็ มาของชาติพนั ธุล์ ้านนารวมถึงวัฒนธรรม
ด้านการแต่งกายและภาษาที่แตกต่างกันของชาติพันธุ์

ผจู้ ัดทาหวังว่า รายงานเล่มนจี้ ะเปน็ ประโยชนก์ ับผอู้ ่าน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา หรือผทู้ ่ีกาลังศกึ ษาหา
ขอ้ มูลเร่อื งนอ้ี ยู่ ได้นาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ งู สุดต่อไป

ขอขอบพระคุณผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ าโรช สอาดเอี่ยม อาจารยท์ ่ีปรึกษาในรายวิชานที้ ี่ได้ให้
คาแนะนา ทาใหร้ ายงานเล่มนเี้ กิดความสมบูรณแ์ ลฃะสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสน้ี

16 สิงหาคม 2565
นมิ่ ยอดเงิน

สารบัญ

หนา้ ปก ก
คานา ข
สารบญั ค
เน้อื เร่อื ง ง
ความเป็นมา 1
ชาติพนั ธุไ์ ทล้ือ 2
ชาติพันธุไ์ ทวน 6
ชาติพันธุไ์ ทเขนิ 10
ชาติพันธุด์ าราอ้ัง 14
ชาติพันธุป์ กาเกอะญอ 18
ชาติพันธุล์ ัวะ 22
ชาติพันธุไ์ ทยใหญ่ 26

ความเปน็ มา

อาณาจักรล้านนาคือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีจ ต้ังอยูบ่ รเิ วณภาคเหนอื ของประเทศ
ไทยตลอดจนสอบสองปันนา เช่น เมืองเชยี งรุง่ มณฑลยูนานประเทศจีน ภาคตะวันออกของประเทศพมา่
เชน่ ฝ่ งั ตะวันออกของแมน่ ้าสาละวินซ่ึงมเี มืองเชียงตงุ เป็นเมืองเอกและครอบคลมุ 8 จังหวัดภาคเหนอื
ตอนบนในปัจจุบันได้แก่จังหวัดเชยี งใหม่ ลาพูน ลาปาง เชยี งราย พะเยา แพร่ นา่ น และแมฮ่ ่องสอน โดย
มีเมอื งเชียงใหม่ เป้นราชธานี มภี าษา ตัวหนงั สอื วัฒนธรรม และประเพณีของตนเองเคยถูกปกครองใน
ฐานะรฐั บรรณาการหรือรัฐสว่ นของอาณาจักรตองอู อาณาจักรอยุธยาและอาณาจักรล้านชา้ ง จนสิน้
ฐานะอาณาจักรกลายเป็นเมืองหน่งึ ของอาณาจักรตองอูสมัยย่อนยานไปในที่สดุ และรวมเขา้ กับสยามจน
เป็นภาคเหนอื ตอนบนของประเทศไทยจนถึงปัจจุบนั

1

ชาตพิ นั ธุ ์

ไทยลอื ้

2

ชาวไทล้ือ ต้ังถ่ินฐานอยู่บริเวณตอนใต้ของจีน มีเมืองเชียงรุ่ง ในเขตสิบสองปันนา
มณฑลยูนาน เป็นศูนยก์ ลาง ชาวไทล้ือจึงมีประวัติศาสตร์ร่วมกับจีนมาเป็นเวลายาวนาน ในช่วง
หลายร้อยปีท่ีผ่านมามีกลุ่มชาวไทล้ือบางส่วนได้อพยพและถูกกวาดต้อนลงมาอยู่ทางตอนเหนือ
ของพม่า ตอนเหนอื ของลาว ตอนเหนือของเวียดนาม และทางภาคเหนือของประเทศไทย ใน
บริเวณจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน ลาปาง พะเยา แพร่ และน่าน เม่ือยา้ ยมาต้ังถ่ินฐาน
ตามที่ต่าง ๆ แล้ว ชาวไทล้ือก็มีการปรับตัวเข้ากับท้องถิ่นได้อย่างกลมกลืน โดยเฉพาะในส่วน
บ้านเรือนท่ีอยูอ่ าศัย แต่เดิมนยิ มสร้างเป็นเรือนไม้ยกพ้ืนสูง หลังคาขนาดใหญ่ลาดเอียงคลุมลง
มาจนถึงฝาเรือน ภายในเรือนเป็นโถงกว้างและไม่นิยมทาหน้าต่างมากนักเพราะเป็นพ้ืนที่ท่ีมี
อากาศหนาวเย็น เม่ือชาวไทล้ือย้ายถิ่นฐานเข้ามาจึงมีการสร้างเรือนแบบหลังคาสองจ่ัวตาม
แบบเรอื นไทยวนและมหี นา้ ต่างเรอื นมากข้นึ เพ่อื ให้ถ่ายเทอากาศ

3

ชาวไทล้ือมกั ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ว่างเว้นจึงนยิ มทอผา้ เพ่อื ไว้ใช้สอยและถวายเปน็ พุทธบูชา
ถึงแม้ว่าถ่ินฐานของชาวไทล้ือจะกระจัดกระจายอยูท่ ่ัวไป แต่การดารงชวี ิตของกล่มุ ไทล้ือทกุ แห่งจะมคี วามคล้ายคลึง
กัน เน่อื งจากมพี ้ืนฐานทางวัฒนธรรมที่เหมือนกัน ซ่ึงเหน็ ได้ชดั เจนจากภาษา การแต่งกาย อาหารประเพณี และความ
เช่อื ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา

หญงิ สาวชาวไทล้ือมฝี มี ือด้านการทอผา้ เป็นอยา่ งยง่ิ เพราะได้รับการฝกึ ฝนมาจากแม่และญาติพ่นี ้องฝา่ ยหญิง
การออกแบบสรา้ งสรรค์ผ้าทอไทล้ือถือได้ว่ามีความวิจิตรพิสดาร โดยสามารถทาเป็นลวดลายต่างๆ ได้ด้วยเทคนคิ การ
จก การขิด และเกาะล้วง เช่น ลายนาค ลายหงส์ ลายปราสาท เป็นต้น ผา้ ทอท่ีทาข้นึ น้นั ใช้สาหรับเปน็ เคร่ืองนงุ่ หม่ ของ
คนในครอบครวั รวมถึงเป็นเคร่ืองใชจ้ าพวกที่นอน หมอน ผา้ ห่ม ฯลฯ ท้ังนห้ี ากต้องการทาบุญก็จะทอตงุ หรอื ผา้ ท่ีใช้
ในพทุ ธศาสนาถวายท่ีวัด สรา้ งกุศลให้ผหู้ ญงิ แทนการบวชพระ

4

การแต่งกายของสตรีชาวไทล้ือนิยมสวมเส้ือป๊ ัดสีเข้มเป็น
เส้ือท่ีไม่มีกระดุม แต่จะผูกเชือกที่สาบเส้ือด้านซ้าย นุ่งซ่ินต๋าล้ือ
อาจมีเพิ่มลวดลายด้วยเทคนคิ ต่าง ๆ เพ่ือความสวยงาม เกล้ามวย
ผมไว้บนกระหม่อมและเคียนหัวด้วยผ้าพ้ืนสีขาวหรือสีชมพู ส่วน
บุรุษนิยมสวมเส้ือแขนยาว สวมทับด้วยเส้ือปาหรือเส้ือก๊ักปัก
ลวดลายด้วยเล่ือม สวมกางเกงขายาวสีเดียวกับเส้ือ ต่อหัวกางเกง
ด้วยผ้าสีขาว เคียนหัวด้วยผ้าพ้ืนสีขาวหรือสีชมพู ท้ังชายและ
หญิงนยิ มสะพายถงุ ยา่ ม หากไปวัดจะพาดบ่าด้วยผา้ เช็ดทกุ คร้งั

5

ช า ต พั น ธุ ์

ไทยยวน

6

ไทยวน หรือคนเมือง คือกลุ่มคนกลุ่มใหญ่ท่ีอาศัยอยู่บริเวณภาคเหนอื ของประเทศไทยมักต้ัง
บา้ นเรือนอยูบ่ ริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าไหลผ่านระหว่างหุบเขา เช่น ลุ่มแม่น้าปิงเป็นที่ต้ังของเมืองเชียงใหม่
และลาพูน ลุ่มแม่น้าวังเป็นที่ต้ังของเมืองลาปาง ลุ่มแม่น้ายมเป็นท่ีต้ังของเมืองแพร่ และลุ่มแม่นา้ นา่ น
เป็นท่ีต้ังของเมืองนา่ น เป็นต้น ในอดีตชาวไทยวนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักตามภูมิประเทศ
ท่ีอาศัยต้ังถิ่นฐาน ท้ังนม้ี ีชาวไทยวนที่ถูกกวาดต้อนลงไปอยูใ่ นพ้ืนที่ภาคกลาง คือ ตาบลเสาไห้ จังหวัด
สระบุรี และตาบลคูบัว จังหวัดราชบุรี

7

ชาวไทยวน มีภาษา ขนบธรรมเนยี ม จารตี ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรม วิถีชวี ิต และความเช่อื อันเป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะตน
ในสงั คมของชาวไทยวนมีความคิดในเร่ืองผผี สมพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะผปี ู่ยา่ (ผบี รรพบุรุษ) จะมีบทบาทในการควบคุม
พฤติกรรมของลกู หลานชาวไทยวนใหป้ ระพฤติตนถกู ต้องตามจารีตประเพณแี ละกรอบที่ดีงามของสังคม อีกท้ังมีความเช่อื
เร่อื ง “ขดึ ” คือข้อห้าม หรือข้อปฏิบตั ิที่ถกู ต้อง ท่ีควรปฏิบตั ิไม่ใหเ้ กิดสิง่ ไมด่ ีข้นึ กับตัวเองและครอบครัว

ภาษาเขยี นและภาษาพดู ของชาวไทยวนมรี ูปแบบเป็นของตนเอง ซ่งึ ในปจั จุบันก็ยงั พบเป็นการใชภ้ าษาเขียนในพระ
ธรรมคัมภีรพ์ ทุ ธศาสนา และป๊ บั สา ใบลาน ท้ังนภ้ี าษาเขยี นของไทยวน หรือเรียกว่า “อักษรล้านนา หรอื อักษรธรรม” ยังใชใ้ น
กล่มุ ชาวไทล้ือ เชียงรุ่ง และไทเขนิ เชยี งตงุ ด้วย เน่อื งจากในอดีตชาวล้านนาได้นาพทุ ธศาสนาเขา้ ไปเผยแพรย่ งั สองดินแดนน้ี

ในส่วนของบ้านเรอื นที่อยูอ่ าศัย ชาวไทยวนนิยมสรา้ งเป็นเรอื นไม้ยกพ้นื สูง มีท้ังหลังคาแบบจ่ัวเดียวและหลังคาจ่ัว
แฝด ซ่ึงรูปแบบเรือนที่นิยมทากันมากคือเรอื นจ่ัวแฝดแบบ “เรอื นกาแล” ท่ีมียอดจ่ัวเป็นไมไ้ ขว้กัน ตกแต่งด้วยการฉลุลวดลาย
อยา่ งสวยงาม

8

การแต่งกายของสตรีชาวไทยวนในอดีตแต่เดิมนิยม
เปลือยท่อนบน นงุ่ ซิ่นต๋าต่อตีนต่อเอว เกล้ามวยผมไว้ท้ายทอย
เม่ือมีโอกาสพิเศษจึงมัดอกหรือห่มสะหว้ายด้วยผ้าสีพ้ืนหรือ
ผ้ า ล า ย ด อ ก นุ่ ง ซิ่ น ตี น จ ก ห รื อ ส อ ด ดิ้ น เ งิ น ด้ิ น ท อ ง ต า ม ฐ า น ะ
ภายหลังนิยมสวมเส้ือแขนกระบอกและห่มสไบสะหว้ายทับ
พร้อมหย้องเคร่ืองประดับสวยงาม ส่วนบุรุษแต่เดิมนิยมเปลือย
ท่อนบน นุง่ เฅ็ดม่าม นงุ่ ผ้าต้อย สักต้นขา ภายหลังนิยมแต่งชุด
ราชประแตน และชุดเต่ียวสะดอตามสมัยนิยมท่ีได้รับอิทธพิ ลมา
จากภาคกลางและชาวตะวันตก

9

ชาตพิ ไนั ทธเขุ ์ ิน

10

ไทเขิน หรอื ไทขนึ เป็นชนชาติหน่งึ ท่ีเรียกตนเองตามพ้ืนที่อยู่อาศยั ในลุ่มแม่น้า “ขึน หรือ ขืน”
ถือเป็นรัฐท่ีอยูใ่ นหบุ เขา โดยมเี มืองเชียงตุงเป็นศนู ย์กลางในเขตการปกครองของรัฐฉาน สหภาพเมียน
มาร์ ไทเขินที่อาศัยอยูใ่ นเมืองเชียงตุง เป็นกลุ่มไทที่มีภาษาและวัฒนธรรมแตกต่างไปจากกลุ่มไทใหญ่
ในรัฐฉาน ท้ังนี้แม้จะอยู่ในเขตรัฐฉานแต่ไทเขินก็มีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอ่ืนด้วย เช่น ไทยวน
และไทล้ือ เป็นต้น ซ่ึงทาให้รากฐานทางภาษา สังคม ศลิ ปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
ประวัติศาสตร์มีความสัมพนั ธก์ ับวัฒนธรรมอ่ืนๆ ท่ีใกล้ชิดกัน โดยเฉพาะความเช่ือความศรัทธาในเร่ือง
ผผี สมผสานกับพระพระพุทธศาสนา

11

ภาษาเขียนของชาวไทเขินได้รับมาจากอักษรธรรมล้านนา ที่ชาวไทยวนล้านนาเข้าไป
เผยแพร่พร้อมกับรากฐานทางพุทธศาสนา ส่วนภาษาพูดมีความใกล้เคียงกับภาษาไทล้ือ และ
ไทยอง ด้านวิถีชีวิตและความเป็นอยูโ่ ดยท่ัวไปชาวไทเขินมักทาการเกษตร ปลูกข้าว พืชผัก
เล้ียงสตั ว์อยา่ งพอเพียงในครอบครวั และใชช้ ีวิตอยา่ งเรียบง่ายในสังคมแบบเครอื ญาติ

ในอดีตชาวไทเขินบางส่วนถูกกวาดต้อนลงมายังอาเภอเมือง และอาเภอสันป่าตอง
จังหวัดเชียงใหม่ ชาวไทเขินกลุ่มนี้มีความสามารถในการทางานหัตถกรรมประเภทเคร่ืองเงิน
เคร่ืองเขิน ส่วนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบันที่หลงเหลือคือ การสร้างเรือนไทเขิน เป็นเรือน
ไม้ยกพ้ืนสูง หลังคาเรือนทรงจ่ัวปีกหลังคาย่ืนยาวเหมือนเรือนไทล้ือในสิบสองปันนา เม่ือยา้ ย
ถ่ินฐานเข้ามาในจังหวัดเชยี งใหม่ ก็ผสมผสานเรือนแบบหลังคาสองจ่ัวตามแบบเรือนไทยวนมา
ด้วย ท้ังนชี้ าวไทเขนิ ท่ีอยูใ่ นอาเภอสันปา่ ตองยงั มภี าษาพูดแบบไทเขนิ ที่ใช้สบื ต่อกันมา

12

การแต่งกายของสตรีชาวไทเขินนิยมสวมเส้ือป๊ ัดผา้ แพรสีอ่อน เช่น สีชมพู
สีขาว สีเหลือง สีครีม นุ่งซ่ินต๋าล้ือหรือต๋าโยนต่อตีนเขียวหากเป็นสตรีชน
ช้ันสูงจะนุ่งซ่ินไหมคาตีนบัวปักโลหะในโอกาสพิเศษเกล้ามวยผมไว้กลาง
กระหม่อมและเคียนหัวด้วยผ้าพ้ืนสีขาวหรือสีชมพู ส่วนบุรุษนิยมสวมเส้ือ
แขนยาว คอกลมหรือคอต้ัง กระดมุ ผ่าหน้า สวมกางเกงสะดอ และเคียนหัว
ด้วยผา้ พ้นื สขี าวหรือสีชมพู

13

ชาตพิ นั ธ์ุ

ดาราอง้ั

14

ดาราอ้ัง หรือท่ีชาวไทใหญเ่ รยี ก “ปะหล่อง” เป็นชนเผา่ ที่มีที่ต้ังถ่ินฐานอยูบ่ นดอยสูง กระจัดกระจายอยู่
บริเวณรัฐฉาน รัฐคะฉ่ิน สหภาพพม่า และมณฑลยูนนาน ประเทศจีน แต่ด้วยภัยสงครามและการละเมิดสิทธิ
มนษุ ยชนในประเทศพม่า ช่วงปี พ.ศ. 2511 – 2527 ชาวดาราอ้ังจานวนมากต้องข้ามน้าสาละวินลัดเลาะจาก
เชียงตอง เมืองป่ ัน ในเขตเชียงตุง มายังฝ่ ังประเทศไทย มาพ่ึงพระบรมโพธิสมภาร พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวฯ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้อาศัยบริเวณบ้านนอแล บ้านห้วยเลี้ยม บ้านแคะนุ ซ่ึงเป็นหมู่บ้านใกล้กับพ้ืนท่ี
รับผดิ ชอบของสถานเี กษตรหลวงอ่างขาง อาเภอฝาง และส่วนหน่งึ จัดให้อยู่ บ้านปางแดง บ้านแม่จร บ้านห้วย
โป่ง อาเภอเชียงดาว บ้านห้วยหวาย บ้านห้วยทรายขาว อาเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ และบ้านสันต้นปุย
อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ในส่วนของเรือนที่อยู่อาศยั ชาวดาราอ้ังนยิ มสร้างเรือนด้วยเสาไม้ ฟากและฝา
เป็นไม้ไผส่ บั เปน็ เรือนยกพ้นื สงู ข้ึนอยูก่ ับความลาดชันบนไหล่เขา และหลังคามุงด้วยหญ้าคา ดารงชีพด้วยการ
ทาเกษตรกรรมปลกู ข้าว ปลกู ขา้ วโพด และเล้ียงสตั ว์

15

ช า ว ด า ร า อ้ั ง มี ภ า ษ า พู ด เ ป็ น ข อ ง ต น เ อ ง คื อ ภ า ษ า ด า ร า อ้ั ง จั ด อ ยู่ ใ น ก ลุ่ ม ภ า ษ า
ป ะ ห ล่ อ ง – ว ะ แ ต่ โ ด ย ท่ั ว ไ ป แ ล้ ว ช า ว ด า ร า อั้ ง ส า ม า ร ถ พู ด ภ า ษ า ไ ท ย ใ ห ญ่ ไ ด้
เ น่ื อ ง จ า ก ถิ่ น ฐ า น เ ดิ ม อ ยู่ ใ ก ล้ ชิ ด แ ล ะ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ก ลุ่ ม ไ ท ใ ห ญ่ ช า ว ด า ร า อ้ั ง มี
ชี วิ ต ที่ ค่ อ น ข้ า ง ส ง บ แ ล ะ เ รี ย บ ง่ า ย ด้ ว ย เ พ ร า ะ ศ รั ท ธ า ใ น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ค ว บ คู่
ไ ป กั บ ค ว า ม เ ช่ื อ เ ร่ื อ ง ผี อั น เ ป็ น ค ว า ม เ ช่ื อ ด้ั ง เ ดิ ม ข อ ง บ ร ร พ บุ รุ ษ

16

สตรีชาวดาราอ้ังนิยมสวมเส้ือแขนกระบอก ผ่าหนา้ เอวลอย สีสันสดใส
ส่วนมากนยิ มสีดา น้าเงิน เขยี ว และมว่ ง ในสว่ นของสาบเส้อื เยบ็ ด้วยผา้ สีแดง
ตกแต่งด้วยเล่ือมและลูกปัดหลากสี น่งุ ซิ่นลายขวางสีแดงสลับลายร้ิวขาวเส้น
เล็ก ๆ ผนื ยาวกรอมเท้า เคียนหัวด้วยผ้าพ้ืนสีขาว และที่เป็นเอกลักษณ์โดด
เด่น คือ การสวมเอวด้วยวงหวาย บางคนก็ใช้โลหะสีเงินหรือทองตัดเป็นแถบ
ยาวตอกลาย แล้วขดเป็นวง สวมใส่ปนกัน เรียกว่า “หน่องว่อง” สาหรับบุรุษ
ชาวดาราอ้ังนิยมสวมเส้ือแขนยาวสีขาว กางเกงสะดอหรือกางเกงเซ่ียมสีน้า
เงิน เคียนหัวด้วยผา้ พ้ืนสีขาว และที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น คือ การแกะฟัน
และฝงั ด้วยทองคาหรอื อัญมณี ถือดาบ สะพายยา่ ม สูบกล้องยาสูบ

17

ชาตพิ นั ธุ ์

ปกาเกอะญอ

18

กะเหร่ียง หรือ ปกาเกอะญอ คนล้านนามักเรียกว่า “ยาง” พม่าเรียกว่า “กะยิ่น” ชาวตะวันตก
เรียกว่า “กะเรน” กลุ่มชาติพันธุ์น้เี รียกตนเองว่า “กะเหร่ียง” ประกอบด้วยกะเหร่ียงหลากหลาย
กลุ่ม กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ปกาเกอะญอ (สกอว์) โพล่ง (โปว์) ตองสู้ (ปะโอ) และบะแก (บะเว) แต่เดิม
กะเหรี่ยงต้ังถิ่นฐานอยูบ่ ริเวณต้นแม่น้าสาละวิน สหภาพพม่า ต่อมาได้อพยพเข้ามาตามแนวตะเข็บ
ชายแดนไทย-พม่า สู่ภาคเหนอื และภาคตะวันตกของประเทศไทย ใน 15 จังหวัด เช่น เชียงใหม่
ลาพูน แม่ฮ่องสอน ตาก และกาญจนบุรี แม้กะเหร่ียงจะได้ช่ือว่าเป็นชาวเขา แต่ก็มิได้อาศยั บนเขา
สูงเสยี ท้ังหมด บางสว่ นสร้างบ้านแปลงเรอื นอาศยั อยูบ่ ริเวณพ้ืนท่ีราบ หรือพ้ืนท่ีราบเชิงเขา เหมือน
กลุ่มชาติพันธุไ์ ทอ่ืนๆ เช่น ชาวกะเหรี่ยงในบ้านพระบาทห้วยต้ม อาเภอล้ี จังหวัดลาพูน เป็นต้น ใน
ส่วนของบ้านเรือนท่ีอยู่อาศัย ชาวกะเหรี่ยงนยิ มสร้างเรือนไม้ยกพ้ืนสูง มีชานเรือน หลังคาหนา้ จ่ัว
ยาวคลุมตัวบ้านมุงด้วยหญ้าคา ไมม่ หี นา้ ต่าง และดารงชพี ด้วยเกษตรกรรมและหาของปา่

19

กะเหร่ียงมีภาษาเป็นของตนเอง คือ ภาษากะเหร่ียง เป็นภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต สาขา
ทิเบต-พม่า แบ่งเป็นภาษายอ่ ยได้ 8 ภาษา คือ สะกอ โป กะยา เฆโก มอบวา (บิลีจี , เดอมูฮา)
ปาไลซิ ต้องสู้ และ เวเวา นอกจากนย้ี ังมีสาเนยี งอีกหลายแบบ ซ่ึงแตกต่างกันไปตามพ้ืนที่ต้ังถ่ิน
ฐาน แด่เดิมชาวกะเหรย่ี งนบั ถือผี โดยเฉพาะผบี รรพบุรุษ ผอี ารักษ์ และผตี ่าง ๆ ท่ีสถิตตามป่าเขา
ลาน้า และบริเวณหมู่บ้าน ต่อมาเม่ือมีปฏิสัมพันธก์ ับคนพ้ืนราบจึงหันมานับถือพระพุทธศาสนา
และบางสว่ นนบั ถือศาสนาครสิ ต์ตามท่ีมิชช่ันนารไี ด้เขา้ มาเผยแพร่ศาสนจักร

20

การแต่งกายของชาวกะเหรยี่ งแต่ละพ้นื ท่ีแต่ละกล่มุ มีการแต่งกายท่ีต่างกันแต่มี
จุดร่วมที่คล้ายๆกันคือเด็กและหญิงสาวจะเป็นชุดคลุมยาวเป็นผ้าฝ้ายพ้ืนขาวทอ
หรอื ปกั ประดับลวดลายให้งดงามสว่ นสตรีที่แต่งงานแล้วจะสวมเส้อื สีดาน้าเงินหรือ
สีเข้มและผ้านุ่งสีแดงคนละท่อนตกแต่งด้วยลูกเดือยหรือทอยกดอกยกลายส่วน
บุรุษนิยมสวมเส้ือตัวยาวถึงสะโพกตัวเส้ือจะมีการตกแต่งด้วยแถบสีไม่มีการปัก
ประดับเหมือนเส้ือสตรีนุ่งกางเกงสะดอนิยมใช้สร้อยลูกปัดเป็นเคร่ืองประดับและ
สวมกาไลเงินหรือต้มุ หู

21

ชาติพันธุ ์

22

ลัวะ หรือ ละว้า หรือ ละเวือะ คือชนเผา่ พ้ืนเมืองก่อนชาติพันธุ์ไทย เป็นเจ้าของพ้ืนที่ด้ังเดิมก่อน
การสร้างชาติรัฐล้านนา ในอดีตลัวะเคยมีวิวัฒนาการท่ีเจริญรุ่งเรือง มีการสร้างบ้านแปลงเมือง มีระบอบ
การปกครอง มีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตเป็นอัตลักษณ์เป็นของตนเอง เม่ือถูกชาติพันธุ์ไทรุกรานจึงถอยร่นสู่
ท่ีราบเชิงเขาและสันเขาปัจจุบันต้ังถ่ินฐานอาศัยอยู่ในรัฐฉานสหภาพพม่าตอนเหนือของลาวและทาง
ภาคเหนือของประเทศไทยโดยกระจัดกระจายอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย และนา่ น ใน
ส่วนของ บ้านเรือนที่อยูอ่ าศัย ชาวลัวะนยิ มสร้างเรือนไม้ยกพ้ืนสูง หลังคาสูงชันคลุมลงเกือบจรดพ้ืนดิน
มุงด้วยหญ้าคาหรือตองตึง มีกาแลสลักไขว้กันสองอันเป็นหน้าจ่ัว และเน่ืองจากชาวลัวะมีอาชีพหลักคือ
เกษตรกรรม รอบ ๆ หมู่บ้านจะเปน็ พ้นื ที่สาหรับเพาะปลูก และเลี้ยงสตั ว์

23

ชาวลัวะมีภาษาเป็นของตนเอง คือ ภาษาลัวะ เป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก
กล่มุ มอญ-เขมร แต่เดิมมกี ารนบั ถือผี โดยเฉพาะผเี ส้อื บ้าน และผบี รรพบุรุษ โดยเม่ือแต่งงาน
แล้วฝา่ ยหญิงจะนบั ถือสายผตี ามสามี และบุตรชายคนเล็กจะได้สิทธิ์ในการรับมรดกและดูแล
สายผี ภายหลังเม่ือมีปฏิสัมพันธ์กับคนพ้ืนราบ จึงได้มีการนบั ถือพระพุทธศาสนาควบคู่ไปกับ
ความเช่อื ด้ังเดิม และซึมซับรบั วัฒนธรรมจากกล่มุ ชาติพันธุไ์ ทเขา้ ไปใช้ในชวี ิตประจาวัน

24

สตรีชาวลัวะนยิ มสวมเส้ือสีขาวหรือสีดาแขนส้ันกุ๊นด้วยด้ายสีนุ่งซ่ิน
ส้ันคร่ึงเข่าสีดามีลายค่ันเป็นแถบสีแดง ชมพู และน้าเงินแซมขาว ซ่ึงได้จาก
การมัดย้อมหรือป่ ันไก พันแขนด้วยผ้าปอเต๊ะ พันขาด้วยผ้าปอซวง สตรี
ชาวลัวะนิยมแสกกลางศีรษะมวยต่าไว้ท้ายทอย ประดับมวยผมด้วยป่ ินขน
เม่นสวมสร้อยเงินเม็ด สร้อยลูกเดือย สร้อยลูกปัดสีแดง สีส้ม สีเหลือง และ
ใส่ต้มุ หูไหมพรมยาวถึงไหล่ ส่วนบุรุษนยิ มสวมเส้ือแขนยาวสีขาวผ่าหน้า นุ่ง
กางเกงสะดอขาว เคียนหัวด้วยผา้ สีแดงหรือชมพู และพกมีดด้ามงาชา้ ง

25

ชาติพันธุ์

ไทใหญ่

26

มีถิ่นกาเนดิ อยูท่ ี่รัฐฉาน สหภาพพม่า เรียกตัวเองว่า “คนไต” แต่ชาวล้านนาท่ัวไปมักเรียกว่า “เงี้ยว” โดยมี
เมืองหลวงท่ีถือเป็นศนู ยก์ ลาง คือ เมืองตองจีหรือตองกี นอกจากน้นั ยงั มีชาวไทใหญ่ส่วนหน่งึ ที่อพยพมาอาศยั อยู่ใน
ประเทศไทย เช่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงราย และอาเภอเชียงดาว อาเภอเวียงแหง ทางตอนเหนอื ของ
จังหวัดเชียงใหม่ ท้ังน้ียังมีกลุ่มชาวไทใหญ่ที่อาศยั อยู่ในทางตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลยูนาน สาธารณรัฐประชาชน
จีน เชน่ เมอื งมาว เมอื งวัน เมอื งหล้า เมืองขอน เป็นต้น และบางส่วนของรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย โดยเฉพาะที่ตาบล
ซ้างปานี แขวงเมืองสิพพสาครและอรุณาจลประเทศ ซ่ึงเป็นพ้ืนที่เหล่านเ้ี ป็นพ้ืนที่ราบลุ่มระหว่างหุบเขาท้ังส้ิน ชาว
ไทใหญ่นินมสร้างเรือนใต้ถุนเตี้ย หลังคาจ่ัวเดียว หากเป็นครัวครอบใหญ่นิยมสร้างเป็นหลังคาสองจ่ัว และมัก
ประกอบอาชพี เกษตรกรรมและการค้าขาย

27

ไทใหญ่มีภาษา การดาเนนิ ชีวิต ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม โดดเด่นแตกต่างออกไปจากชาวไทล้ือ
และชาวไทยวน โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การนบั ถือพุทธศาสนาควบคู่กับภูตผีและส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ที่มีวิธกี ารปฏิบัติอยา่ งเคร่งครัด
ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของเทวดาและผีเส้ือบ้านเส้ือเมือง และยดึ ถือในการทาบุญแต่ละประเพณีเป็นอย่างมาก ดังประโยคที่
กล่าวไว้ว่า “กินอยา่ งม่าน ตานอยา่ งไต” ท่ีหมายถึงชาวไทใหญจ่ ะนยิ มการทาบุญทาทานมาก

28

สตรีชาวไทใหญ่นยิ มสวมเส้ือแซค เป็นเส้ือเน้อื บางแขนยาวหรือสามส่วน
ป้ายสาบเส้ือทับไปทางขวาโดยใช้กระดุมผา้ หรือกระดมุ โลหะสอดยดึ ห่วง นุ่งซิ่น
เน้อื บาง เช่น ซ่ินก้อง ซ่ินส่วยต้อง ซ่ินปะล่อง ซิ้นหล้าย ซ่ินฮายย่า ซิ่นถุงจ้าบ
และซิ่นปาเต๊ะ ทรงผมเกล้ามวยตามอายุ เช่น หากเป็นเด็กมักปล่อยหนา้ ม้า เม่ือ
เจริญวัยจึงเกล้ามวยผมไว้กลางกระหม่อมท่ีเรียกว่า “สะต๊อก” พอแต่งงานและ
เริ่มสูงวัยข้ึนจึงทาผมทรงเกล้าป้าด เกล้าขัดแก้ง และเกล้า จ็อกตามอายุ ส่วน
บุรุษนิยมสวมเส้ือเเซคหรือเส้ือแต้กปุ่ง เป็นเส้ือแขนยาว คอกลม กระดุมผ่าหนา้
มีกระเป๋าเส้ือ นุ่งกางเกงสะดอเรียกว่า “ก๋นไต หรือ โก๋นโห่งโย่ง” มัดเอวและ
เคียนหวั ด้วยผา้ สอี ่อน เชน่ สขี าว ชมพู หรือเหลือง

29

บรรณานกุ รม

ชาติพันธุ์ล้านนา,(ม.ป.ป.),สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัเชียงใหม่,สืบค้นเม่ือ16 สิงหาคม 2565,
จากแหล่งขอ้ มลู https://linkdi.me/5q6d7

สรสั วดี อ๋องสกลุ ,(2544), ประวัติศาสตร์ล้านนา,สานกั พิมพ์อมรนิ ทร์,สืบค้นเม่อื 16 สิงหาคม 2565 ,
จากแหล่งข้อมลู https://linkdi.me/f8kig

ประวัติผ้ทู า

ช่อื นางสาวนม่ิ ยอดเงิน รหัส 6310540131019
คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
กาลังศกึ ษาอยู่ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
ประวัติการศกึ ษา

• ระดับอนบุ าล โรงเรยี นบ้านหนองยาว อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
• ระดับประถมศกึ ษา โรงเรยี นบ้านขอบด้ง อาเภอฝาง จังหวัดเชยี งใหม่
• ระดับมัธยมศกึ ษา(ตอนต้น) โรงเรยี นชุมชนบา้ นสบเปา อาเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
• ระดับมธั ยมศึกษา(ตอนปลาย) โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร๙์ โครงการหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์

อาเภอฝาง จังหวัดเชยี งใหม่
• ปัจจุบนั กาลังศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาการสอนภาษาไทย ช้นั ปีที่ 3 คณะศกึ ษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหามกฎุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา

" 7 ชาติพันธุใ์ นล้านนา"
ชาวล้านนาในปัจจุบนั มที ี่มาจากการผสมผสานและดารงชีพอยูร่ ่วมกันมาของชนชาติต่างๆ ท่ีถือได้ว่าเปน็
บรรพบุรุษของชาวล้านนาจากพ้นื ที่ต่างๆ ซ่งึ มวี ัฒนธรรมท้ังด้านเคร่อื งเเต่งกาย ประเพณี เทศกาลเเละความ

เช่อื เเตกต่างกันออกไป

สสี นั
ชาตพิ นั ธล์ ้านนา


Click to View FlipBook Version