The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kiwraw01, 2022-08-02 22:32:41

e-book IP SURIC

e-book IP SURIC

การจัดทำ�หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับความรู้
ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาเบอื้ งตน้ น้ี มีวัตถปุ ระสงค์เพ่อื เผยแพรค่ วามรู้
ด้านทรัพย์สินทางปัญญาในเบื้องต้น ให้มีความกระชับและเข้าใจ
ง่ายมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความรู้ความเข้าใจ และทราบถึง
ทรัพย์สินทางปัญญาประเภทต่างๆ เช่น ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร
ความลับทางการค้า เครื่องหมายการค้า แบบผังภูมิของวงจรรวม
สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การคุ้มครองพันธุ์พืช
รวมถึงขั้นตอนการขอรับบริการของสำ�นักงานบริหารการวิจัย
นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะผู้จัดทำ�หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เกยี่ วกบั ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาเบอื้ งตน้ จะเป็นประโยชนแ์ ก่บคุ ลากร
นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้สนใจ และผู้ที่เกี่ยวข้องที่ใช้
เป็นแนวทางในการดำ�เนินงานการขอรับความคุ้มครองทรัพย์สิน
ทางปัญญาของมหาวิทยาลัยต่อไป

คณะผ้จู ัดทำ�

สารบญั

ทรัพยส์ ินทางปญั ญา
ความหมายของทรัพย์สินทางปัญญา...............................................................................1
ประเภททรัพย์สินทางปัญญา.........................................................................................1

ลขิ สทิ ธิ์
ความหมายของลิขสิทธิ์...............................................................................................2
งานที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครอง.............................................................................2
สิ่งต่อไปนี้่ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์..............................................................................3
ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นเมื่อใด..................................................................................................3
ความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์..............................................................................................4
สิทธิในลิขสิทธิ์.........................................................................................................4
อายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์.............................................................................................5
การจดแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์..............................................................................................5
ตัวอย่างงานอันมีลิขสิทธิ์.............................................................................................6
ข้ันตอนการขอรบั ความคุ้มครองทรัพย์สนิ ทางปญั ญามหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร..................................7
การยื่นจดแจ้งลิขสิทธิ์
ตัวอย่างหนังสือแสดงการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์.........................................................................8
ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม
ประเภทของทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม.............................................................................9
สิทธิบัตร
ความหมายของสิทธิบัตร............................................................................................10
ประเภทของสิทธิบัตร................................................................................................11
การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้....................................................................................12
การประดิษฐ์ที่ไม่สามารถขอรับความคุ้มครองได้.................................................................13
ข้นั ตอนการขอรบั ความค้มุ ครองทรพั ย์สินทางปญั ญามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร..................................14
สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร
เอกสารประกอบการยนื่ ขอรบั ความคมุ้ ครองตอ่ กรมทรัพย์สินทางปญั ญา.....................................15
ขั้นตอนการขอรับความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญามหาวิทยาลัยศิลปากร..................................16
สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ์
ตวั อยา่ งผลงานทรัพยส์ ินทางปัญญา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร.....................................................17

ความลับทางการค้า

ความหมายของความลับทางการค้า..............................................................................25

ขอ้ เสียของความลบั ทางการคา้ ....................................................................................26

ตัวอย่างความลับทางการคา้ .......................................................................................26
เครอื่ งหมายการค้า
ประเภทของเครอ่ื งหมายการคา้ ......................................................................................27
เครือ่ งหมายการคา้ อันพงึ รบั จดทะเบียนได้.........................................................................28
เครอ่ื งหมายการคา้ ทม่ี ลี กั ษณะตอ้ งหา้ มมใิ หร้ บั จดทะเบยี น.......................................................28
แบบผังภูมิของวงจรรวม
ความหมายของแบบผงั ภมู ิของวงจรรวม............................................................................32

อายุความคุ้มครองของแบบผังภูมิของวงจรรวม...................................................................32
สงิ่ บง่ ช้ที างภูมิศาสตร์

ความหมายของสงิ่ บ่งชี้ทางภูมศิ าสตร.์ .............................................................................33
อายุความคมุ้ ครองของส่ิงบง่ ชที้ างภมู ศิ าสตร์.....................................................................33
ประเภทของส่งิ บ่งชท้ี างภูมิศาสตร์...................................................................................33
ตวั อยา่ งส่ิงบ่งช้ีทางภูมศิ าสตร์......................................................................................34
ประโยชน์ของสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์................................................................................34
สนิ ค้าที่ไมส่ ามารถขน้ึ ทะเบยี นสงิ่ บ่งชที้ างภมู ิศาสตร์ได้...........................................................35
ขัน้ ตอนการขอใช้ตราสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์.......................................................................35
ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น
ความหมายของภูมิปัญญาท้องถน่ิ .................................................................................36
การคุ้มครองพันธ์ุพืช
ประเภทของพนั ธ์พุ ชื ................................................................................................37
เงือ่ นไขการคุ้มครองพนั ธ์ุพชื ........................................................................................37
อายุการคมุ้ ครองพนั ธพุ์ ชื ...........................................................................................37

1

ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา

ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา หมายถงึ ผลงานอันเกดิ จากการประดษิ ฐ์ คิดคน้ หรอื
ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องมนุษย์ในรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงรัฐจะให้ความค้มุ ครอง เพือ่ เปน็ แรงจูงใจ
ใหเ้ กดิ การสร้างสรรคผ์ ลงานที่เกิดประโยชน์และคุณคา่ ตอ่ สังคม
ทรพั ย์สนิ ทางปัญญาเป็นทรัพยส์ ินอีกชนิดหนึ่ง นอกเหนือจากสังหารมิ ทรพั ย์
และอสงั หาริมทรัพย์

ประเภททรัพยส์ ินทางปัญญา

ทรัพยส์ นิ ทางปัญญาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) ลิขสทิ ธิ์ (Copyright)



2) ทรพั ย์สินทางอตุ สาหกรรม (Industrial property)

Intellectual Property, Silpakorn

2

C ลิขสิทธ์ิ

ความคมุ้ ครองทมี่ ีใหแ้ กเ่ จ้าของผลงานท่เี กิดจากความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรค์ การใช้
สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะ ถือเป็นทรัพย์สินทางปัญญา
ประเภทหนึ่งทมี่ คี ณุ ค่าทางเศรษฐกจิ

งานทีก่ ฎหมายลขิ สิทธ์ิใหค้ วามคุม้ ครอง

วรรณกรรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม
โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่ภาพแพร่เสียง หรืองานอื่นใดใน
แผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ

การแสดงออก สรา้ งสรรค์ กฎหมาย ไม่ขัด
ซ่งึ ความคิด ด้วยตนเอง รบั รอง ต่อกฎหมาย

Intellectual Property, Silpakorn

3

สงิ่ ตอ่ ไปนี่้ไมถ่ ือวา่ เป็นงานอันมีลขิ สิทธ์ิ

• ขา่ วประจำ�วนั และข้อเท็จจรงิ ต่าง ๆ ท่มี ีลกั ษณะเป็นเพียงข่าวสาร
• รฐั ธรรมนญู และขอ้ กฎหมาย
• ระเบยี บ ข้อบงั คับ ประกาศ ค�ำ ส่ัง ค�ำ ชแี้ จง และหนังสอื โต้ตอบ ของรัฐ
• คำ�พพิ ากษา คำ�ส่งั ค�ำ วนิ จิ ฉัย รายงานของทางราชการ
• ค�ำ แปลและการรวบรวมงานข้างต้นโดยรัฐ
• ความคดิ ขน้ั ตอน กรรมวธิ ี ระบบ วธิ ใี ช/้ ท�ำ งาน แนวความคดิ หลกั การ การคน้ พบ/

ทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์

ลิขสทิ ธิ์เกดิ ขนึ้ เมื่อใด ?

สิทธใิ นลขิ สิทธ์เิ กดิ ข้ึนโดยทนั ทีนบั ตัง้ แตผ่ ูส้ รา้ งสรรค์ไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานโดยไม่
ต้องจดทะเบยี น

เจ้าของลิขสทิ ธิค์ วรปกป้องคุ้มครองสิทธขิ องตน โดยเกบ็ รวบรวมหลักฐานต่างๆ
ที่แสดงว่าได้ทำ�การสร้างสรรค์ผลงานนั้นขึ้นเพื่อประโยชน์ในการพิสูจน์สิทธิ หรือ
ความเปน็ เจา้ ของ

Intellectual Property, Silpakorn

4

ความเปน็ เจา้ ของลิขสทิ ธ์ิ

• เป็นผู้สรา้ งสรรคเ์ อง
• กรณีจา้ งแรงงานโดยมหี นงั สือตกลงวา่ ใหน้ ายจ้างเป็นเจา้ ของลิขสทิ ธ์ิ
• กรณจี ้างท�ำ ของโดยมีหนงั สือตกลงวา่ ใหผ้ วู้ ่าจ้างเปน็ เจ้าของลิขสิทธิ์
• ผู้ดดั แปลง รวบรวม ประกอบเข้ากนั โดยไดร้ ับอนญุ าตจากเจา้ ของลิขสทิ ธิ์
• กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานรัฐ โดยการจ้าง หรือ ตามคำ�สั่ง หรือ ในCความ
ควบคมุ ของตน
• เปน็ ผรู้ บั โอนลขิ สิทธ์ิ

สทิ ธิในลิขสทิ ธ์ิ

เจา้ ของลขิ สิทธิย์ อ่ มมสี ิทธิแตเ่ พียงผูเ้ ดียว

(1) ท�ำ ซ้�ำ หรอื ดัดแปลง C
(2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน การแสดง การบรรยาย การจำ�หนา่ ย
(3) ใหเ้ ชา่ ต้นฉบับหรือสำ�เนางานโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ โสตทัศนวสั ดุ

ภาพยนตร์ และส่ิงบนั ทึกเสียง
(4) ใหป้ ระโยชนอ์ ันเกดิ จากลขิ สทิ ธิ์แก่ผูอ้ ื่น
(5) อนุญาตให้ผู้อนื่ ใชส้ ิทธิตาม (1), (2) หรือ (3)

Intellectual Property, Silpakorn

5

การจดแจง้ ขอ้ มูลลิขสิทธ์ิ

เพื่อรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับงานลิขสิทธิ์ ซึ่งจะเป็นองค์ประกอบหนึ่งใน
การพทิ ักษแ์ ละคุ้มครองสิทธขิ องเจ้าของลิขสิทธ์ิ

เป็นแหล่งข้อมูลสำ�หรับผู้ต้องการขออนุญาตใช้ลิขสิทธิ์ ให้สามารถตรวจค้น
เพอื่ ประโยชน์ในการติดตอ่ ธรุ กจิ

อายุการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์

ลขิ สิทธ์ิ (Copyright) เกดิ ขนึ้ ทันทีนบั แต่ไดส้ รา้ งสรรค์ผลงาน ไม่ต้องจดทะเบยี น
งานทั่ว ๆ ไป ลิขสิทธิ์จะมีตลอดอายุผู้สร้างสรรค์ และจะมีต่อไปอีก 50 ปี นับแต่

ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย กรณีเป็นนิติบุคคล ลิขสิทธิ์จะมีอยู่ 50 ปี นับแต่ได้
สรา้ งสรรค์งานน้นั ขึ้น 

งานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง หรืองานแพร่เสียงแพร่
ภาพ และงานที่สร้างสรรค์โดยการจ้างหรือตามคำ�สั่งของหน่วยงานรัฐ ลิขสิทธิ์มีอยู่
50 ปี นับแตไ่ ดส้ ร้างสรรคง์ านนัน้ ขึ้น 

งานศิลปะประยุกต์ ลิขสิทธิ์มีอยู่ 25 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้
มีการโฆษณางานนั้น ในระหว่างระยะเวลาดังกล่าวให้ลิขสิทธิ์มีอยู่ต่อไปอีก 25 ปี
นับแต่ไดโ้ ฆษณาครงั้ แรก

Intellectual Property, Silpakorn

6

ตวั อยา่ งงานอนั มลี ขิ สิทธ์ิ

Intellectual Property, Silpakorn

7
Intellectual Property, Silpakorn

8

ตวั อย่างหนังสอื แสดงการแจ้งข้อมูลลขิ สทิ ธิ์

การรบั หนงั สือแสดงการแจง้ ขอ้ มลู ลขิ สิทธิ์ :
* รับด้วยตนเอง ณ กรมทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา หรือ จดั สง่ ทางไปรษณยี ์

Intellectual Property, Silpakorn

9

ทรัพยส์ ินทางอตุ สาหกรรม

สามารถแบง่ ออกไดด้ งั น้ีคือ

• สทิ ธบิ ตั ร (Patent), อนุสทิ ธบิ ัตร (Petty patent)
• ความลบั ทางการค้า (Trade secrets)
• เคร่อื งหมายการคา้ (Trademark)
• แบบผังภมู ิของวงจรรวม (Layout-designs of integrated circuit)
• ส่ิงบง่ ช้ีทางภูมิศาสตร์ (Geographical indication)
• ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ (Local wisdom)

Intellectual Property, Silpakorn

10

สิทธิบัตร

หนังสอื สำ�คัญท่รี ัฐออกให้เพ่อื คุ้มครองสิทธทิ ่มี ีลกั ษณะตามท่กี ฎหมายกำ�หนด

Intellectual Property, Silpakorn

11

ประเภทสทิ ธบิ ัตร

1) สิทธิบตั รการประดิษฐ ์
ผลงานทีเ่ ปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ลกั ษณะ องคป์ ระกอบ โครงสรา้ ง หรือกลไก และ/หรือ

กรรมวิธี ในการปฏิบัติ การผลิต การเกบ็ รกั ษา การปรับปรงุ คณุ ภาพ
อายคุ วามคมุ้ ครอง 20 ปี

2) อนุสทิ ธบิ ตั ร
คมุ้ ครองเหมอื นการประดษิ ฐ์ แตเ่ ปน็ ผลงานทม่ี รี ะดบั การพฒั นาในเทคโนโลยี

ไมส่ ูงมาก ไม่ซบั ซอ้ น หรอื มีการปรับปรงุ จากงานเดมิ เพียงเล็กน้อย
อายคุ วามคุ้มครอง 6 ปี ตอ่ อายไุ ด้ 2 ครั้ง ๆ ละ 2 ปี รวม 10 ปี

3) สิทธิบัตรออกแบบผลติ ภณั ฑ ์
ความคิดสร้างสรรค์ เกยี่ วกบั รูปร่าง ลวดลาย สีสัน ลักษณะภายนอกของ

ผลิตภณั ฑ์ท่ีแตกต่างจากเดิม
อายคุ วามคุ้มครอง 10 ปี

Intellectual Property, Silpakorn

12

การประดิษฐ์ท่ขี อรบั สทิ ธบิ ตั รได้ ต้องประกอบด้วย
ลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้

มาตรา 6 การประดษิ ฐข์ น้ึ ใหม่ ไดแ้ กก่ ารประดษิ ฐท์ ่ีไมเ่ ปน็ งานทป่ี รากฏอยแู่ ลว้
(1) การประดิษฐ์ที่มีหรือใช้แพร่หลายอยู่แล้วในราชอาณาจักรก่อนวันขอรับ

สิทธิบตั ร
(2) การประดิษฐ์ที่ได้มีการเปิดเผยสาระสำ�คัญหรือรายละเอียดในเอกสาร หรือ

สิ่งพิมพ์ที่ได้เผยแพร่อยู่แล้วไม่ว่าในหรือนอกราชอาณาจักรก่อนวันขอรับ
สิทธิบัตร และไม่ว่าการเปิดเผยนั้นจะกระทำ�โดยเอกสาร สิ่งพิมพ์ การนำ�
ออกแสดง หรือการเปิดเผยต่อสาธารณชนด้วยประการใดๆ
(3) การประดิษฐ์ที่ได้รับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรแล้วไม่ว่าในหรือนอก
ราชอาณาจกั รกอ่ นวนั ขอรับสิทธิบัตร
(4) การประดิษฐ์ที่มีผู้ขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรไว้แล้วนอกราชอาณาจักร
เป็นเวลาเกินสิบแปดเดือนก่อนวันขอรับสิทธิบัตร แต่ยังมิได้มีการออก
สิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรให้
(5) การประดิษฐ์ที่มีผูขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรไวแลวไมวาในหรือนอก
ราชอาณาจักรและไดประกาศโฆษณาแล้วก่อนวันขอรับสิทธิบัตรใน
ราชอาณาจักร

การเปิดเผยสาระสำ�คัญหรือรายละเอียดที่เกิดขึ้นหรือเป็นผลมาจากการกระทำ�
อันมิชอบด้วยกฎหมาย หรือการเปิดเผยสาระสำ�คัญหรือรายละเอียดโดยผู้ประดิษฐ์
รวมทั้งการแสดงผลงานของผู้ประดิษฐ์ในงานแสดงสินค้าระหว่างประเทศ หรือใน
งานแสดงตอ่ สาธารณชนของทางราชการและการเปดิ เผยสาระส�ำ คญั หรอื รายละเอยี ด
ดังกล่าว ได้กระทำ� ภายในสิบสองเดือนก่อนที่จะมีการขอรับสิทธิบัตร มิให้ถือว่าเป็น
การเปิดเผยสาระสำ�คญั หรือรายละเอยี ดตาม (2)

มาตรา 7 การประดิษฐ์ที่มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น ได้แก่ การประดิษฐ์ที่ไม่เป็นที่
ประจกั ษ์โดยงา่ ยแก่บุคคลทีม่ คี วามชำ�นาญในระดับสามัญส�ำ หรบั งาน
ประเภทน้นั

Intellectual Property, Silpakorn

13

มาตรา 8 การประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม ได้แก่ การประดิษฐ์
ที่สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม รวมทั้ง
หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรม

การประดิษฐ์ท่ีไม่สามารถขอรบั ความค้มุ ครองได้

มาตรา 9 การประดษิ ฐด์ ังตอ่ ไปน้ีไม่ไดร้ บั ความค้มุ ครองตามพระราบัญญัติ
(1) จลุ ชพี และสว่ นประกอบสว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของจลุ ชพี ทม่ี อี ยตู่ ามธรรมชาติ สตั ว์

พชื หรอื สารสกดั จากสัตว์หรือพชื
(2) กฎเกณฑแ์ ละทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์
(3) ระบบข้อมลู ส�ำ หรับการทำ�งานของเครื่องคอมพิวเตอร์
(4) วธิ ีการวนิ ิจฉยั บำ�บดั หรือรักษาโรคมนษุ ย์ หรือสัตว์
(5) การประดิษฐ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี อนามัยหรือ

สวัสดิภาพของประชาชน

มาตรา 57 การออกแบบผลติ ภณั ฑด์ งั ตอ่ ไปน้ีไมถ่ อื วา่ เปน็ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ใหม ่
(1) แบบผลิตภัณฑ์ที่มีหรือใช้แพร่หลายอยู่แล้วในราชอาณาจักรก่อนวันขอรับ

สิทธิบัตร
(2) แบบผลติ ภณั ฑท์ ไ่ี ดม้ กี ารเปดิ เผยภาพสาระส�ำ คญั หรอื รายละเอยี ดในเอกสาร

หรอื สง่ิ พมิ พท์ ไ่ี ดเ้ ผยแพรอ่ ยแู่ ลว้ ไมว่ า่ ในหรอื นอกราชอาณาจกั ร กอ่ นวนั ขอรบั
สทิ ธบิ ัตร
(3) แบบผลติ ภัณฑ์ท่เี คยมปี ระกาศโฆษณาก่อนวนั ขอรับสทิ ธบิ ัตร
(4) แบบผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกับแบบผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใน (1),(2) หรือ (3) จนเห็น
ไดว้ า่ เปน็ การเลยี นแบบ

มาตรา 58 การออกแบบผลติ ภัณฑด์ ังต่อไปนข้ี อรบั สทิ ธบิ ตั รไม่ได ้
(1) แบบผลิตภัณฑ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
(2) แบบผลิตภัณฑท์ ก่ี ำ�หนดโดยพระราชกฤษฎีกา

Intellectual Property, Silpakorn

14
Intellectual Property, Silpakorn

15

เอกสารประกอบการย่ืนขอรบั ความคุ้มครอง
ต่อกรมทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา

สิทธิบตั ร/อนสุ ิทธบิ ตั ร รายละเอยี ดการประดษิ ฐ์ (Description)

• แบบพมิ พค์ ำ�ขอรับความคุ้มครอง - ชอื่ ทีแ่ สดงถึงการประดษิ ฐ์
• รายละเอยี ดการประดษิ ฐ์ - สาขาวทิ ยาการที่เกี่ยวข้องกับการ
• ข้อถอื สทิ ธิ ประดษิ ฐ์
• บทสรุปการประดิษฐ์ - ภมู ิหลงั ของศลิ ปะหรอื วทิ ยาการท่ี
เกี่ยวขอ้ ง
สิทธิบตั รการออกแบบ - ลกั ษณะและความมุ่งหมายของการ
ประดษิ ฐ์
• แบบพิมพค์ ำ�ขอรับความคมุ้ ครอง - การเปดิ เผยการประดษิ ฐ์โดยสมบูรณ์
• ค�ำ พรรณนาแบบผลติ ภัณฑ์ (ถา้ ม)ี - ค�ำ อธบิ ายรูปเขียนโดยย่อ (ถา้ ม)ี
• ข้อถอื สิทธิ - วธิ กี ารในการประดษิ ฐท์ ดี่ ีท่สี ุด
• ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ์
(รูปเขียนหริภื าพถ่าย)

Intellectual Property, Silpakorn

16
Intellectual Property, Silpakorn

17

ตวั อยา่ งผลงานทรัพยส์ ินทางปญั ญา
มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

Intellectual Property, Silpakorn

18
Intellectual Property, Silpakorn

19
Intellectual Property, Silpakorn

20
Intellectual Property, Silpakorn

21
Intellectual Property, Silpakorn

22
Intellectual Property, Silpakorn

23

คณะเภสชั ศาสตร์

คณะวิทยาศาสตร์

Intellectual Property, Silpakorn

24

คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม

คณะอกั ษรศาสตร์

ลข

Intellectual Property, Silpakorn

25

ความลบั ทางการค้า (Trade secret)

เงอ่ื นไขความคมุ้ ครอง

ไมต่ ้องจดทะเบยี น
รกั ษาสภาพใหค้ งเปน็ ความลบั

ความแตกต่างระหวา่ ง
การให้ความคุ้มครองความลับทางการค้า กับ สทิ ธบิ ัตร

สทิ ธิบตั ร ความลับทางการคา้

จดทะเบยี น : เสียคา่ ใช้จ่าย ไมต่ อ้ งจดทะเบยี น : ไม่เสยี คา่ ใช้จ่าย
(แต่อาจแจ้งข้อมลู ความลบั ทางการ)
ตอ้ งเปิดเผยรายละเอยี ด
การประดิษฐ์ ไมต่ ้องเปิดเผยรายละเอียด
ของความลับทางการคา้
อายกุ ารคุ้มครอง
มรี ะยะเวลาจ�ำ กัด อายุการค้มุ ครองไมม่ รี ะยะเวลาจ�ำ กัด

Intellectual Property, Silpakorn

26

ข้อเสยี ของความลบั ทางการคา้

• ไม่ได้รบั ความคุ้มครองในกรณีท่ีผอู้ น่ื ค้นพบความลับ โดยไม่มเี จตนาทุจรติ
• ผู้อนื่ สามารถทำ�วิศวกรรมย้อนกลับได้ โดยไมเ่ ป็นการละเมิดสทิ ธิ

ตัวอยา่ งความลบั ทางการคา้

ได้แก่ สูตรยา สูตรอาหาร สูตรเครื่องดื่ม สูตรเครื่องสำ�อาง กรรมวิธีการผลิต
ขอ้ มลู การบริหารธุรกจิ รายละเอียดเกย่ี วกับราคาสินคา้ บญั ชรี ายชอ่ื ลกู คา้ ฯลฯ

Intellectual Property, Silpakorn

27

เคร่อื งหมายการคา้ (Trademark)

ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 ได้กำ�หนดประเภท
เครอื่ งหมายการค้าไว้ 4 ประเภท

1) เคร่อื งหมายการคา้ (Trademark)
เครอ่ื งหมายทีใ่ ช้หรอื จะใช้เป็นท่หี มายหรือเกี่ยวขอ้ งกับสนิ คา้ เพื่อแสดงว่าสินคา้
ที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้นแตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมาย
การคา้ ของบคุ คลอื่น

2) เครอ่ื งหมายบรกิ าร (Service mark)
เครอ่ื งหมายทใ่ี ชห้ รอื จะใชเ้ ปน็ ทห่ี มายหรอื เกย่ี วขอ้ งกบั บรกิ าร เพอ่ื แสดงวา่ บรกิ ารท่ี
ใชเ้ ครอ่ื งหมายของเจา้ ของเครอ่ื งหมายบรกิ ารนน้ั แตกตา่ งกบั บรกิ ารทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งหมายบรกิ าร
ของบคุ คลอน่ื
3) เครื่องหมายรับรอง (Certification mark)
เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้ หรือจะใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้อง
กบั สินคา้ หรอื บรกิ ารของบคุ คลอื่น เพ่ือเปน็ การรับรองเกย่ี วกับแหลง่ กาํ เนิด สว่ นประกอบ
วธิ กี ารผลติ คุณภาพ หรอื คุณลักษณะอ่ืนใดของสินคา้ นั้น หรือเพ่ือรับรองเกีย่ วกับสภาพ
คุณภาพ ชนดิ หรอื คุณลกั ษณะอนื่ ใดของบริการนั้น
4) เครื่องหมายรว่ ม (Collective mark)
เครอ่ื งหมายการคา้ หรอื เครอ่ื งหมายบรกิ ารทใ่ี ชห้ รอื จะใชโ้ ดยบรษิ ทั หรอื รฐั วิสาหกจิ
ในกลุ่มเดียวกันหรือโดยสมาชิกของสมาคม สหกรณ์ สหภาพ สมาพันธ์ กลุ่มบุคคลหรือ
องคก์ รอ่ืนใดของรฐั หรือเอกชน

Intellectual Property, Silpakorn

28

เครื่องหมายการคา้ อนั พึงรับจดทะเบียนได้

มาตรา 6 เคร่ืองหมายการค้าอนั พึงรบั จดทะเบียนได้ ตอ้ งประกอบดว้ ย
ลักษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) เป็นเครอื่ งหมายการคา้ ทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะ

ค�ำ ท่ีประดิษฐข์ นึ้ ตัวหนังสอื ที่ประดิษฐข์ น้ึ ภาพท่ปี ระดษิ ฐ์ข้ึน

(2) เป็นเครื่องหมายการค้าทไี่ ม่มลี กั ษณะต้องหา้ มตามพระราชบัญญัตนิ ้ี

(3) ไม่เปน็ เคร่ืองหมายการคา้ ทเ่ี หมือนหรือคลา้ ยกบั เครอื่ งหมายการค้าทีบ่ ุคคล
อืน่ ไดจ้ ดทะเบียนไว้แล้ว

เครอ่ื งหมายการคา้ ทม่ี ลี กั ษณะตอ้ งหา้ มมิใหร้ บั จดทะเบยี น

มาตรา 8 เครอ่ื งหมายการคา้ ทม่ี หี รอื ประกอบดว้ ยลกั ษณะอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ
ดงั ตอ่ ไปน้ี หา้ มมิใหร้ บั จดทะเบยี น

(1) ตราแผ่นดนิ พระราชลญั จกร ลญั จกรในราชการ ตราจักรี ตราเครื่องราช-
อิสริยาภรณ์ ตราประจ�ำ ต�ำ แหนง่ ตราประจ�ำ กระทรวง ทบวง กรม หรือตรา
ประจำ�จังหวดั

Intellectual Property, Silpakorn

29

(2) ธงชาตขิ องประเทศไทย ธงพระอสิ ริยยศ หรอื ธงราชการ

(3) พระปรมาภิไธย พระนามาภไิ ธย พระปรมาภิไธยยอ่ พระนามาภิไธยยอ่ หรือนาม
พระราชวงศ์

(4) พระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ พระราชินี
หรอื รัชทายาท

(5) ชอ่ื ค�ำ ขอ้ ความ หรอื เครอ่ื งหมายใด อนั แสดงถงึ พระมหากษตั รยิ ์ พระราชนิ ี รชั ทายาท
หรอื พระราชวงศ์

(6) ธงชาตหิ รอื เครอ่ื งหมายประจ�ำ ชาตขิ องรฐั ตา่ งประเทศ ธงหรอื เครอ่ื งหมายขององคก์ าร
ระหว่างประเทศ ตราประจำ�ประมุขของรัฐต่างประเทศ เครื่องหมายราชการและ
เครื่องหมายควบคุม และรับรองคุณภาพสินค้าของรัฐต่างประเทศ หรือองค์การ
ระหว่างประเทศหรือชื่อ และชื่อย่อของรัฐต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ
เวน้ แตจ่ ะไดร้ บั อนญุ าตจากผซู้ ง่ึ มอี �ำ นาจหนา้ ทข่ี องรฐั ตา่ งประเทศหรอื องคก์ รระหวา่ ง
ประเทศน้ัน

Intellectual Property, Silpakorn

30

(7) เครอ่ื งหมายราชการ เครื่องหมายกาชาด นามกาชาด หรือกาเจนีวา

(8) เครอ่ื งหมายทเ่ี หมอื นหรอื คลา้ ยกบั เหรยี ญ ใบส�ำ คญั หนงั สอื รบั รอง ประกาศนยี บตั ร
หรอื เครอ่ื งหมายอน่ื ใดอนั ไดร้ บั เปน็ รางวลั ในการแสดงหรอื ประกวดสนิ คา้ ทร่ี ฐั บาลไทย
สว่ นราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรอื หนว่ ยงานอน่ื ของรฐั ของประเทศไทย รฐั บาลตา่ งประเทศ
หรือองค์การระหว่างประเทศได้จัดให้มีขึ้น เว้นแต่ผู้ขอจดทะเบียนจะได้รับเหรียญ
ใบสำ�คัญ หนังสือรับรอง ประกาศนียบัตร หรือเครื่องหมายเช่นว่านั้น เป็นรางวัล
สำ�หรับสินค้านั้น และใช้เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องหมายการค้านั้น แต่ทั้งนี้ ต้องระบุปี
ปฏิทินที่ได้รับรางวัลด้วย

(9) เครื่องหมายที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือ
รัฐประศาสโนบาย

Intellectual Property, Silpakorn

31

(10) เครอ่ื งหมายทเ่ี หมอื นกบั เครอ่ื งหมายทม่ี ชี อ่ื เสยี งแพรห่ ลายทว่ั ไป ตามหลกั เกณฑท์ ่ี
รัฐมนตรีประกาศกำ�หนด หรือคล้ายกับเครื่องหมายดังกล่าว จนอาจทำ�ให้
สาธารณชนสบั สนหลงผดิ ในความเปน็ เจา้ ของหรือแหล่งก�ำ เนิดของสินคา้ ไมว่ า่
จะไดจ้ ดทะเบียนไวแ้ ลว้ หรือไม่ก็ตาม

(11) เคร่อื งหมายทคี่ ลา้ ยกับ (1) (2) (3) (4) (5) (6) หรอื (7)
(12) สง่ิ บ่งชี้ทางภูมศิ าสตร์ท่ีได้รบั ความคุ้มครองตามกฎหมายวา่ ด้วยการน้ัน

(13) เครอ่ื งหมายอ่นื ท่รี ฐั มนตรีประกาศก�ำ หนด

ชา้ งไทย ดอกราชพฤกษ์ ศาลาไทย

Intellectual Property, Silpakorn

32

(แLบaบyผoงัuภt-มู dิขeอsงigวงnจsรoรfวiมntegrated circuit)

แบบผงั ภมู วิ งจรรวม หมายถงึ แผนผงั หรอื
แบบทท่ี ำ�ข้ึน เพื่อแสดงถงึ การจดั วาง และการ
เชือ่ มตอ่ ของวงจรไฟฟ้า

• แบบผงั ภูมิ คือ แบบ แผนผงั หรือภาพทท่ี �ำ ขึ้นไมว่ ่าปรากฏในรูปแบบใด หรือวธิ ใี ด
เพือ่ ให้เหน็ ถงึ การจัดวางใหเ้ ป็นวงจรรวม

• แบบวงจรไฟฟ้าที่ได้ออกแบบขึ้นมา หรือที่เรียกว่า Layout design และตัวชุด
หน้ากากหรือแผ่นบัง (Mark work) ซึ่งเป็นตัวต้นแบบที่ใช้ในการสร้างให้เกิดแบบ
ผงั ภมู ิ
อายคุ วามคุ้มครอง

• 10 ปนี ับต้งั แต่วันยืน่ ขอจดทะเบยี น หรือ วนั ท่นี �ำ ออกหาประโยชน์เชิงพาณชิ ย์
เป็นคร้ังแรก

Intellectual Property, Silpakorn

33

สงิ่ บ่งชที้ างภูมศิ าสตร์ (Geographical indication)

สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ หมายถึง ชื่อ สัญลักษณ์
หรือสงิ่ อืน่ ใดที่เรยี ก หรอื ใชแ้ ทนแหลง่ ภมู ิศาสตร์ และสามารถ
บง่ บอกว่าสนิ คา้ ท่เี กดิ จากแหล่งภูมิศาสตรน์ ัน้ เปน็ สินค้าทีม่ ี
คุณภาพ ช่อื เสียง หรืคณุ ลักษณะของแหล่งภมู ิศาสตรน์ ้ัน

อายคุ วามคุ้มครอง ตลอดไปตราบเท่าทข่ี ้อมลู ทาง
ภูมิศาสตร์ดังกล่าวไมม่ กี ารเปล่ยี นแปลง

สิง่ บ่งช้ที างภมู ศิ าสตร์ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1) สงิ่ บ่งชที้ างภมู ศิ าสตร์โดยตรง (Direct geographical indication)
กลา่ วคือ เป็นชอ่ื ทางภูมิศาสตรท์ ่ีเกี่ยวข้องกับสนิ คา้ น้นั ๆ โดยตรง

ไขเ่ คม็ ไชยา มะขามหวานเพชรบูรณ์

2) ส่งิ บ่งชที้ างภูมศิ าสตร์โดยอ้อม (Indirect geographical indication)
กล่าวคือ เป็นสัญลักษณ์ หรือสิ่งอ่นื ใดทีไ่ ม่ใช่ชือ่ ทางภมู ศิ าสตร์ ซ่งึ ใช้เพ่ือบง่

บอกแหลง่ ภมู ิศาสตรอ์ ันเปน็ แหลง่ ก�ำ เนดิ หรือแหลง่ ผลติ ของสนิ คา้

รปู ยา่ โม หอไอเฟล
Intellectual Property, Silpakorn

34

ตัวอยา่ งส่ิงบ่งชี้ทางภมู ิศาสตร์

ประโยชนข์ องส่งิ บง่ ช้ที างภมู ิศาสตร์

ขอบคณุ ข้อมลู จาก : https://www.ipthailand.go.th/th/gi-001.html

Intellectual Property, Silpakorn

35

สินคา้ ท่ีไมส่ ามารถขึน้ ทะเบยี นส่งิ บ่งช้ีทางภมู ิศาสตร์ได้

ขอบคณุ ข้อมลู จาก : https://www.ipthailand.go.th/th/gi-001.html

ขัน้ ตอนการขอใชต้ ราสง่ิ บ่งชีท้ างภมู ิศาสตร์

ขอบคุณขอ้ มูลจาก : https://www.ipthailand.go.th/th/gi-001.html

Intellectual Property, Silpakorn

36

ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ (Local wisdom)

ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ องค์ความรู้ของกลุ่มบุคคลท้องถิ่น และรวมถึงงาน
ศลิ ปวัฒนธรรมพ้ืนบ้านทมี่ ีอยู่ในประเทศไทย

ภมู ิปญั ญา ประเภทองคค์ วามรูข้ องกลุ่มบคุ คลท้องถน่ิ เชน่ การผลิตอาหาร
และเครอ่ื งดม่ื การผลติ ผลติ ภณั ฑจ์ ากสมนุ ไพร การผลติ ผลติ ภณั ฑจ์ ากวสั ดเุ หลอื ใช้
และการผลติ ผลติ ภัณฑ์จากไม้ หิน โลหะ แกว้ เซรามคิ ดินเผา เคร่อื งหนงั และอ่ืน ๆ

Intellectual Property, Silpakorn

37

การค้มุ ครองพนั ธพ์ุ ืช

พนั ธพ์ุ ชื แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 3) พันธ์ุพชื พื้นเมอื งท่วั ไป
4) พันธุ์พชื ปา่
1) พนั ธ์ุพชื ใหม่
2) พันธพ์ุ ืชพ้นื เมอื งเฉพาะถนิ่

เงือ่ นไขการค้มุ ครอง
• ความสมำ�่ เสมอของลกั ษณะประจ�ำ พนั ธุ์

• ความคงตัวของลักษณะประจำ�พันธ์ุ

• ลกั ษณะประจำ�พนั ธแุ์ ตกตา่ งจากพันธ์ุอืน่ อย่างเด่นชดั

อายุความคุม้ ครอง
• 12 ปี สําหรบั พชื ท่ใี ห้ผลผลิต ไมเ่ กิน 2 ปี

• 17 ปี สาํ หรับพชื ท่ใี หผ้ ลผลติ เกินกวา่ 2 ปี

• 27 ปี สาํ หรบั พชื ที่ใชป้ ระโยชน์จากเน้ือไม้

Intellectual Property, Silpakorn






Click to View FlipBook Version