สารจากนายกสภา
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เปิด
การเรียนการสอนครอบคลุมท้ังด้านศิลปะและการออกแบบ
สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ นอกจากพนั ธกจิ ดา้ นการเรยี นการสอน
และการถา่ ยทอดความรแู้ ลว้ การวจิ ยั นบั เปน็ อกี หนง่ึ พนั ธกจิ หลกั
ของมหาวทิ ยาลยั ทม่ี งุ่ เนน้ การสรา้ งองคค์ วามรู้ นวตั กรรม และ
งานสรา้ งสรรค์ เพอ่ื การพฒั นาสงั คมอยา่ งยง่ั ยนื โดยมหาวทิ ยาลยั
มเี ปา้ หมายในการเปน็ ผนู้ �ำ การผลติ ผลงานวจิ ยั นวตั กรรม และ
งานสร้างสรรค์ โดยใช้องค์ความรู้และการบูรณาการศาสตร์
ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ เชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม สรา้ งคณุ คา่
และมูลค่าทางเศรษฐกิจเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
สังคม และประเทศชาติ สู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ผลิต
งานวจิ ยั นวตั กรรม และงานสรา้ งสรรค์ ทง้ั งานวจิ ยั เฉพาะทาง
ตามสาขาความเชย่ี วชาญ และงานวจิ ยั แบบบรู ณาการศาสตร์
โดยเฉพาะงานวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นท่ีด้วยทุนทาง
ศลิ ปวฒั นธรรม เพอ่ื สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ชมุ ชนและสงั คม
อย่างย่ังยืน ซ่ึงสอดคล้องกับพันธกิจและเป้าหมายของ
มหาวิทยาลยั
โครงการวจิ ยั “การพฒั นาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนเชงิ สรา้ งสรรค์
บนฐานทุนทางวัฒนธรรมชุมชน” เป็นงานวิจัยหน่ึงที่นำาทุน
ทางวัฒนธรรมของชุมชนที่มีคุณค่ามาสร้างมูลค่าเพิ่ม ท้ัง
ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยอาศัยแนวคิดกระบวนการสรา้ ง
การมีสว่ นร่วม เพ่ือผลกั ดันให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจชมุ ชน
ผ่านกิจกรรมทางศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งองค์ความรู้จาก
งานวิจัยดังกล่าว สามารถนำาไปสู่การต่อยอดและการนำาไป
ใช้ประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการนำา
งานวิจัยไปปรับใชใ้ นพื้นท่ีตา่ ง ๆ ตามบรบิ ทของแต่ละพน้ื ท่ี
ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ คณุ หญิงไขศร ี ศรอี รณุ
นายกสภามหาวิทยาลยั ศิลปากร
สารจากอธกิ ารบดี
มหาวิทยาลยั ศิลปากร
มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายยกระดับงานวิจัย/
งานสร้างสรรคเ์ พือ่ สร้างและใชป้ ระโยชน์องคค์ วามรู้ รวมทั้ง
บรู ณาการศาสตรเ์ พอื่ ขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ เชงิ สรา้ งสรรค์ และ
นวตั กรรม สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ
สเู่ ปา้ หมายการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื โดยมกี ารผลติ ผลงานวจิ ยั และ
นวัตกรรมเพ่ือตอบโจทย์ปัญหาของประเทศ รวมถึงให้ความ
สำ�คัญในการส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย
นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ในสาขาต่าง ๆ สู่สาธารณชน
เพื่อแสดงศักยภาพทางด้านการวิจัยและการสร้างสรรค์ของ
มหาวิทยาลัยในเวทีวิชาการต่าง ๆ ที่มีการเช่ือมโยงระหว่าง
นกั วจิ ยั และกลมุ่ เปา้ หมายในการน�ำ ผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์
ในวงกว้าง
งานมหกรรมงานวจิ ยั แห่งชาติ (Thailand Research
Expo) ซ่ึงจัดโดยสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) นับเป็น
เวทีวิชาการระดับชาติที่เปิดโอกาสให้นักวิจัยได้นำ�เสนอและ
เผยแพรผ่ ลงานวิจยั เทคโนโลยี และนวตั กรรม เพ่ือเชื่อมโยง
บรู ณาการองคค์ วามรไู้ ปสกู่ ารใชป้ ระโยชน์ ในการพฒั นาประเทศ
ทั้งในมิติเชิงวิชาการ นโยบาย สังคม/ชุมชน และพาณิชย์/
อุตสาหกรรม ซ่ึงมหาวิทยาลัยศิลปากรได้เข้าร่วมนำ�เสนอ
ผลงานวิจัยในงานดังกล่าวมาแล้ว จำ�นวน 14 ครั้ง ต้ังแต่ปี
พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2564 ส�ำ หรับปี พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัย
ศลิ ปากรไดน้ �ำ เสนอผลงานวจิ ยั ในภาคนทิ รรศการภายใตก้ ลมุ่
“งานวจิ ยั และนวตั กรรมเพอื่ พฒั นาเศรษฐกจิ สรา้ งคณุ คา่ และ
เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค”์ โดยน�ำ เสนอผลงานวจิ ยั เรอ่ื ง “การพฒั นา
ผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์บนฐานทุนทางวัฒนธรรม
ชุมชน” ซึ่งการเข้าร่วมนำ�เสนอผลงานวิจัย นวัตกรรมและ
งานสร้างสรรค์ในเวทีดังกล่าว ถือเป็นโอกาสดีท่ีนักวิจัยได้
แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ นำ�เสนอและถ่ายทอดผลงานให้
ผ้สู นใจ ผใู้ ช้ประโยชน์ไดน้ ำ�ไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งแพร่หลาย
ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม เพื่อการพัฒนาในระดับชุมชน
และระดับประเทศ
ทงั้ น้ี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ การน�ำ
เสนอผลงานวจิ ยั “การพฒั นาผลิตภัณฑ์ชมุ ชนเชิงสร้างสรรค์
บนฐานทุนทางวัฒนธรรมชุมชน” จะให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ
และเชอ่ื มโยงไปสกู่ ารขยายผล ตอ่ ยอด และการน�ำ ผลงานวจิ ยั
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นวงกวา้ งมากยง่ิ ขนึ้ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งเศรษฐกจิ
เชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ชมุ ชน สงั คม และ
ประเทศชาตติ ่อไป
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนั ชัย สุทธะนันท์
ผรู้ กั ษาการแทนอธิการบดมี หาวทิ ยาลยั ศิลปากร
สารจากรองอธกิ ารบดฝี า่ ยวจิ ัย
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
สำ�นักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการ
สร้างสรรค์ (สวนส.) มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นหน่วยงาน
สังกัดสำ�นักงานอธิการบดี ทำ�งานเชื่อมโยงประสาน
ระหว่างนักวิจัยในมหาวิทยาลัย โดยมุ่งให้นักวิจัยผลิต
ผลงานวจิ ยั นวตั กรรมและงานสรา้ งสรรคท์ มี่ คี ณุ ภาพ สามารถ
นำ�ผลงานไปใช้ประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมและชุมชนเพื่อ
แก้ปัญหาของประเทศได้ การส่งเสริมและเผยแพร่ผลงาน
วิจัยของคณาจารย์แสดงให้เห็นถึงศักยภาพทางด้านวิชาการ
และการวิจัยของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจึงสนับสนุนให้
มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์
สู่สาธารณชนในเวทีนำ�เสนอต่าง ๆ อย่างต่อเน่ืองทั้งภายใน
และภายนอกมหาวทิ ยาลยั
การนาำ เสนอผลงานวจิ ยั นวตั กรรมและงานสรา้ งสรรคข์ อง
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรในภาคนทิ รรศการในงานมหกรรมงานวจิ ยั
แหง่ ชาต ิ 2565 (Thailand Research Expo 2022) สาำ นกั งาน
บรหิ ารการวจิ ยั ฯ ไดน้ าำ ผลงานวจิ ยั เรอื่ ง “การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
ชมุ ชนเชงิ สรา้ งสรรคบ์ นฐานทนุ ทางวฒั นธรรมชมุ ชน” เขา้ รว่ ม
นาำ เสนอภายใตก้ ลมุ่ “งานวจิ ยั และนวตั กรรมเพอื่ พฒั นาเศรษฐกจิ
สรา้ งคณุ คา่ และเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค”์ โดยผลงานดงั กลา่ วเปน็
งานวจิ ยั ทดี่ าำ เนนิ การในพน้ื ท ี่ 4 จงั หวดั ไดแ้ ก ่ 1) กรงุ เทพมหานคร
2) กาญจนบุรี 3) นครปฐม และ 4) สพุ รรณบุร ี ซึ่งอย่ใู นเขต
ภาคกลางตอนล่างและเป็นพ้ืนท่ีให้บริการของมหาวิทยาลัย
ศิลปากร โดยมหาวิทยาลัยศิลปากรมีนโยบายสนับสนุนการ
บูรณาการองค์ความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
และเศรษฐกิจฐานราก และงานวิจัยนี้ได้จัดทำาข้ึนเพ่ือสร้าง
เศรษฐกจิ ชมุ ชนบนฐานทนุ ทางวฒั นธรรมของพนื้ ทผ่ี า่ นความ
ร่วมมือของศิลปิน ชมุ ชน หน่วยงานภาครัฐในพ้ืนท ่ี ตลอดจน
สถาบนั การศกึ ษา
ในการนำาเสนอผลงานวิจัยคร้ังนี้ สำานักงานบริหาร
การวิจัยฯ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า องค์ความรู้จากผลงานวิจัย
ของมหาวิทยาลัยศิลปากรจะเผยแพร่สู่สาธารณชนใน
วงกวา้ ง นาำ ไปสกู่ ารเกดิ แนวคดิ ตอ่ ยอด และการนาำ ผลงานวจิ ยั
และสรา้ งสรรคไ์ ปใชป้ ระโยชนใ์ นเชงิ เศรษฐกจิ และสงั คมเพอื่ การ
พัฒนาในระดับชมุ ชนและขยายผลไปในระดบั ประเทศต่อไป
ศาสตราจารย ์ ดร.นนั ทนติ ย ์ วานิชาชวี ะ
รองอธกิ ารบดีฝา ยวจิ ยั มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
ภาพ : ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
บิดาแห่งศลิ ปะร่วมสมัยของไทย
และผกู้ ่อต้ังมหาวิทยาลัยศิลปากร
บูรณาการศิลปะ วัฒนธรรม
และวิทยาศาสตร์เพอ่ื เสริมสรา้ ง
เศรษฐกจิ เชงิ สร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม
สูค่ วามผาสกุ และความยัง่ ยืนของสังคม
Integrate Arts, Culture, and Science to Enhance
Creative and Innovative Economy for Societal
Well-Being and Sustainability
มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นสถาบันการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา เดิมคือ โรงเรียนประณีตศิลปกรรม
สังกัดกรมศิลปากร เปิดสอนวิชาจิตรกรรมและ
ประติมากรรมให้แก่ข้าราชการและนักเรียนใน
สมัยน้ัน โดยไม่เก็บค่าเล่าเรียน ผู้ก่อต้ัง
คือ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี (เดิมช่ือ Corrado
Feroci) เป็นชาวอิตาเลียนซ่ึงเดินทางมารับ
ราชการในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 กระท่ังต่อมา
ได้รับการยกฐานะข้ึนเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร
เม่ือวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 คณะจิตรกรรม
ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ได้รับการจัดตั้ง
ขึ้นเป็นคณะวิชาแรก ในปี พ.ศ. 2498 จัดตั้งคณะ
ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ค ณ ะ โ บ ร า ณ ค ดี
หลังจากน้ันได้จัดตั้งคณะมัณฑนศิลป์ขึ้นในปีต่อมา
แ ล ะ มี ก า ร จั ด ต้ั ง ค ณ ะ ดุ ริ ย า ง ค ศ า ส ต ร์ ขึ้ น เ มื่ อ ปี
พ.ศ. 2542 เพื่อให้เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความ
สมบูรณท์ างดา้ นศิลปะมากยงิ่ ขึ้น
9
ปี พ.ศ. 2509 มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร มนี โยบาย
ท่ีจะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาท่ีหลากหลายข้ึน
จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์
จังหวัดนครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์
(พ.ศ. 2511) คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ. 2513)
คณะวิทยาศาสตร์ (พ.ศ. 2515) บัณฑิตวิทยาลัย
(พ.ศ. 2515) คณะเภสัชศาสตร์ (พ.ศ. 2529) และ
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
(พ.ศ. 2534)
ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 มหาวิทยาลัยศิลปากร
ได้ขยายเขตการศึกษาไปจัดต้ังวิทยาเขตแห่งใหม่ที่
จังหวัดเพชรบุรี เพ่ือกระจายการศึกษาไปสู่ภูมิภาค
ใช้ช่ือว่า “วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี” จัดตั้ง
ค ณ ะ สั ต ว ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร เ ก ษ ต ร
(พ.ศ. 2544) คณะวทิ ยาการจดั การ (พ.ศ. 2545) คณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และวิทยาลัย
นานาชาติ (พ.ศ. 2546)
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับการ
ปรับเปลี่ยนสถานะจากการเป็นส่วนราชการมาเป็น
มหาวทิ ยาลยั ในก�ำ กบั ของรัฐ ตง้ั แต่วันท่ี 2 กรกฎาคม
พ.ศ. 2559 ตามพระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
พ.ศ. 2559
เว็บไซต์ : www.su.ac.th
10
12
“การพฒั นาผลิตภัณฑ์ชุมชน
เชงิ สรา้ งสรรคบ์ นฐาน
ทนุ ทางวฒั นธรรมชมุ ชน”
“Development of Creative Cultural
Community Based Products”
สนบั สนนุ ทนุ วิจัยโดย
สำ�นกั งานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
หัวหนา้ โครงการวจิ ยั
รองศาสตราจารย์ ดร.สุพรรณี ฉายะบตุ ร
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
ผู้ร่วมวจิ ยั
• นายชยั รตั น์ จติ ตสนิ นวา
• นายพงษ์ศักดิ์ สรุ ิโยทยั
• นายชัชวาล ปานมณี
• นางสาวนุชนารถ แสนอุบล
ศูนยค์ วามเปน็ เลิศดา้ นสแี ละการเคลือบผวิ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
ทม่ี าของโครงการวจิ ยั
ทุนทางวัฒนธรรมของชุมชนที่ ชุมชนเชิงสร้างสรรค์ โดยมุ่งหวังให้เกิด
มีคุณค่าสามารถนำ�มาสร้างมูลค่าเพ่ิม การพฒั นายกระดบั ผปู้ ระกอบการสนิ คา้
ท้ังทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เชงิ วฒั นธรรมชมุ ชนใหม้ ศี กั ยภาพในการ
โดยอาศยั แนวคดิ กระบวนการสรา้ งการ ออกแบบเชิงสร้างสรรค์และสร้างมูลค่า
มสี ว่ นรว่ ม เพอ่ื ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การพฒั นา เพิ่มให้แก่สินค้าเชิงวัฒนธรรมในพ้ืนท่ี
เศรษฐกจิ ชมุ ชนผา่ นกจิ กรรมทางศลิ ปะ และสนับสนุนให้อุตสาหกรรมการผลิต
และวฒั นธรรม โครงการวจิ ยั “การพฒั นา สนิ คา้ เชงิ วฒั นธรรมสรา้ งสรรคเ์ ปน็ ปจั จยั
ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนเชงิ สรา้ งสรรคบ์ นฐานทนุ กระต้นุ เศรษฐกจิ หลังวกิ ฤติ COVID-19
ทางวฒั นธรรมชมุ ชน” ด�ำ เนนิ การในพนื้ ท่ี ด้วยการเพิ่มมูลค่าและยกระดับ
4 จังหวัด ได้แก่ 1) กรุงเทพมหานคร การผลติ สนิ คา้ เชงิ วฒั นธรรมสรา้ งสรรค์
2) กาญจนบุรี 3) นครปฐม และ รวมท้ังขยายฐานการตลาดสินค้าเชิง
4) สุพรรณบุรี ซึ่งอยู่ในเขตภาคกลาง วัฒนธรรมสร้างสรรค์ และศึกษาผล
ตอนลา่ ง โครงการวจิ ยั ดงั กลา่ วไดจ้ ดั ท�ำ ขนึ้ กระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมของ
เพอ่ื สรา้ งเศรษฐกจิ ชมุ ชนผา่ นความรว่ มมอื โครงการผ่านผลตอบแทนการลงทุน
ของศลิ ปนิ ชุมชน หนว่ ยงานภาครฐั ใน (Return on Investment, ROI)
พน้ื ทแ่ี ละสถาบนั การศกึ ษา เพอ่ื ทดลอง
ขับเคล่ือนทุนทางวัฒนธรรมให้มีผลต่อ
เศรษฐกจิ ชมุ ชนผา่ นการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
14
ภาพที่ 1 : ภาพรวมของโครงการ “การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ชมุ ชนเชิงสร้างสรรค์บนฐานทุนทางวฒั นธรรมชมุ ชน”
15
วตั ถุประสงค์
1) เพ่ือพัฒนายกระดับผู้ประกอบการสินค้า
เชิงวัฒนธรรมชุมชนให้มีศักยภาพในการออกแบบ
เชิงสร้างสรรค์และสร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่สินค้าเชิง
วัฒนธรรมในพื้นที่
2) เพื่อสนับสนุนให้อุตสาหกรรมการผลิต
สินค้าเชิงวัฒนธรรมสร้างสรรค์เป็นปัจจัยกระตุ้น
เศรษฐกิจหลังวิกฤติ COVID-19 ด้วยการเพิ่มมูลค่า
และยกระดับการผลิตสินค้าเชิงวัฒนธรรมสร้างสรรค์
รวมทั้งขยายฐานการตลาดสินค้าเชิงวัฒนธรรม
สร้างสรรค์
16
17
การดำ�เนินงานวิจยั
การวิจัยเพ่ือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิง
สร้างสรรค์ด้วยทุนทางวัฒนธรรม ใช้ท้ังการวิจัย
เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยศึกษางานวิจัยท่ี
เก่ียวข้อง การรับสมัครและคัดเลือกผู้ประกอบการ
เชิงวัฒนธรรม การให้ความรู้ในการสร้างกรอบ
แนวคิด ธุรกิจ การออกแบบ เทคโนโลยีการผลิต
การตลาด และทรพั ย์สินทางปัญญา แลว้ จงึ ใชท้ ุนทาง
วัฒนธรรมชุมชนมาเป็นแนวทางและแรงบันดาลใจ
พัฒนาผลิตภัณฑ์และตราสินค้า และเก็บข้อมูลจาก
กลุ่มผู้ประกอบการ นำ�มาหาค่าผลตอบแทนทุน
เพื่อศึกษาผลกระทบเชงิ เศรษฐกจิ และสงั คม
ภาพที่ 2 : แผนผังแสดงกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
เชงิ สรา้ งสรรคบ์ นฐานทุนทางวัฒนธรรมชุมชน
18
19
20
ผลผลติ งานวจิ ยั
1) ผู้ประกอบการได้พัฒนาด้านแนวคิดธุรกิจ
แนวคิดการออกแบบ เทคโนโลยีการผลิต แนวคิด
การตลาด และทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
2) ผลิตภัณฑ์เชิงวัฒนธรรมและตราสินค้าท่ีได้รับ
การพัฒนา
3) ส่ือและตลาดออนไลน์ของสินค้าเชิงวัฒนธรรม
สร้างสรรค์
ตวั อยา่ งผลิตภัณฑ์ต้นแบบพื้นทก่ี รงุ เทพมหานคร
21
การนำ�ไปใชป้ ระโยชน/์
แนวทางการนำ�ไปใชป้ ระโยชน์
จากผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ก่อให้เกิดผลกระทบเชิง
เศรษฐกจิ และสงั คมแกผ่ ปู้ ระกอบการเชงิ วฒั นธรรม ผมู้ สี ว่ นได้
สว่ นเสยี และผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งในหว่ งโซม่ ลู คา่ ในพน้ื ทท่ี ด่ี �ำ เนนิ การ
จำ�นวนมาก จึงควรนำ�เอาแนวทาง “กระบวนการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์บนฐานทุนทางวัฒนธรรม
ชมุ ชน” ไปขยายการด�ำ เนินการในพื้นทีอ่ ่ืน ๆ โดยใชฐ้ านทนุ
วัฒนธรรมในพ้ืนที่น้ัน ๆ มาเป็นต้นทุนในการพัฒนาสินค้า/
บริการ โดยหน่วยงาน องค์กร สถาบันการศึกษา สามารถ
นำ�เอาแนวทางการดำ�เนินโครงการวิจัยนี้ไปปรับใช้ให้
เหมาะสมกบั บริบทของแต่ละพืน้ ท่ไี ด้
22
การทบทวนวรรณกรรมและวางแผน
การด�ำ เนินงานโครงการวจิ ยั
“การพัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชนเชิงสร้างสรรค์
บนฐานทนุ ทางวฒั นธรรมชมุ ชน”
การเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือทบทวนวรรณกรรม ได้แก่
ทนุ วฒั นธรรม ขอ้ มลู ดา้ นภมู ศิ าสตร์ เศรษฐกจิ ผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร
บรบิ ทในดา้ นตา่ ง ๆ ในพนื้ ท่ี 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ กรงุ เทพมหานคร
กาญจนบรุ ี นครปฐม และสพุ รรณบรุ ี เพอื่ น�ำ มาใชใ้ นการออกแบบ
กรอบการด�ำ เนนิ งาน แนวทางหลกั ในการท�ำ งาน ด�ำ เนนิ การจดั ท�ำ
เอกสารตา่ ง ๆ ทจี่ �ำ เปน็ ตอ้ งใชใ้ นการส�ำ รวจขอ้ มลู การวเิ คราะห์
ขอ้ มลู การฝกึ อบรมและการใหค้ �ำ ปรกึ ษา เชน่ ใบสมคั ร เกณฑ์
การคัดเลือกผู้ประกอบการและการแบ่งกลุ่ม แบบสอบถาม
ในการสัมภาษณ์เพ่ือคัดเลือกและแบ่งกลุ่มผู้ประกอบการ
เอกสารทตี่ อ้ งใชใ้ นการอบรมและใหค้ �ำ ปรกึ ษา แบบสอบถาม
ในการเก็บข้อมูลรายได้ แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลเพื่อ
หาผลตอบแทนทุนทางสังคม เอกสารแสดงวิธีการวิเคราะห์
รายได้จากกิจการของผู้ประกอบการ และเอกสารแสดงการ
คำ�นวณคา่ ผลตอบแทนทุน เป็นต้น
ภาพที่ 3 : การประชุมนักวิจัยเพื่อวางแผนการดำ�เนินงาน
โครงการวจิ ยั
24
การคัดเลอื กผปู้ ระกอบการวัฒนธรรม
เข้าร่วมโครงการวิจยั
“การพฒั นาผลติ ภัณฑช์ มุ ชนเชิงสร้างสรรค์
บนฐานทุนทางวฒั นธรรมชมุ ชน”
การดำ�เนินการประชาสัมพันธ์ เพื่อรับสมัครผู้ประกอบการเชิงวัฒนธรรม
ทงั้ ผปู้ ระกอบการโอทอป (OTOP) ผปู้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs)
วิสาหกจิ ชุมชน (Community Enterprises) และผูป้ ระกอบการใหม่ (Startup)
ผ่านทั้งระบบออนไลน์และออฟไลน์โดยประสานงานไปยังหน่วยงานต่าง ๆ
ท่เี ก่ยี วขอ้ ง เช่น สำ�นกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัด สำ�นักงานวฒั นธรรมจังหวดั หน่วย
บ่มเพาะธุรกิจในสถาบันอุดมศึกษา และหอการค้าจังหวัด โดยให้ผู้ประกอบการ
ที่สนใจเข้าร่วมโครงการกรอกใบสมัครส่งมายังผู้ประสานงานโครงการ เมื่อรับ
สมัครผู้ประกอบการเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ดำ�เนินการสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการ
การคดั เลอื กซง่ึ เชญิ มาจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เชน่ ส�ำ นกั งานพฒั นาชมุ ชน
จังหวดั ส�ำ นกั งานวฒั นธรรมจังหวัด และหน่วยบ่มเพาะธรุ กิจในสถาบันอุดมศกึ ษา
ผู้เช่ยี วชาญดา้ นธรุ กจิ ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ นการตลาด และผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการออกแบบ
เพ่ือคัดเลือกผู้ประกอบการในพ้ืนที่ 4 จังหวัด เข้าร่วมโครงการ โดยได้รับสมัคร
ผปู้ ระกอบการทใี่ ชท้ นุ วฒั นธรรมหรอื มแี นวคดิ ในการใชท้ นุ วฒั นธรรมในพนื้ ทเ่ี พอ่ื มา
พฒั นาสนิ คา้ /บรกิ าร ไดผ้ สู้ มคั ร จ�ำ นวน 186 ราย และคดั เลอื กเพอื่ เขา้ รว่ มโครงการ
เป็นจำ�นวน 104 ราย และทำ�การประเมินศักยภาพและแบ่งกลุ่มผู้ประกอบการ
ท่ีผ่านการคัดเลือก โดยใช้เกณฑ์ในการพิจารณาในด้านทุนวัฒนธรรมและความ
พร้อมของผู้เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ กลุ่มผู้ประกอบการใหม่ จำ�นวน 11 ราย
กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา จำ�นวน 41 ราย กลุ่มพัฒนา จำ�นวน 35 ราย และ
กลมุ่ พฒั นาสสู่ ากล จ�ำ นวน 17 ราย
ภาพท่ี 4-5 : การประชาสัมพันธ์โครงการวจิ ัยให้กบั ทปี่ ระชมุ
เครอื ขา่ ย UBI ภาคกลางตอนลา่ ง (บน) และกลมุ่ ผปู้ ระกอบการ
ในพ้ืนท่ี ณ ช่างช่ยุ กรงุ เทพฯ (ล่าง)
26
ภาพที่ 6-7 : กิจกรรมการคัดเลือกผู้ประกอบการเข้าร่วม
โครงการวิจยั
27
ภาพที่ 8-11 : กจิ กรรมการ
คดั เลอื กผปู้ ระกอบการเขา้ รว่ ม
โครงการวจิ ัย
28
กระบวนการพฒั นาสินค้า
และศกั ยภาพผปู้ ระกอบการ
กระบวนการพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ
แตล่ ะกลมุ่ ไดแ้ ก่ 1) การพฒั นาตวั ผปู้ ระกอบการ ประกอบดว้ ย
แนวคิดธุรกิจ แนวคิดออกแบบ แนวคิดการตลาด และ
ทรพั ยส์ ินทางปัญญา 2) การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ ประกอบดว้ ย
การออกแบบ นวัตกรรมและการผลิต 3) ตราสินค้า
ประกอบด้วย แนวคิดการออกแบบตราสินค้า ฉลาก และ
บรรจุภัณฑ์ และ 4) ด้านการตลาด ประกอบด้วย ข้อมูล
ด้านการตลาด การสร้างเนื้อหาเรื่องราวและการสร้าง
แบรนด์ โดยมุ่งหวังว่าผู้ประกอบการทั้ง 4 กลุ่ม จะได้รับ
องค์ความรู้ด้านทุนทางวัฒนธรรมและการนำ�ไปใช้ประโยชน์
องค์ความร้ธู ุรกจิ /ออกแบบ/การผลิต/ตลาด/นำ�เสนอสินคา้ /
ทรัพย์สินทางปัญญา ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ/ตราสินค้า
ผปู้ ระกอบการบางคนสามารถยน่ื จดทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาได้ และ
ผู้ประกอบการสามารถขายสินค้าผ่านระบบออนไลน์ได้
โดยไดผ้ ลผลติ และผลลพั ธ์ ไดแ้ ก ่ Business Model Canvas
และ Mood Board รวมอยา่ งละ 104 ผลงาน ร่างต้นแบบ
ผลติ ภัณฑ์ จำ�นวนรวม 104 แบบ ผลติ ภณั ฑ์ต้นแบบ จำ�นวน
รวม 168 แบบ และตราสนิ คา้ จ�ำ นวน 104 แบบ แคตตาลอ็ ก
สินค้าออนไลน์และเว็บไซต์ จำ�นวน 4 แคตตาล็อก และ
4 เว็บไซต์ แยกตามพนื้ ทดี่ ำ�เนินการ 4 พืน้ ท่ี และมผี ลการย่ืน
จดทรพั ยส์ ินทางปญั ญา รวม 127 ค�ำ ขอ
ภาพท่ี 12-16 : การอบรมแนวคิดธรุ กจิ
30
ภาพท่ี 17-20 : การให้ค�ำ ปรึกษาแนวคดิ ธุรกจิ
31
ภาพท่ี 21-24 : การอบรมแนวคดิ การออกแบบ
32
ภาพท่ี 25-26 : การอบรมแนวคดิ การออกแบบ
33
ภาพที่ 27-28 : การใหค้ ำ�ปรกึ ษาแนวคิดการออกแบบ
34
ภาพที่ 29-30 : ตัวอยา่ ง Mood Board แสดงแนวคดิ การออกแบบ
35
ภาพที่ 31-32 : ผู้เชี่ยวชาญใหค้ ำ�ปรกึ ษาในการรา่ งตน้ แบบผลิตภณั ฑ์
36
ภาพท่ี 33-34 : ตวั อย่างรา่ งตน้ แบบผลติ ภณั ฑ์
37
ภาพท่ี 35-37 : การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลติ เฉพาะดา้ น
38
ภาพท่ี 38-41 : การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลติ เฉพาะดา้ น
39
ภาพที่ 42-45 : การลงพื้นที่ใหค้ ำ�ปรกึ ษาดา้ นการจดั ทำ�ตน้ แบบผลติ ภณั ฑ์
40
ภาพท่ี 46-47 : การอบรมแนวคดิ ด้านการตลาด
41
ภาพที่ 48-51 : การอบรมการจดั การทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา
42
ภาพท่ี 52-55 : ตัวอยา่ งตน้ แบบตราสินคา้
43
ผลิตภณั ฑ์ต้นแบบ
พ้ืนที่กรงุ เทพมหานคร
44
ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
พืน้ ท่ีจงั หวัดกาญจนบรุ ี
45
ผลิตภัณฑต์ น้ แบบ
พืน้ ทีจ่ งั หวัดนครปฐม
46
47
ผลิตภัณฑ์ตน้ แบบ
พืน้ ท่ีจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
48
การศึกษาผลกระทบเชิงเศรษฐกจิ
และสังคมของโครงการวจิ ัย
“การพฒั นาผลติ ภณั ฑช์ ุมชนเชิงสรา้ งสรรค์
บนฐานทุนทางวฒั นธรรมชมุ ชน”
การศึกษาผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมของ
โครงการได้จากค่าผลตอบแทนการลงทุน (Return on
Investment, ROI) ซงึ่ ไดจ้ ากการเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ เศรษฐกจิ และ
สังคมของผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่ได้จากโครงการ
เพอ่ื นำ�มาวเิ คราะหค์ วามคมุ้ ค่าในการลงทนุ และสามารถน�ำ
มาเป็นแนวทางในการพิจารณาปรับปรุงกระบวนการพัฒนา
ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนเชงิ สรา้ งสรรคบ์ นฐานทนุ ทางวฒั นธรรมชมุ ชน
ในพ้ืนที่อ่ืน ๆ ต่อไปได้ โดยข้อมูลระหว่างเดือนกุมภาพันธ์
พ.ศ. 2564 – กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 รายได้รวมของ
ผู้ประกอบการท่ีเข้าร่วมโครงการวิจัยทั้ง 104 ราย เท่ากับ
47,792,730 บาท และผู้ประกอบการมีรายได้ท่ีเพิ่มข้ึนจาก
ผลของโครงการ จำ�นวน 7,472,400 บาท (ROI = 0.38)
ค่าผลตอบแทนทางสังคม จำ�นวน 20,092,776 บาท
(SROI = 2.49) มูลค่าของทรัพย์สินทางปัญญารวมเท่ากับ
5,790,590 บาท (IPROI = 2.74)