The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คณะกรรมการลูกจ้าง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คณะกรรมการลูกจ้าง

คณะกรรมการลูกจ้าง

คณะกรรมการลูกจ้าง

ตามพระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518

กสร. 10/2557 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน
สำ� นกั แรงงานสัมพนั ธ์ กระทรวงแรงงาน

ตามพระราชบัญญตั ิแรงงานสัมพนั ธ์ พ.ศ. 2518

กสร. 10/2557 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน
ส�ำนกั แรงงานสัมพันธ์ กระทรวงแรงงาน

ชอ่ื หนังสือ คณะกรรมการลกู จ้าง
ตามพระราชบญั ญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518

ผู้จัดท�ำ ส�ำนักแรงงานสมั พนั ธ์
กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน
กระทรวงแรงงาน

คณะทำ� งานผจู้ ัดพิมพ์ คร้งั ที่ 3
1. นายอทิ ธิพล แผน่ เงนิ ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั แรงงานสมั พนั ธ์
2. นายอิทธิพร เหล่าวานชิ ผ้เู ชี่ยวชาญเฉพาะด้านแรงงานสัมพนั ธ์
3. นายอดุ ม หฤษฎว์ งศ์ ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ งานสง่ เสรมิ แรงงานสมั พนั ธ์
4. วา่ ทีพ่ นั ตรียุทธการ โกษากุล ผอู้ �ำนวยการกล่มุ งานพัฒนาแรงงานสัมพนั ธ์
5. นายธนภณ สุรินทร์ นักวชิ าการแรงงานชำ� นาญการพเิ ศษ
6. นางสาวถนอมสิน อินทสาร นกั วชิ าการแรงงานช�ำนาญการ
7. นางอรอมุ า กุลวานิชไชยนันท์ นักวชิ าการแรงงานชำ� นาญการ
8. นางสาววไิ ลวลั ย์ แอบแฝง นกั วิชาการแรงงานช�ำนาญการ
9. นางสาวนิยดา ไตรรัตน์ นักวิชาการแรงงาน

จำ� นวน 2,000 เล่ม (มิถนุ ายน 2557)
พมิ พ์ท ี่ เอ-เตอร์ จ�ำกัด

ค�ำน�ำ

ระบบการรว่ มปรึกษาหารือ (Joint consultation System) เปน็
มาตรการทางด้านแรงงานสัมพันธ์รูปแบบหนึ่งในระบบทวิภาคี ซึ่งหาก
ในสถานประกอบกิจการมีการบริหารและมีส่วนร่วมแบบใช้ระบบ
การปรึกษาหารือร่วม โดยนายจ้างและลูกจ้างได้มีโอกาสปรึกษาหารือ
รว่ มกนั ในเรอ่ื งตา่ งๆทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การดำ� เนนิ งานในสถานประกอบกจิ การ
กจ็ ะเปน็ แนวทาง นำ� ไปสกู่ ารเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ (Productivity)และ
เพ่ิมผลผลิตในกิจการ ท�ำให้เกิดความก้าวหน้าและยังความอยู่รอด
ของสถานประกอบกจิ การนั้น

คณะกรรมการลูกจ้างเป็นรูปแบบหน่ึงของการปรึกษาหารือร่วม
ในระบบทวิภาคี ซึ่งเปิดโอกาสให้ลูกจ้างเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการ
ของฝ่ายนายจ้าง เพ่ือประชุมร่วมปรึกษาหารือในการแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นร่วมกันพิจารณาแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในสถานประกอบ
กิจการรวมท้ังให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพ
การท�ำงานและผลตอบแทนในการท�ำงานให้เหมาะสมตามสภาพ
เศรษฐกิจ อันจะเป็นผลสะท้อนไปสู่การเสริมสร้างการแรงงานสัมพันธ์
ที่ดีในสถานประกอบกิจการ รูปแบบของคณะกรรมการลูกจ้างเป็นตัวช้ี
(Indicator) ให้ฝ่ายจัดการได้ทราบท่าทีและทัศนคติของลูกจ้างที่มี
ตอ่ สถานประกอบกจิ การและนายจา้ งรวมทง้ั เปดิ โอกาสใหล้ กู จา้ งไดเ้ รยี น

รวู้ ธิ กี ารทำ� งานเปน็ กลมุ่ รจู้ กั ขนั้ ตอนวธิ แี กป้ ญั หารว่ มกนั และเปน็ การปลกู ฝงั
วิธีการท�ำงานแบบประชาธิปไตย ดังน้ัน เพื่อให้ผู้ท่ีประสงค์จะจัดตั้ง
คณะกรรมการลูกจ้าง นายจ้าง และผู้เกี่ยวข้องได้ทราบถึงแนวทาง
ในการปฏิบัติหน้าที่ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปโดยถูกต้อง
เหมาะสมยงิ่ ขนึ้ กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจงึ ไดจ้ ดั พมิ พเ์ อกสาร
เผยแพรค่ วามรเู้ รอื่ ง “คณะกรรมการลกู จา้ ง” ข้ึนเพื่อให้คณะกรรมการ
ลูกจ้าง นายจ้าง ลูกจ้าง และบุคคลทั่วไป ได้ทราบถึงแนวทางและ
วิธีปฏิบัติหน้าท่ีอย่างถูกต้องเหมาะสมยิ่งขึ้น อันจะส่งผลดีต่อการอยู่
ร่วมกันอย่างสันติสุขในสถานประกอบกิจการ ตลอดจนความสงบสุข
ในสังคมและความเจริญกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกิจโดยรวมตอ่ ไป


ส�ำนกั แรงงานสัมพันธ์
กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

สารบญั

หน้า

บทท่ี 1 ความหมาย และประโยชน์ของคณะกรรมการลกู จา้ ง 1

• ความหมาย 1

• ประโยชนข์ องคณะกรรมการลูกจ้าง 4



บทท่ี 2 โครงสรา้ งและจำ� นวนคณะกรรมการลูกจา้ ง 7

• โครงสรา้ งคณะกรรมการลูกจา้ ง 7

• จ�ำนวนคณะกรรมการลกู จ้าง 18

• การพน้ จากตำ� แหนง่ ของกรรมการลูกจา้ ง 22

• ขอ้ กำ� หนดใหม้ กี ารเลือกตง้ั หรอื แตง่ ตั้ง 26

กรรมการลูกจ้างใหมท่ ั้งคณะ



บทที่ 3 กฎหมายและประกาศกรมแรงงาน 30

• พระราชบัญญัติแรงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ. 2518 หมวด 5

คณะกรรมการลกู จ้าง 30

• ประกาศกรมแรงงาน เรื่อง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี าร

ในการเลอื กตั้งคณะกรรมการลกู จา้ ง 36

หน้า
บทที่ 4 การด�ำเนนิ งานของคณะกรรมการลกู จา้ ง
43
• แนวทางการดำ� เนินงานของคณะกรรมการลกู จา้ ง 43
• หลกั การบริหารงานของคณะกรรมการลูกจ้าง 46
• ขอบเขตการด�ำเนนิ งานท่กี ฎหมายรบั รอง 46
• ขอบเขตการดำ� เนนิ งานนอกเหนอื จากทกี่ ฎหมายก�ำหนด 51
• ขอ้ ควรค�ำนงึ ในการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการลูกจา้ ง 52
• บทบาทของคณะกรรมการลูกจ้างตอ่ นายจ้าง 55
บทท่ี 5 หน้าท่ี บทบาท และสทิ ธิของนายจ้าง 56
ตอ่ คณะกรรมการลูกจ้าง
56
• หนา้ ที่ของนายจา้ งเกีย่ วกบั การเลอื กตั้ง
คณะกรรมการลกู จา้ ง 57

• หนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบตามกฎหมายของนายจา้ ง 59
ต่อคณะกรรมการลูกจา้ ง 60
• บทบาทของนายจ้างท่ีพงึ มตี ่อคณะกรรมการลูกจา้ ง 62
• สิทธขิ องนายจ้างต่อคณะกรรมการลูกจา้ ง
• ฝา่ ยนายจา้ งกบั คณะกรรมการลูกจ้างจะรว่ มมือกนั

ในการพฒั นาสถานประกอบกจิ การได้อย่างไรบ้าง

ค�ำพพิ ากษาฎีกาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 63
ภาคผนวก
74
• แผนภาพการเลอื กต้งั คณะกรรมการลกู จา้ ง 76
• แบบหนงั สอื แจง้ ให้ประกาศการเลอื กตั้ง
กรรมการลกู จา้ ง (ร.ส. 17) 78
• แบบประกาศเรอ่ื งการเลือกต้ังกรรมการลูกจา้ ง (ร.ส. 18) 80
• แบบใบสมัครรับเลอื กต้ังเปน็ กรรมการลูกจ้าง (ร.ส. 19) 81
• แบบหนังสือแจ้งผลการเลือกต้ังกรรมการลกู จ้าง (ร.ส. 20) 83
• แบบตัวอยา่ งรายชื่อผสู้ มคั รรบั เลือกตั้งกรรมการลกู จา้ ง 84
• แบบตัวอย่างบัตรลงคะแนนเสียงเลือกต้งั กรรมการลูกจา้ ง 85
• แบบตัวอยา่ งหนังสอื แจ้งการแตง่ ตั้งคณะกรรมการลูกจา้ ง 87
• แบบตัวอย่างหนงั สอื แจ้งการลาออกของกรรมการลกู จา้ ง 88
• แบบตัวอย่างหนังสือแจ้งการแต่งตง้ั กรรมการลกู จ้างแทน 90
คณะผู้จดั ทำ�

บทท่ี 1

ความหมายและประโยชน์ของ

คณะกรรมการลกู จา้ ง

ความหมาย

คณะกรรมการลูกจ้างท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
พ.ศ. 2518 นั้น เป็นองค์กรของลูกจ้างซึ่งได้รับเลือกตั้งจากลูกจ้างในสถาน
ประกอบกจิ การ หรอื ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั โดยสหภาพแรงงานแลว้ แตก่ รณี ใหเ้ ปน็
ตวั แทนของลกู จา้ งในสถานประกอบกจิ การ เพอื่ เปน็ สอื่ กลางในการสรา้ งความ
สัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ดังน้ันคณะกรรมการลูกจ้างจึงเป็น
เสมือนสื่อกลาง (MEANS) ในอันที่จะพัฒนาการแรงงานสัมพันธ์ให้ดีขึ้น
แมว้ า่ คณะกรรมการลกู จา้ ง จะไมม่ ฐี านะเปน็ นติ บิ คุ คลตามกฎหมายเชน่ เดยี ว
กับสหภาพแรงงานก็ตาม แต่พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
หมวด 5 กไ็ ดบ้ ญั ญตั ริ บั รองถงึ สทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการลกู จา้ งและ
สิทธิหนา้ ทีข่ องนายจา้ งทมี่ ีตอ่ คณะกรรมการลกู จ้างไว้

1
คณะกรรมการลูกจ้าง

คณะกรรมการลกู จา้ ง (EMPLOYEES COMMITTEE) เปน็ รปู แบบ
การร่วมปรึกษาหารอื (JOINT CONSULTATION SYSTEM) รปู แบบหนง่ึ
ของระบบทวิภาคี (BIPARTITE SYSTEM) ด้านแรงงานสัมพันธ์ ซ่ึงมี
วตั ถุประสงค์ ดงั น้ี

1. เพอ่ื สง่ เสรมิ ความสมั พนั ธแ์ ละความเขา้ ใจอนั ดรี ะหวา่ งฝา่ ยนายจา้ ง
กบั ฝ่ายลูกจา้ ง

2. เพื่อเป็นการแลกเปล่ียนความคิดเห็นและสื่อข้อความที่ดีต่อกันทั้ง
ฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้าง

3. เพอ่ื เปน็ แนวทางในการปรบั ปรงุ สภาพการจา้ งและสภาพการทำ� งาน
ใหด้ ยี ิ่งข้นึ

4. เพอื่ สร้างทศั นคตทิ ี่ดตี ่อกนั
5. เพ่อื ให้ได้มาซงึ่ ประโยชนร์ ่วมกนั ทั้งสองฝา่ ย
6. เพื่อร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการและเสนอแนะแนว
ทางแกไ้ ข
7. เพ่อื ร่วมกันก�ำหนดแนวทางในการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลติ
พระราชบัญญตั ิแรงงานสัมพนั ธ์ พ.ศ. 2518 หมวด 5 กำ� หนดให้มกี าร
จัดตั้งคณะกรรมการลูกจ้าง โดยความสมัครใจของลูกจ้างในสถานประกอบ
กจิ การ โดยกำ� หนดวธิ กี ารและหลกั เกณฑท์ จี่ ำ� เปน็ ไวเ้ พอ่ื ใหน้ ายจา้ งและลกู จา้ ง

2
คณะกรรมการลูกจา้ ง

ไดท้ ราบถงึ สทิ ธแิ ละหนา้ ทอี่ นั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั คณะ
กรรมการลูกจ้างของท้ังสองฝ่าย เช่น ก�ำหนดว่าลูกจ้างอาจจะจัดตั้งคณะ
กรรมการลูกจ้างได้ต้องมีลูกจ้างในสถานประกอบกิจการอย่างน้อย 50 คน
และถ้าสถานประกอบกิจการน้ันมีสหภาพแรงงานก็ต้องพิจารณาจ�ำนวน
สมาชกิ ของสหภาพแรงงานดว้ ยวา่ มจี ำ� นวนเทา่ ใดถา้ สหภาพแรงงานมสี มาชกิ
เกนิ กวา่ 1 ใน 5 ของลกู จา้ งทงั้ หมด สหภาพแรงงานกม็ สี ทิ ธแิ ตง่ ตง้ั กรรมการ
ลกู จา้ งไดเ้ กนิ กวา่ กง่ึ หนงึ่ ของจำ� นวนคณะกรรมการลกู จา้ งทงั้ หมด 1 คน และ
ถ้าสหภาพแรงงานมสี มาชิกเกนิ กงึ่ หนง่ึ ของลกู จา้ งทั้งหมด สหภาพแรงงานก็
จะมสี ทิ ธแิ ต่งต้งั กรรมการลกู จ้างได้ท้ังคณะทนั ที ตัวอย่างเช่น

บรษิ ทั ก. มลี กู จา้ งทง้ั หมดจ�ำนวน 110 คน และไม่มสี หภาพแรงงาน
ลกู จา้ งอาจจะจดั ตงั้ กรรมการลูกจา้ งทง้ั คณะได้ 7 คน โดยใช้วธิ กี ารเลือกตัง้

บรษิ ัท ข. มีลูกจา้ งท้ังหมดจำ� นวน 450 คน และมีสหภาพแรงงานอาจ
จะจดั ตง้ั กรรมการลูกจา้ งทง้ั คณะได้ 11 คน แตต่ ้องพจิ ารณาจำ� นวนสมาชิก
สหภาพแรงงานดว้ ย ถา้ บรษิ ทั ข. มลี กู จา้ งทเ่ี ปน็ สมาชกิ สหภาพแรงงานเกนิ
กว่า 90 คน กรณีน้สี หภาพแรงงานอาจจะแตง่ ต้งั กรรมการลูกจา้ งได้ 6 คน
สว่ นที่เหลอื อีก 5 คน จะต้องมาจากการเลือกตั้ง แต่ถา้ บริษัท ข. มลี ูกจา้ งท่ี
เป็นสมาชกิ สหภาพแรงงานเกินกว่า 225 คน กรณีนส้ี หภาพแรงงานอาจจะ
แตง่ ตัง้ กรรมการลูกจ้างได้ทั้งคณะคือ 11 คน

3
คณะกรรมการลกู จา้ ง

นอกจากน้ีนายจ้างอาจแจ้งโดยท�ำเป็นหนังสือให้พนักงานประนอม
ข้อพิพาทแรงงานตรวจสอบจ�ำนวนสมาชิกของสหภาพแรงงานนั้นได้
หากสงสัยวา่ สหภาพแรงงานทใี่ ชส้ ทิ ธแิ ตง่ ตง้ั กรรมการลกู จา้ งนัน้ จะมสี มาชกิ
ครบถ้วนตามทก่ี ฎหมายก�ำหนดไว้หรอื ไม่

ประโยชนข์ องคณะกรรมการลูกจ้าง

1. มุง่ ส่งเสรมิ ระบอบประชาธปิ ไตยขนั้ พนื้ ฐาน
การแรงงานสมั พนั ธท์ ด่ี ยี อ่ มเกดิ ขน้ึ จากการทท่ี งั้ สองฝา่ ยไดร้ ว่ มกนั แกไ้ ข
ปญั หาโดยลกู จา้ งคดั เลอื กตวั แทนเขา้ ไปประชมุ ปรกึ ษาหารอื กบั ฝา่ ยจดั การ ใน
รปู ของคณะกรรมการลกู จา้ ง คณะกรรมการลกู จา้ งจงึ เปน็ ตวั แทนของลกู จา้ ง
ในสถานประกอบกิจการ ที่มาจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง เป็นการส่งเสริม
และพัฒนาแนวความคิดของระบอบประชาธิปไตยในวงการอุตสาหกรรมอีก
รปู แบบหน่ึง
2. เป็นกลไกของระบบการบรหิ ารโดยมสี ว่ นรว่ ม
นโยบายด้านแรงงานสัมพันธ์ของรัฐท่ีส�ำคัญประการหน่ึง คือ การ
ส่งเสริมระบบการบริหารโดยลูกจ้างมีส่วนร่วม เนื่องจากการบริหารโดย
นายจา้ งเปน็ ผกู้ ำ� หนดนโยบายและเปา้ หมายแตเ่ พยี งฝา่ ยเดยี ว บางครงั้ อาจมี
ข้อผิดพลาดขึ้นซึ่งมีผลกระทบต่อระบบแรงงานสัมพันธ์ในสถานประกอบ
กิจการ ทางหน่ึงท่ีจะช่วยปรับปรุงแก้ไขการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพ

4
คณะกรรมการลกู จา้ ง

กโ็ ดยการเปดิ โอกาสใหล้ กู จา้ งมตี วั แทน คอื คณะกรรมการลกู จา้ งเขา้ ไปมสี ว่ น
ร่วมเสนอข้อคดิ เห็นที่เปน็ ประโยชนใ์ นการปรบั ปรุงสภาพการจ้าง สภาพการ
ท�ำงาน สวัสดิการและอ่ืน ๆ ทั้งนี้เพ่ือรักษาความสัมพันธ์อันดีระหว่างฝ่าย
จัดการและลกู จ้างให้คงอยู่อยา่ งราบร่นื

3. เป็นการสร้างขวัญและกำ� ลังใจในการทำ� งานของลูกจา้ ง
การทส่ี ถานประกอบกจิ การใหก้ ารยอมรบั การเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มของคณะ
กรรมการลูกจ้าง โดยท่ีฝ่ายนายจ้างเปิดโอกาสและรับฟังความคิดเห็นและ
ร่วมกันแก้ไขปัญหา จะเป็นการเสริมสร้างขวัญและก�ำลังใจให้แก่ลูกจ้าง
ท�ำใหล้ กู จ้างมีความตั้งใจและความรับผิดชอบในการทำ� งานสูงข้นึ
เม่ือใดท่ีลูกจ้างรู้สึกว่าตนเองเป็นหุ้นส่วนที่ได้รับการยอมรับของสถาน
ประกอบกิจการท่ีตนท�ำงานอยู่ การแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ของตน
ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การทำ� งานไดร้ บั การรบั ฟงั และบางครง้ั ฝา่ ยจดั การไดน้ ำ� ไปปฏบิ ตั ิ
และหากไมส่ ามารถปฏบิ ตั ติ ามขอ้ เสนอของลกู จา้ งไดก้ จ็ ะแจง้ เหตผุ ลใหท้ ราบ
โดยกระจ่าง ท�ำให้ลูกจ้างเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจ มีความผูกพันต่อสถาน
ประกอบกจิ การนนั้ ๆ อนั จะสง่ ผลสะทอ้ นใหเ้ กดิ ความกระตอื รอื รน้ ทจี่ ะทำ� งาน
ใหเ้ กดิ ผลก้าวหนา้ เป็นการสร้างขวัญและกำ� ลังใจอย่างดีท�ำให้ลูกจ้างไมร่ ู้สึก
คบั ขอ้ งใจตอ่ สภาพแวดลอ้ มในทท่ี ำ� งาน

5
คณะกรรมการลูกจ้าง

4. เป็นมาตรการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตได้อีกทางหนึ่งของสถาน
ประกอบกิจการ

การจัดต้ังคณะกรรมการลูกจ้างจะท�ำให้ทั้งสองฝ่ายมีโอกาสหันหน้า
เข้าหากันร่วมปรึกษาหารือด้วยความบริสุทธ์ิใจและความจริงใจต่อกัน
จะชว่ ยผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดระหวา่ งลกู จา้ งกบั ฝา่ ยจดั การ และยงั เปน็ การ
ชว่ ยลดปญั หาขอ้ ขดั แยง้ กอ่ ใหเ้ กดิ ความสงบสขุ ในวงการแรงงานทำ� ใหล้ กู จา้ ง
มีความต้ังใจที่จะปฏิบัติงานตามหน้าที่ของตนอย่างเต็มก�ำลัง และมี
ประสิทธิภาพท�ำให้สถานประกอบกิจการได้รับผลตอบแทนในด้านการเพิ่ม
ผลผลิต ทงั้ ในด้านคณุ ภาพและปรมิ าณ

ดงั นน้ั จะเหน็ ไดว้ า่ การแรงงานสมั พนั ธเ์ ปน็ เรอื่ งละเอยี ดออ่ นมลี กั ษณะ
เฉพาะตัว ความขัดแย้งระหว่างลูกจ้างกับนายจ้างท่ีเกิดข้ึนจากเรื่องเล็ก ๆ
น้อย ๆ ถ้าเก็บสะสมไว้โดยมิได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงทีในไม่ช้าก็อาจจะ
ถึงขั้นแตกหักจนไม่สามารถท�ำงานด้วยกันต่อไปได้ เม่ือถึงข้ันน้ีผู้ท่ีสูญเสีย
ประโยชน์ก็คือนายจ้างและลูกจ้างนั่นเอง การท่ีจะหันหน้าเข้าหากันร่วม
ปรกึ ษาหารอื ประสานประโยชนซ์ งึ่ กนั และกนั คณะกรรมการลกู จา้ งจงึ เปน็ จดุ
เร่ิมต้นอีกทางหน่ึงในหลาย ๆ ทางท่ีจะน�ำไปสู่การพัฒนารูปแบบของความ
สัมพันธ์อย่างเป็นกระบวนการและเป็นระบบตามแนวความคิดของระบบ
ทวภิ าคี (Bipartite System)

6
คณะกรรมการลูกจ้าง

บทที่ 2

โครงสรา้ งและจ�ำนวน

คณะกรรมการลกู จา้ ง

โครงสรา้ งคณะกรรมการลกู จา้ ง

โครงสร้างของคณะกรรมการลูกจ้าง อาจจ�ำแนกออกได้ตามลักษณะ
ของการจัดตั้งได้ 3 ลักษณะ คอื

1. คณะกรรมการลกู จา้ งท่มี าจากการเลือกตง้ั
2. คณะกรรมการทมี่ าจากการเลอื กตง้ั สว่ นหนงึ่ และมาจากการแตง่ ตงั้
ส่วนหนึง่
3. คณะกรรมการลกู จา้ งท่ีมาจากการแต่งตงั้ ท้งั หมด

1. คณะกรรมการลกู จา้ งที่มาจากการเลอื กตง้ั
ในกรณีที่สถานประกอบกิจการมีลูกจ้างต้ังแต่ 50 คนขึ้นไปและไม่มี
สหภาพแรงงานหรอื มสี หภาพแรงงานมากกวา่ หนงึ่ สหภาพแรงงานลกู จา้ งอาจ

7
คณะกรรมการลกู จา้ ง

จัดต้ังคณะกรรมการลูกจ้าง โดยวิธีการด�ำเนินการเลือกตั้งในกรณีเช่นน้ี
ลูกจ้างทุกคนในสถานประกอบกิจการน้ันมีสิทธิสมัครเข้ารับการเลือกตั้งและ
มสี ทิ ธอิ อกเสยี งเลอื กตง้ั กรรมการลกู จา้ ง ดงั นน้ั โครงสรา้ งของคณะกรรมการ
ลูกจ้างในลักษณะนี้ อาจประกอบดว้ ยลูกจา้ งที่มแี ละไมม่ ีอ�ำนาจบงั คับบญั ชา
คละกันอยู่ในกรรมการชุดเดยี วกนั

การเลือกตัง้ กรรมการลกู จา้ ง มีวิธีการโดยลำ� ดบั ดงั น้ี
(1) ให้ลูกจ้างในสถานประกอบกิจการที่ประสงค์จะให้มีการเลือกตั้ง
กรรมการลกู จา้ งลงลายมือชื่อร่วมกนั ไม่น้อยกวา่ 10 คน แจ้งเป็นหนังสอื ต่อ
นายจา้ งและพนกั งานประนอมขอ้ พพิ าทแรงงานทอ้ งทที่ ส่ี ถานประกอบกจิ การ
น้ันต้ังอยู่ ว่าจะให้มีการเลือกต้ังกรรมการลูกจ้างท้ังนี้ให้แจ้งล่วงหน้าก่อนถึง
ก�ำหนดวนั เลอื กตงั้ ไมน่ ้อยกว่า 15 วนั
(2) ให้ลูกจ้างซึ่งร่วมกันลงลายมือชื่อใน (1) แต่งต้ังลูกจ้างในสถาน
ประกอบกิจการน้ัน ซ่ึงไม่ประสงค์จะสมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการลูกจ้าง
จ�ำนวน 5 คน เพ่อื เป็นคณะกรรมการด�ำเนินการเลอื กตงั้
(3) ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนินการเลือกตงั้ ก�ำหนดวนั เวลา และสถานที่
ในการเลือกต้ังกรรมการลูกจ้าง ตลอดจนระยะเวลาการรับสมัครและ
แจ้งให้นายจ้างและพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานทราบโดยเร็ว
(แจ้งตามแบบ ร.ส. 17)

8
คณะกรรมการลกู จ้าง

(4) เม่ือนายจ้างได้รับแจ้ง ให้นายจ้างประกาศการเลือกตั้งกรรมการ
ลูกจ้างโดยมีข้อความตามท่ีคณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้งแจ้งให้ทราบไว้
ณ สถานทท่ี ล่ี ูกจ้างท�ำงานทุกแห่ง เปน็ เวลาอยา่ งนอ้ ยสบิ วันกอ่ นวันเลอื กตง้ั
(ประกาศตามแบบ ร.ส. 18)

ในกรณีท่ีพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานได้รับแจ้งตาม (3)
ใหพ้ นกั งานประนอมข้อพิพาทแรงงานแจ้งให้นายจา้ งด�ำเนินการตาม (4)

(5) ในกรณที สี่ ถานประกอบกจิ การใดแบง่ เปน็ แผนกหรอื แบง่ เปน็ หนว่ ย
งานถา้ คณะกรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตง้ั เหน็ สมควรและลกู จา้ งสว่ นมากเหน็
ชอบด้วย จะให้มกี ารเลือกตัง้ กรรมการลูกจา้ งแยกตามแผนกหรือหน่วยงาน
เพอื่ ให้ครบจ�ำนวนกรรมการลกู จ้างตามทก่ี �ำหนด กย็ อ่ มจะกระทำ� ได้

(6) ลกู จา้ งในสถานประกอบกจิ การทกุ คนมสี ทิ ธสิ มคั รรบั เลอื กตงั้ และ
มสี ทิ ธลิ งคะแนนเสยี งเลอื กตงั้ เวน้ แตก่ รรมการเลอื กตง้ั ซงึ่ จะมสี ทิ ธเิ ฉพาะลง
คะแนนเสยี งเลือกตงั้ เท่าน้ัน

(7) ใหผ้ ทู้ จ่ี ะสมคั รรบั เลอื กตง้ั เปน็ กรรมการลกู จา้ งยนื่ ใบสมคั รรบั เลอื ก
ตงั้ ตอ่ คณะกรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตงั้ ภายในกำ� หนดระยะเวลาตามทร่ี ะบุ
ไว้ในประกาศใบสมัครรับเลือกตั้งให้มีข้อความตามแบบ ร.ส. 19 หรือมี
ข้อความอย่างน้อย ดังต่อไปน้ี

9
คณะกรรมการลกู จา้ ง

1. ชอื่ และช่ือสกุล
2. อายุ
3. ต�ำแหน่งหรือหน้าที่ที่ปฏิบัติในสถานประกอบกิจการดังกล่าว
ตลอดจนระยะเวลาในการท�ำงานกบั สถานประกอบกิจการแห่งนนั้
4. ลายมือชอ่ื
เม่ือคณะกรรมการด�ำเนินการเลือกต้ังได้รับใบสมัครให้ก�ำหนด
หมายเลขประจำ� ตวั ผสู้ มคั รเรยี งตามลำ� ดบั ใบสมคั ร ในกรณที ม่ี ปี ญั หาเกยี่ วกบั
การก�ำหนดหมายเลขประจำ� ตวั ผู้สมัคร ใหค้ ณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตัง้
กำ� หนดหมายเลขโดยวธิ จี ับฉลาก
(8) ให้นายจ้างจัดแผงหรือป้ายส�ำหรับผู้สมัครรับเลือกตั้งประกาศหา
เสยี งเลอื กตง้ั ภายในบรเิ วณสถานประกอบกจิ การไมน่ อ้ ยกวา่ สองแหง่ ผสู้ มคั ร
รบั เลอื กตง้ั ทไ่ี ดห้ มายเลขประจำ� ตวั แลว้ มสี ทิ ธดิ ำ� เนนิ การหาเสยี ง ปดิ ประกาศ
ณ แผงหรอื ปา้ ยทนี่ ายจ้างจัดไวต้ ามวรรคหนง่ึ หรอื โดยการประชมุ ลกู จา้ งผมู้ ี
สิทธิลงคะแนนเสยี งเลือกต้ัง จะปดิ ประกาศ ณ ทีอ่ ื่นนอกจากแผงหรอื ป้ายท่ี
นายจ้างจัดไว้หรือประชุมลูกจ้างหรือกระจายเสียงในระหว่างเวลาท�ำงานได้
ต่อเมอื่ นายจา้ งอนุญาต
(9) ใหน้ ายจา้ งจดั ทำ� บญั ชรี ายชอื่ ลกู จา้ งทกุ คนในสถานประกอบกจิ การ
และส่งให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกต้ังชุดหน่ึงก่อนวันเลือกต้ังไม่น้อย
กวา่ สามวัน และนำ� บัญชีรายชือ่ ลกู จา้ งดังกลา่ ว อกี ชุดหน่งึ ปิดประกาศไว้ให้
ลกู จ้างตรวจดูรายช่ือก่อนวันเลือกตง้ั ไม่น้อยกวา่ สามวัน

10
คณะกรรมการลกู จา้ ง

ในกรณีที่ลูกจ้างใดไม่มีรายชื่อ หรือบัญชีรายช่ือลูกจ้างดังกล่าว
ไมถ่ กู ตอ้ ง ลกู จา้ งมสี ทิ ธคิ ดั คา้ นและขอใหน้ ายจา้ งแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งไดใ้ หน้ ายจา้ ง
ดำ� เนนิ การแกไ้ ขโดยเรว็ และปดิ ประกาศบญั ชรี ายชอ่ื ลกู จา้ งใหมก่ อ่ นวนั เลอื กตง้ั

(10) ให้คณะกรรมการด�ำเนนิ การเลือกตั้งเตรยี มการเลอื กตั้ง โดยการ
จดั หาอุปกรณ์ส�ำหรับใช้ลงคะแนนเสียงเลือกตงั้ ดังต่อไปน้ี

1. บตั รเลือกตงั้ มหี มายเลขประจำ� ตัวผูส้ มคั รทุกคน
2. หีบลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
3. เคร่อื งเขียน
4. กระดานด�ำหรือกระดาษหรืออปุ กรณอ์ ย่างอืน่ ท่ีคล้ายคลงึ กนั เพอ่ื ใช้
ในการนบั คะแนนเสียง ท้ังน้ี ใหม้ ีขนาดใหญ่พอทจ่ี ะใหบ้ คุ คลอื่นเห็นได้ชดั ใน
ขณะนับคะแนนเสยี ง
ให้นายจ้างหรือพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานจัดหาอุปกรณ์
ดังกล่าวในวรรคหนงึ่ เมือ่ คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกต้ังร้องขอ
(11) ให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกต้ังก�ำหนดระยะเวลาการลง
คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสี่ชั่วโมงติดต่อกันในกรณีที่ลูกจ้างท�ำงานเป็นกะหรือ
ทำ� งานในเวลาแตกตา่ งกนั หรอื ทำ� งานตา่ งสถานทกี่ นั และไมอ่ าจมาลงคะแนน
เสียงพร้อมกันในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งได้ ให้จัดให้มีการลงคะแนนเสียง
แยกกัน หรอื ในระยะเวลาอ่ืนท่ลี กู จา้ งมีโอกาสลงคะแนนเสยี งไดท้ กุ คน

11
คณะกรรมการลกู จา้ ง

ในวนั เลอื กตงั้ ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตงั้ ประกาศรายชอื่ และ
หมายเลขประจำ� ตวั ผสู้ มคั รรับเลอื กต้งั ไว้ ณ สถานทท่ี ท่ี ำ� การเลือกตัง้

(12) การเลอื กตงั้ กรรมการลกู จา้ ง ใหก้ ระทำ� โดยวธิ กี ารลงคะแนนเสยี ง
ลับในบัตรเลือกต้ัง โดยให้ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งไปแจ้งต่อคณะ
กรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตงั้ ในวนั เลอื กต้ัง แล้วให้คณะกรรมการด�ำเนินการ
เลือกตั้งตรวจบัญชีรายช่ือและจดแจ้งหมายเหตุในบัญชีรายช่ือว่าบุคคล
ดังกล่าวมาใช้สิทธิเลอื กตัง้ แลว้ พรอ้ มทัง้ มอบบตั รลงคะแนนเสียงใหผ้ ูม้ ีสิทธิ
ดงั กล่าวหน่ึงชุด

(13) ก่อนการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง ให้คณะกรรมการด�ำเนินการ
เลือกต้ังเปิดหีบบัตรเลือกตั้งต่อหน้าบุคคลอ่ืนท่ีอยู่ในบริเวณสถานท่ีเลือกต้ัง
เพื่อแสดงว่าไม่มีบัตรเลือกตั้งหรือสิ่งใด ๆ ในหีบบัตรเลือกต้ัง แล้วผนึกหีบ
บตั รเลอื กตง้ั ตอ่ หนา้ บคุ คลทอ่ี ยู่ ณ ทน่ี น้ั และหากกระทำ� ไดใ้ หบ้ คุ คลดงั กลา่ ว
ร่วมกับคณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้งลงลายมือช่ือในบันทึกแจ้งการเปิด
และปดิ หีบบตั รดงั กลา่ วดว้ ย

(14) ใหผ้ มู้ สี ทิ ธลิ งคะแนนเสยี งเลอื กตงั้ ซงึ่ ไดร้ บั บตั รเลอื กตงั้ ลงคะแนน
เสยี งในบตั รเลอื กตง้ั โดยวธิ กี ารกากบาทหรอื ทำ� เครอื่ งหมายทแ่ี สดงวา่ ไดเ้ ลอื ก
ผทู้ ม่ี หี มายเลขประจำ� ตวั ดงั กลา่ วเปน็ กรรมการลกู จา้ งผมู้ สี ทิ ธลิ งคะแนนเสยี ง
เลือกต้ังจะลงคะแนนเสียงเกินจ�ำนวนกรรมการลูกจ้างซ่ึงก�ำหนดไว้ไม่ได้

12
คณะกรรมการลกู จ้าง

ในกรณีที่มีการลงคะแนนเสียงเกินจ�ำนวนกรรมการลูกจ้างให้ถือว่าบัตร
ลงคะแนนเสยี งดงั กล่าวเปน็ บตั รเสยี และไมใ่ ห้นับคะแนนเสยี งในบัตรนั้น

เม่ือผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกต้ังลงคะแนนเสียงแล้วให้น�ำบัตร
เลอื กตง้ั มอบใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตง้ั ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การ
เลือกต้ังหย่อนบัตรเลือกตั้งลงในหีบบัตรเลือกต้ังต่อหน้าผู้ลงคะแนนเสียง
เลือกตง้ั

(15) เมอื่ ถงึ เวลาส้ินสดุ การเลอื กตง้ั แลว้ ใหค้ ณะกรรมการด�ำเนนิ การ
เลือกต้ังประกาศด้วยวาจาว่า พ้นก�ำหนดการลงคะแนนเสียงแล้วและจะ
ด�ำเนนิ การนับคะแนนเสยี งต่อไป

ในการนับคะแนนเสียง ให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้งเปิดหีบ
บตั รและเรม่ิ นบั คะแนนเสยี งโดยการเปดิ บตั รเลอื กตง้ั คราวละหนง่ึ บตั ร แสดง
ใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งไดเ้ หน็ ทวั่ กนั แลว้ ขานคะแนนเสยี ง เพอื่ ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ
การเลอื กตง้ั ซง่ึ มหี นา้ ทบี่ นั ทกึ คะแนนเสยี งใหล้ งคะแนนเสยี งไว้ และใหด้ ำ� เนนิ
การเชน่ เดียวกนั นีจ้ นกว่าบัตรเลือกต้งั ในหบี บตั รเลอื กตง้ั หมด

ให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้งรวมคะแนนเสียงท่ีได้รับเลือกต้ัง
ของผู้สมัครรับเลือกต้ังทุกคนโดยเรียงล�ำดับผู้สมัครรับเลือกต้ังซ่ึงได้คะแนน
เสียงมากทีส่ ุด จนครบจ�ำนวนทีก่ ำ� หนดไวเ้ ป็นกรรมการลูกจ้าง

(16) ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตงั้ แจง้ ใหน้ ายจา้ งและพนกั งาน
ประนอมข้อพิพาทแรงงานแห่งท้องท่ีท่ีสถานประกอบกิจการน้ันต้ังอยู่ทราบ
โดยไมช่ กั ชา้ วา่ ผใู้ ดไดร้ บั เลอื กตง้ั เปน็ กรรมการลกู จา้ ง (หรอื แจง้ ตามแบบ ร.ส. 20)

13
คณะกรรมการลูกจ้าง

อนึ่ง สถานประกอบกิจการหรือลูกจ้างที่มีปัญหาเก่ียวกับการเลือกตั้ง
กรรมการลูกจ้างและไม่เข้าใจในวิธีการด�ำเนินการเลือกตั้ง ก็อาจจะขอให้
พนกั งานประนอมขอ้ พพิ าทแรงงานเขา้ ไปใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� หรอื ชว่ ยเหลอื
ในการเลอื กตง้ั โดยขอคำ� แนะนำ� ไดท้ ่ี กลมุ่ งานสง่ เสรมิ แรงงานสมั พนั ธ์ สำ� นกั
แรงงานสัมพันธ์ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน หมายเลขโทรศัพท์
0-2246-2118, 0-2643-4470, กลมุ่ งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานพน้ื ท่ี
หรือ ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ท่ีสถานประกอบ
กจิ การต้งั อยู่

2. คณะกรรมการลูกจ้างที่มาจากการเลือกต้ังส่วนหนึ่ง และมาจาก
การแตง่ ตง้ั ส่วนหน่งึ

เกิดข้ึนเม่ือสถานประกอบกิจการนั้นมีสหภาพแรงงาน และ
สหภาพแรงงานมสี มาชกิ เกนิ หนง่ึ ในหา้ ของลกู จา้ งในสถานประกอบการกจิ การ
น้ัน สหภาพแรงงานมีสิทธิแต่งต้ังกรรมการลูกจ้างได้มีจ�ำนวนเกินกว่า
กรรมการลกู จา้ งอน่ื ทม่ี ไิ ดเ้ ปน็ สมาชกิ สหภาพแรงงานอกี หนง่ึ คน ตวั อยา่ งเชน่
สถานประกอบกจิ การทมี่ ลี กู จา้ งเกนิ 200 คน แตไ่ มเ่ กนิ 400 คน จะมกี รรมการ
ลูกจ้างได้ 9 คน ในกรณีเช่นน้ี หากมีการจัดต้ังสหภาพแรงงานและ
สหภาพแรงงานนั้นมีสมาชกิ เกนิ หนึ่งในห้าของลูกจ้างทัง้ หมด

14
คณะกรรมการลกู จ้าง

(1) สหภาพแรงงานอาจใช้สิทธแิ ต่งตั้งกรรมการลูกจ้างได้ 5 คน และ
กรรมการลูกจ้างที่สหภาพแรงงานแต่งต้ังจะต้องเป็นสมาชิกของ
สหภาพแรงงาน

(2) กรรมการลูกจ้างทเ่ี หลอื อกี 4 คน ตอ้ งมาจากการเลือกตงั้ ซึง่ ใน
สว่ นนสี้ มาชกิ สหภาพแรงงานไมม่ สี ทิ ธสิ มคั รเขา้ รบั การเลอื กตงั้ แตม่ สี ทิ ธเิ พยี ง
ลงคะแนนเสียงเลือกต้ังเท่านั้น ลักษณะเช่นน้ีคณะกรรมการลูกจ้างจึง
ประกอบดว้ ยสมาชกิ ของสหภาพแรงงาน และลกู จา้ งอน่ื ทมี่ ไิ ดเ้ ปน็ สมาชกิ ของ
สหภาพแรงงานนัน้

การรอ้ งขอกบั นายจา้ งใหป้ ระกาศการเลอื กตงั้ สว่ นทเ่ี หลอื ใหด้ ำ� เนนิ การ
เชน่ เดยี วกบั การเลอื กตงั้ กรรมการลกู จา้ งทงั้ คณะในประกาศกรมแรงงาน เรอ่ื ง
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารในการเลอื กตงั้ กรรมการลกู จา้ ง ลงวนั ที่ 16 พฤษภาคม
2518 โดยอนุโลมกล่าวคือการร้องขอน้ันต้องกระท�ำในนามลูกจ้างไม่ใช่
สหภาพแรงงาน

ในกรณีท่ีสถานประกอบกิจการน้ันมีสหภาพแรงงานมากกว่าหนึ่ง
สหภาพฯ สหภาพแรงงานทกุ สหภาพฯ จะตกลงรว่ มกนั แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ
ลูกจ้างโดยแบ่งจ�ำนวนกรรมการลูกจ้าง ตามสัดส่วนสมาชิกของแต่ละ
สหภาพแรงงานตามทกี่ ฎหมายกำ� หนดไวไ้ มไ่ ด้ สว่ นจะตอ้ งดำ� เนนิ การเลอื กตงั้
ตามประกาศกรมแรงงานหรอื ไมน่ ้นั มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้

15
คณะกรรมการลูกจา้ ง

1. ถ้ามีสหภาพแรงงานเพียงหนึ่งสหภาพแรงงานที่มีสมาชิกเกินหน่ึง
ในห้า สหภาพแรงงานแห่งนั้นเท่าน้ันมีสิทธิแต่งตั้งกรรมการลูกจ้าง และ
กรรมการอกี ส่วนหนึง่ ต้องมาจากการเลอื กตง้ั

2. ถา้ มสี หภาพแรงงานมากกวา่ หนง่ึ แห่งมจี ำ� นวนสมาชิก เกินหนง่ึ ใน
ห้าของจ�ำนวนลูกจ้างท้ังหมด และสหภาพแรงงานหน่ึงได้ใช้สิทธิแต่งตั้ง
กรรมการลูกจ้างแล้ว สหภาพแรงงานอื่นจะใช้สิทธิแต่งต้ังกรรมการลูกจ้าง
เช่นกัน และได้ย่ืนค�ำร้องต่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน ลักษณะ
เช่นน้ีเกิดการแย่งใช้สิทธิจึงต้องจัดให้มีการเลือกต้ังกรรมการลูกจ้าง โดยจะ
ตอ้ งดำ� เนนิ การตามพระราชบญั ญตั แิ รงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 45 วรรค
สาม ซ่ึงให้น�ำบทบัญญัติมาตรา 15 วรรคสามและวรรคส่ีมาบังคับใช้
โดยอนุโลม

3. กรณีสหภาพแรงงานเพียงแห่งเดียวมีสมาชิกเกินก่ึงหน่ึงของ
จ�ำนวนลูกจ้างท้ังหมดได้ใช้สิทธิแต่งต้ังกรรมการลูกจ้างทั้งคณะ หรือกรณี
สหภาพแรงงานมากกว่าหน่ึงแห่งมีจ�ำนวนสมาชิกเกินหนึ่งในห้าของจ�ำนวน
ลูกจ้างท้ังหมด และสหภาพใดสหภาพหน่ึงได้ใช้สิทธิแต่งต้ังกรรมการลูกจ้าง
บางส่วนโดยไม่มีสหภาพแรงงานอื่นหรือผู้ใดย่ืนค�ำร้องต่อพนักงานประนอม
ข้อพิพาทแรงงาน สหภาพแรงงานน้ันก็เป็นผู้ใช้สิทธิแต่งต้ังคณะกรรมการ
ลูกจ้างตามมาตรา 45 วรรคสอง โดยไม่ต้องจัดให้มีการลงคะแนนเสียง

16
คณะกรรมการลกู จา้ ง

เลือกตั้งหรือจัดให้มีการเลือกต้ังกรรมการลูกจ้างส่วนท่ีขาดอยู่แล้วแต่กรณี
ทั้งน้ีตามมาตรา 45 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
พ.ศ. 2518

3. คณะกรรมการลูกจา้ งทีม่ าจากการแต่งตงั้ ทั้งหมด
สถานประกอบกจิ การใดทม่ี สี หภาพแรงงาน และสหภาพแรงงานนนั้ มี
จำ� นวนสมาชกิ เกนิ กง่ึ หนง่ึ ของลกู จา้ งทง้ั หมด สหภาพแรงงานอาจใชส้ ทิ ธแิ ตง่
ต้ังกรรมการลูกจ้างได้ทั้งคณะและกรรมการลูกจ้างท่ีสหภาพแรงงานใช้สิทธิ
แตง่ ตง้ั อาจจะเปน็ สมาชกิ ของสหภาพแรงงานหรอื ไมก่ ไ็ ด้ สหภาพแรงงานจะ
แต่งต้ังลูกจ้างอ่ืนที่มิได้เป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานก็ได้ การท่ี
สหภาพแรงงานจะใชส้ ทิ ธแิ ตง่ ตง้ั กรรมการลกู จา้ งทงั้ คณะดงั กลา่ วขา้ งตน้ ถา้
นายจา้ งหรือสหภาพแรงงานทเี่ ก่ียวข้องสงสัยว่าจำ� นวนสมาชิกจะมคี รบตาม
ที่กฎหมายก�ำหนดไว้หรือไม่ ก็ให้ยื่นค�ำร้องต่อพนักงานประนอมข้อพิพาท
แรงงานเพ่ือให้ท�ำการตรวจรับรองจ�ำนวนสมาชิกสหภาพแรงงานต่อไป
(มาตรา 15 แห่งพระราชบญั ญัตแิ รงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ. 2518)
วิธีการด�ำเนินการแต่งตั้งน้ันให้สหภาพแรงงานท�ำหนังสือแต่งต้ัง
กรรมการลูกจ้างขึ้นตามจ�ำนวนที่กฎหมายก�ำหนด แจ้งต่อนายจ้างและ
พนกั งานประนอมขอ้ พพิ าทแรงงานประจำ� ทอ้ งทเี่ พอื่ ทราบและดำ� เนนิ การตอ่ ไป

17
คณะกรรมการลกู จา้ ง

จ�ำนวนคณะกรรมการลกู จา้ ง

ในสถานประกอบกจิ การทเี่ ปน็ ของนายจา้ งคนเดยี วกนั จดทะเบยี นเปน็
นิตบิ คุ คลเดียวและมีลูกจ้างตง้ั แต่ 50 คนขน้ึ ไป ลกู จา้ งอาจด�ำเนนิ การจัดตง้ั
คณะกรรมการลูกจ้างขึ้นได้หน่ึงคณะท�ำหน้าที่เป็นตัวแทนลูกจ้างท้ังหมดใน
สถานประกอบกิจการนั้น และหากสถานประกอบกิจการน้ันมีหน่วยงาน
สำ� นกั งานยอ่ ยหรอื สาขาในจงั หวดั อน่ื ๆ ซงึ่ ผบู้ รหิ ารในหนว่ ยงานยอ่ ยนน้ั ๆ ไมม่ ี
อำ� นาจในการจดั การและควบคมุ บงั คบั บญั ชาลกู จา้ งในหนว่ ยงานยอ่ ยในระดบั
หน่ึง โดยหลักเกณฑ์แล้วสถานประกอบกิจการลักษณะน้ีจะจัดตั้งคณะ
กรรมการลกู จา้ งไดเ้ พยี งคณะเดยี ว โดยลกู จา้ งอาจใชว้ ธิ เี ฉลยี่ จำ� นวนกรรมการ
ลูกจา้ งทจี่ ะจดั ต้งั ในจังหวัดตา่ งๆ นัน้ ตามสดั สว่ นของจำ� นวนลูกจ้างท่ีมีอย่ใู น
จงั หวดั ทงั้ นเี้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความยตุ ธิ รรมและในกรณที หี่ นว่ ยงานยอ่ ย สำ� นกั งาน
ย่อยหรือสาขาในจังหวัดอื่นๆ ผู้บริหารในหน่วยงานย่อยน้ัน มีอ�ำนาจในการ
จัดการและควบคุมบังคับบัญชาลูกจ้างในหน่วยงานย่อยในระดับหน่ึง จะจัด
ต้งั คณะกรรมการลูกจา้ งได้จงั หวดั ละหนงึ่ คณะ

การจัดต้ังอาจกระท�ำได้โดยวิธีการเลือกต้ังจากลูกจ้างท่ัวไปและถ้า
กิจการน้ันมีสหภาพแรงงาน สหภาพแรงงานนั้นอาจแต่งตั้งคณะกรรมการ
ลูกจ้างข้ึนก็ได้ตามหลักเกณฑ์ท่ีระบุไว้ในพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
พ.ศ. 2518 หมวด 5

18
คณะกรรมการลูกจา้ ง

จ�ำนวนลกู จา้ ง จำ� นวนกรรมการ สดั ส่วนจำ� นวนสมาชิกสหภาพแรงงาน
ทงั้ หมดใน ลูกจา้ งทั้งคณะ กับจำ� นวนลกู จา้ งท้งั หมดใน
ตามท่กี ฎหมาย สถานประกอบกิจการ
สถานประกอบกิจการ
ก�ำหนด เกนิ 1 ใน 5 เกนิ กึง่ หน่ึง
50 - 100 คน สหภาพแรงงาน
101 - 200 คน 5 เลอื กตั้ง สหภาพแรงงาน แตง่ ต้งั ทัง้ คณะ
201 - 400 คน 7 แตง่ ตง้ั
401 - 800 คน 9
801 - 1,500 คน 11 23 5
1,501 - 2,500 คน 13 34 7
2,501 - คนขึ้นไป 15 45 9
17 - 21 56 11
67 13
78 15
8 - 10 9 - 11 17 - 21

หากสหภาพแรงงานซึ่งมีสมาชิกเกินกว่ากึ่งหนึ่ง หรือเกินกว่าหน่ึงใน
ห้าของจ�ำนวนลูกจ้างทั้งหมดมิได้ใช้สิทธิแต่งตั้งกรรมการลูกจ้างแต่อย่างใด
ลูกจา้ งในสถานประกอบการน้นั สามารถเลอื กตั้งกรรมการลูกจ้างท้ังคณะได้

19
คณะกรรมการลูกจา้ ง

ขอ้ สังเกต

1. กิจการใดท่มี ีจ�ำนวนลูกจ้างไมแ่ นน่ อน ให้ถอื อตั ราเฉลย่ี ของจ�ำนวน
ลูกจ้างในระยะเวลาสามเดือนก่อนวันเลือกต้ังเป็นเกณฑ์เพ่ือกำ� หนดจ�ำนวน
กรรมการลกู จ้าง

2. ค�ำว่าสถานประกอบกิจการ ตามมาตรา 45 และมาตรา 46 แห่ง
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 หมายความถึงหน่วยงานหนึ่ง
ของนายจ้างอันเป็นหน่วยงานที่มีอ�ำนาจในการจัดการและควบคุมบังคับ
บัญชาลูกจ้างในหน่วยงานน้ัน มิได้หมายถึงเพียงนิติบุคคลหน่ึงหรือนายจ้าง
คนหน่ึงซ่ึงเป็นเจ้าของหน่วยงาน ทั้งน้ีเนื่องจากวัตถุประสงค์ของการมีคณะ
กรรมการลกู จา้ งกเ็ พอ่ื ใหล้ กู จา้ งเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ ม ในการจดั การของหนว่ ยงาน
แตล่ ะแหง่ ของนายจา้ ง หลกั สำ� คญั จงึ อยทู่ ร่ี ะบบการจดั การในแตล่ ะหนว่ ยงาน
ของนายจ้าง นอกจากน้ีในกรณีท่ีในสถานประกอบกิจการน้ันๆ มีหน่วยงาน
หรอื สาขาในตา่ งจงั หวดั หากลกั ษณะของการบรหิ ารงานมกี ารดำ� เนนิ งานโดย
ถือการสัง่ การจากสว่ นกลางไปยงั สว่ นภมู ภิ าค และมีลกั ษณะการบริหารงาน
เช่อื มโยงกันไปหมด มไิ ด้แบ่งเปน็ หน่วยงานท่ีด�ำเนินการตามลำ� พังเป็นหน่วย
งานๆ แมว้ ่าหนว่ ยงานหรือสาขาในตา่ งจังหวัดน้นั ๆ จะไดม้ กี ารแบง่ สว่ นงาน
ออกเป็นฝ่าย หรือเป็นแผนกก็ตามถือได้ว่าหน่วยงานทั้งในส่วนกลางและใน
ตา่ งจงั หวดั นนั้ เปน็ สถานประกอบกจิ การเพยี งสถานกจิ การเดยี ว จงึ จะมคี ณะ
กรรมการลกู จ้างได้เพียงคณะเดยี วเท่าน้ัน

20
คณะกรรมการลกู จา้ ง

3. ในสถานประกอบกจิ การทม่ี จี ำ� นวนลกู จา้ ง 2,501 คนขน้ึ ไป กฎหมาย
กำ� หนดใหจ้ ดั ต้งั คณะกรรมการลูกจ้างจ�ำนวน 17, 19 หรือ 21 คน ก็ได้ แต่
เพื่อความสะดวกในการลงคะแนนเสียงเมื่อมีการขอมติในท่ีประชุมคณะ
กรรมการลกู จา้ ง และตามกฎหมายในสถานประกอบกจิ การทม่ี สี หภาพแรงงาน
ซึ่งมีสมาชิกเกินหนึ่งในห้าของลูกจ้างท้ังหมด สหภาพแรงงานน้ันมีสิทธิแต่ง
ตงั้ กรรมการลกู จา้ งเปน็ จำ� นวนมากกวา่ กรรมการลกู จา้ งอน่ื ทไี่ มไ่ ดเ้ ปน็ สมาชกิ
ของสหภาพแรงงานหนงึ่ คน กลา่ วคอื ถา้ สถานประกอบกจิ การมจี ำ� นวนคณะ
กรรมการลูกจา้ งท้ังหมด 17, 19 หรือ 21 คน สหภาพแรงงานกจ็ ะมีสิทธิแตง่
ตง้ั กรรมการลกู จา้ งไดเ้ ปน็ จำ� นวน 9 , 10 และ 11 คนตามลำ� ดบั แตห่ ากสถาน
ประกอบกิจการนั้นมีจ�ำนวนคณะกรรมการลูกจ้างทั้งหมด 18 หรือ 20 คน
สหภาพแรงงานกจ็ ะไมส่ ามารถแบง่ จำ� นวนกรรมการลกู จา้ งทจี่ ะเลอื กตงั้ และ
แตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายกำ� หนดไวไ้ ด้ การจดั ตงั้ คณะกรรมการลกู จา้ งจงึ
ไม่ควรใหเ้ ป็นจำ� นวนเลขคู่

21
คณะกรรมการลูกจ้าง

การพ้นจากต�ำแหนง่ ของกรรมการลูกจา้ ง

(มาตรา 48 แหง่ พระราชบัญญัติแรงงานสมั พันธ์ พ.ศ. 2518)

นอกจากการพน้ จากตำ� แหนง่ เมอื่ ครบวาระแลว้ (3 ป)ี กรรมการลกู จา้ ง
ยอ่ มพน้ จากต�ำแหนง่ เมอื่

1. ตาย
2. ลาออก
3. เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมอื นไร้ความสามารถ
4. ไดร้ ับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถงึ ทสี่ ุดใหจ้ ำ� คกุ
5. ลกู จา้ งเกนิ กงึ่ หนงึ่ ของจำ� นวนลกู จา้ งทง้ั หมดในสถานประกอบกจิ การ
นั้น มีมติใหพ้ น้ จากตำ� แหน่ง
6. ศาลแรงงานมีค�ำสง่ั ใหพ้ ้นจากต�ำแหนง่
7. มกี ารเลอื กตั้งหรือแต่งต้ังกรรมการลกู จา้ งใหมท่ ั้งคณะ
• การลาออก
การลาออกจากต�ำแหน่งของกรรมการลูกจ้าง กฎหมายมิได้บัญญัติว่า
ใหย้ น่ื ใบลาออกตอ่ ใครแตเ่ มอื่ พจิ ารณาประกาศกรมแรงงาน เรอื่ ง หลกั เกณฑ์
และวธิ กี ารในการเลอื กตงั้ คณะกรรมการลกู จา้ ง ลงวนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2518
ข้อ 17 ที่ก�ำหนดให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้งแจ้งผลการเลือกตั้ง
กรรมการลูกจ้างให้นายจ้างและพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานทราบ
ก็พอจะอนุโลมมาใช้กับการลาออกของกรรมการลูกจ้างได้โดยให้กรรมการ

22
คณะกรรมการลูกจา้ ง

ลูกจ้างท่ีมาจากการเลือกต้ังซ่ึงประสงค์จะลาออก แจ้งการลาออกเป็น
ลายลกั ษณอ์ กั ษรใหน้ ายจา้ งและพนกั งานประนอมขอ้ พพิ าทแรงงานทราบดว้ ย

แต่ในกรณีที่สหภาพแรงงานแต่งต้ังกรรมการลูกจ้างบางส่วนหรือท้ัง
คณะนน้ั การลาออกของกรรมการลกู จา้ งกค็ วรทกี่ รรมการลกู จา้ งผนู้ นั้ จะแจง้
เป็นลายลักษณ์อกั ษรต่อประธานสหภาพแรงงาน เพราะเม่อื สหภาพแรงงาน
เป็นผู้แต่งต้ังบุคคลนั้นขึ้นมา การขอลาออกจึงควรแจ้งต่อประธาน
สหภาพแรงงาน เพอื่ ใหป้ ระธานสหภาพแรงงานทราบและดำ� เนนิ การแตง่ ตง้ั
ผู้อื่นด�ำรงต�ำแหน่งแทนต่อไป และควรแจ้งนายจ้างและพนักงานประนอม
ขอ้ พพิ าทแรงงานทราบดว้ ยเชน่ กัน

• เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื เสมอื นไร้ความสามารถ
การท่ีบุคคลใดจะตกเป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความ
สามารถน้ัน ต้องปรากฏว่าบุคคลนั้นเป็นคนวิกลจริตจิตฟั่นเฟือนหรือมี
ข้อบกพร่องอย่างร้ายแรง ตามที่กฎหมายก�ำหนดและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียยื่น
คำ� รอ้ งตอ่ ศาล ขอใหศ้ าลสง่ั ใหเ้ ปน็ บคุ คลไรค้ วามสามารถหรอื เสมอื นไรค้ วาม
สามารถซง่ึ บคุ คลนน้ั จะกระทำ� นติ กิ รรมใดๆ ไมไ่ ดถ้ า้ จะกระทำ� ตอ้ งใหผ้ อู้ นบุ าล
กระทำ� แทน สว่ นบคุ คลเสมอื นไรค้ วามสามารถจะกระทำ� นติ กิ รรมใดๆ จะตอ้ ง
ได้รับอนุญาตจากผู้พิทักษ์เสียก่อนกฎหมายจึงบัญญัติให้กรรมการลูกจ้างพ้น
จากต�ำแหน่งเพราะเหตดุ งั กล่าว

23
คณะกรรมการลูกจ้าง

• ไดร้ บั โทษจ�ำคกุ โดยพิพากษาถงึ ทสี่ ดุ ให้จ�ำคกุ
“การได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงท่ีสุดให้จ�ำคุก” อาจแยก
พิจารณาไดด้ งั น้ี
1. ความผิดท่ีกรรมการลูกจ้างได้รับโทษในกรณีนี้ ไม่จ�ำเป็นต้องเป็น
ความผิดท่ีกระท�ำต่อนายจ้างเท่าน้ัน แต่อาจเป็นความผิดซึ่งได้กระท�ำผิดต่อ
บคุ คลอ่นื ท่ีมใิ ชน่ ายจ้างดว้ ย
2. “ค�ำพิพากษาถึงที่สุด” หมายความถึง ค�ำพิพากษาของศาลชั้นต้น
หรอื ศาลอทุ ธรณซ์ ง่ึ ไม่มีการอทุ ธรณ์หรอื ฎีกาภายในกำ� หนดระยะเวลา ตามท่ี
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้ก�ำหนดไว้ แต่ถ้าคู่ความใช้สิทธิอุทธรณ์
หรอื ฎกี าตามคำ� พพิ ากษาของศาลชนั้ ตน้ หรอื ศาลอทุ ธรณน์ น้ั คดยี อ่ มยงั ไมถ่ งึ ท่ี
สดุ จนกวา่ ศาลสงู จะไดพ้ จิ ารณาชขี้ าดตดั สนิ คดตี ามอทุ ธรณห์ รอื ฎกี านน้ั แลว้
3. “การไดร้ บั โทษจำ� คกุ ” หมายถงึ กรรมการลกู จา้ งไดร้ บั โทษจำ� คกุ จรงิ
โดยต้องขังอยู่ในคุกตามค�ำพิพากษา ดังน้ันกรณีท่ีมิได้มีการจ�ำคุกจริง เช่น
ศาลพพิ ากษาวา่ กรรมการลกู จา้ งมคี วามผดิ จรงิ ตามฟอ้ ง แตม่ เี หตอุ นั ควรตาม
ทกี่ ำ� หนดในมาตรา 56 แหง่ ประมวลกฎหมายอาญา ศาลจงึ เหน็ สมควรรอการ
ก�ำหนดโทษหรือรอการลงโทษไว้ แลว้ ปลอ่ ยตวั กรรมการลูกจ้างไปดังน้นั ยอ่ ม
ไมอ่ ยใู่ นความหมายวา่ กรรมการลกู จา้ งผนู้ น้ั ไดร้ บั โทษคำ� พพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ ใหจ้ ำ� คกุ

24
คณะกรรมการลูกจ้าง

• ลูกจา้ งเกินก่ึงหนึ่งของจำ� นวนลกู จา้ งทั้งหมดในสถานประกอบการ
น้ันมมี ตใิ หพ้ ้นจากตำ� แหน่ง

เนอื่ งจากกรรมการลกู จา้ งทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ตวั แทนของลกู จา้ งทง้ั หมด และ
ได้รับเลือกจากลูกจ้างส่วนใหญ่ของสถานประกอบกิจการน้ัน ดังน้ัน หาก
ลกู จา้ งสว่ นใหญเ่ หน็ วา่ กรรมการลกู จา้ งไมไ่ ดท้ ำ� หนา้ ทเ่ี พอื่ ลกู จา้ งทงั้ มวล หรอื
ไม่มีประสิทธภิ าพกช็ อบท่จี ะลงมตใิ หพ้ ้นจากตำ� แหน่งได้

ส�ำหรับปัญหาที่ว่าลูกจ้างเกินก่ึงหน่ึงของลูกจ้างท้ังหมดจะสามารถลง
มตใิ หก้ รรมการลกู จา้ งทส่ี หภาพแรงงานแตง่ ตง้ั เขา้ มาพน้ จากตำ� แหนง่ ไดห้ รอื
ไม่ ตามบทบัญญัติของกฎหมายใช้ค�ำว่า “กรรมการลูกจ้างย่อมพ้นจาก
ต�ำแหน่งเม่ือ......” ดังนั้น จึงต้องหมายความถึงกรรมการลูกจ้างทั้งคณะใน
สถานประกอบกจิ การนน้ั ไมว่ า่ จะมาจากการเลอื กตงั้ หรอื แตง่ ตง้ั กต็ ามลกู จา้ ง
สามารถลงมติใหพ้ ้นจากตำ� แหน่งได้

• ศาลแรงงานมีคำ� สัง่ ให้พ้นจากตำ� แหนง่
การทศี่ าลแรงงานจะมีค�ำสั่งใหพ้ ้นจากตำ� แหน่งได้ ตอ้ งมีผรู้ อ้ งต่อศาล
เสียก่อน ผู้ท่ีจะร้องขอต่อศาลได้ก็คือลูกจ้างหรือนายจ้างของสถานประกอบ
กจิ การแห่งน้นั แต่โดยทล่ี กู จ้างสามารถใชส้ ทิ ธิตามมาตรา 48 แหง่ พระราช
บัญญตั แิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ลงมติได้อยแู่ ล้ว การใช้สทิ ธิทางศาลใน
ข้อนีจ้ ึงน่าจะเปน็ ฝ่ายนายจา้ ง และสามารถใช้สทิ ธไิ ดเ้ ม่อื ปรากฏว่ากรรมการ

25
คณะกรรมการลูกจา้ ง

ลกู จา้ งมพี ฤตกิ ารณต์ ามมาตรา 51 แหง่ พระราชบญั ญตั แิ รงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ.
2518 ซงึ่ จะไดก้ ลา่ วตอ่ ไป อยา่ งไรกต็ ามกไ็ มห่ า้ มลกู จา้ งใชส้ ทิ ธติ ามมาตรานดี้ ว้ ย

• มกี ารเลือกต้งั หรือแต่งต้งั กรรมการลกู จา้ งใหมท่ ัง้ คณะ
การที่จะให้มีการเลือกตั้งหรือแต่งต้ังกรรมการลูกจ้างใหม่ท้ังคณะต้อง
มีเงือ่ นไขอย่างใดอย่างหน่งึ ตามมาตรา 49 ซ่งึ จะกลา่ วภายหลัง
เม่ือกรรมการลูกจ้างพ้นจากตำ� แหน่งก่อนวาระให้มีการเลือกตั้ง หรือ
แต่งต้ังกรรมการลูกจ้างแทนต�ำแหน่งท่ีว่างและให้กรรมการซึ่งตนแทน
ตัวอย่างเช่น หากกรรมการลูกจ้างผู้หน่ึงด�ำรงต�ำแหน่งมาแล้วหนึ่งปีต้องพ้น
จากต�ำแหน่งไปไม่ว่าด้วยเหตุใด และมีการเลือกตั้งกรรมการลูกจ้างแทน
ต�ำแหน่งที่ว่าง ลูกจ้างที่ได้รับเลือกตั้งจะอยู่ในต�ำแหน่งภายในระยะเวลาที่
เหลอื คือสองปเี ท่าน้นั

ขอ้ กำ� หนดใหม้ กี ารเลอื กตง้ั หรอื แตง่ ตงั้ กรรมการลกู จา้ งใหมท่ ง้ั คณะ

(ม. 49 แหง่ พระราชบญั ญตั แิ รงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ. 2518)
ใหม้ กี ารเลอื กตงั้ หรอื แตง่ ตง้ั กรรมการลกู จา้ งใหมท่ งั้ คณะ เมอ่ื ปรากฏวา่
1. จ�ำนวนลูกจ้างในสถานประกอบกิจการน้ันมีจ�ำนวนเพิ่มข้ึน หรือ

ลดลงเกนิ ก่งึ หนงึ่ ของจำ� นวนลูกจา้ งทมี่ อี ยเู่ ดิม
2. กรรมการลูกจา้ งพ้นจากต�ำแหนง่ เกินก่งึ หนึ่ง
3. ลูกจ้างเกินกึ่งหน่ึงของลูกจ้างในสถานประกอบกิจการน้ันมีมติให้

กรรมการลูกจ้างทง้ั คณะพ้นจากตำ� แหนง่

26
คณะกรรมการลูกจ้าง

4. ศาลแรงงานมคี ำ� ส่งั ให้กรรมการลกู จ้างทัง้ คณะพ้นจากตำ� แหนง่

1. จ�ำนวนลูกจ้างในสถานประกอบกิจการนั้นมีจ�ำนวนเพ่ิมข้ึนหรือ
ลดลงเกนิ กึง่ หนง่ึ ของจำ� นวนลกู จา้ งทีม่ ีอยู่เดมิ เชน่

เดมิ สถานประกอบกิจการ ก. มลี กู จ้าง 200 คน มีกรรมการลกู จ้างได้
7 คน ถา้ นายจา้ งขยายการผลติ รบั ลูกจ้างเพม่ิ อกี 120 คน รวมเปน็ 320 คน
ซงึ่ ลกู จา้ งทเ่ี พม่ิ ขน้ึ นเ้ี กนิ กวา่ กง่ึ หนงึ่ ของลกู จา้ งทงั้ หมด (กง่ึ หนง่ึ ของ 200 คน)
จึงต้องมีการเลือกตั้งคณะกรรมการลูกจ้างใหม่ทั้งคณะเพราะเม่ือมีลูกจ้าง
320 คน จะมกี รรมการลกู จา้ งได้ 9 คน ทง้ั นี้เนือ่ งจากถ้าจะใหม้ กี ารเลือกต้ัง
กรรมการลกู จา้ งเพยี ง 2 คน จากจ�ำนวนลูกจา้ ง (ทีเ่ พม่ิ ขน้ึ ) 120 คน กจ็ ะผดิ
ไปจากบทบัญญัติตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
พ.ศ. 2518 ในท�ำนองเดียวกนั ถ้าจ�ำนวนลกู จา้ งลดลงเกินกงึ่ หน่งึ เช่น ลดลง
110 คน จะเหลือลูกจ้างเพยี ง 90 คน (200-110) ซ่ึงจะมกี รรมการลูกจ้างได้
เพียง 5 คน การท่ีจะคัดเลือกให้มีกรรมการลูกจ้างคนใดคนหน่ึงพ้นจาก
ต�ำแหน่งให้เหลือเพียง 5 คน จะเกิดปัญหาไดจ้ ึงกำ� หนดให้มีการเลือกต้ังใหม่
ท้ังคณะ

๏ ถ้าในสถานประกอบกิจการ ก. มีลูกจ้างทั้งหมด 200 คน และมี
สหภาพแรงงาน ก. ซ่ึงมีสมาชิกเป็นลูกจ้าง 70 คน เกินกว่าหน่ึงในห้าของ
จ�ำนวนลูกจ้างทัง้ หมด (40 คน) เดิมสหภาพแรงงานแต่งตั้งกรรมการลกู จา้ ง
ได้ 4 คน อีก 3 คน ใช้วิธีเลือกต้ังเมื่อมีลูกจ้างเพิ่มข้ึนเป็น 320 คน

27
คณะกรรมการลูกจ้าง

คณะกรรมการลกู จา้ งจะมกี รรมการลกู จา้ งได้ 9 คน (สหภาพแรงงานอาจแตง่
ต้งั ได้ 5 คน อีก 4 คน ใชว้ ิธีเลือกต้ัง) ในกรณที ่มี ีจ�ำนวนลกู จ้างเพม่ิ ขึน้ หรอื
ลดลงดังตวั อยา่ งน้ี กต็ อ้ งจดั ให้มีการแตง่ ต้ังหรือเลือกต้งั ใหม่ทง้ั คณะ

๏ ถา้ สหภาพแรงงาน ก. มสี มาชกิ 120 คน เกนิ กวา่ กงึ่ หนงึ่ ของลกู จา้ ง
ทง้ั หมด 200 คน แตเ่ มอ่ื รบั ลกู จา้ งเพม่ิ เป็น 320 คน กงึ่ หนึง่ เทา่ กับ 160 คน
หากสมาชิกของสหภาพแรงงานไม่เพ่ิมข้ึนเลยจะมีผลให้สหภาพแรงงาน ก.
ไม่สามารถแต่งต้ังกรรมการลูกจ้างได้ทั้งคณะ คงแต่งตั้งได้เพียง 5 คน
อีก 4 คน ต้องใช้วธิ เี ลือกตั้งเว้นแต่จ�ำนวนสมาชกิ สหภาพแรงงานเพิ่มขึ้นจน
มีจ�ำนวนเกินกว่ากึ่งหน่ึงของลูกจ้างทั้งหมด (160 คน) จึงจะมีสิทธิแต่งต้ัง
กรรมการลกู จ้างได้ทงั้ คณะ 9 คน

2. กรรมการลกู จา้ งพน้ จากตำ� แหนง่ เกินก่ึงหนึ่ง
การพ้นจากต�ำแหน่งของกรรมการลูกจา้ ง ต้องเป็นไปตามเงอ่ื นไขดงั ท่ี
ได้กล่าวไว้แล้วเม่ือมีกรรมการลูกจ้างพ้นจากต�ำแหน่งเกินก่ึงหนึ่งและต้องมี
การแต่งต้ังใหม่หรือเลือกตั้งใหม่ท้ังคณะ ขณะยังไม่มีการแต่งต้ังใหม่หรือ
เลอื กตงั้ ใหมห่ รอื เลอื กตงั้ ใหมท่ ง้ั คณะ กรรมการลกู จา้ งทเ่ี หลอื จะยงั ไมพ่ น้ จาก
ตำ� แหนง่ กรรมการลกู จา้ ง เนอื่ งจากมาตรา 48 (7) บญั ญตั ใิ หก้ รรมการลกู จา้ ง
พน้ จากตำ� แหนง่ กอ่ นครบวาระ เมอ่ื มกี ารเลอื กตง้ั หรอื แตง่ ตงั้ กรรมการลกู จา้ ง
ใหม่ทั้งคณะ ดังน้ัน เมื่อยังไม่มีการเลือกตั้งหรือแต่งต้ังกรรมการลูกจ้างใหม่
ทง้ั คณะ กรรมการลกู จ้างท่เี หลอื จงึ ยงั ไม่พ้นจากต�ำแหน่ง

28
คณะกรรมการลกู จ้าง

3. ลูกจ้างเกินก่ึงหน่ึงของลูกจ้างในสถานประกอบกิจการนั้นมีมติให้
กรรมการลกู จา้ งท้ังคณะพ้นจากตำ� แหนง่

การท่ีกฎหมายให้สิทธิแก่ลูกจ้างในการปลดกรรมการลูกจ้างออกจาก
ตำ� แหนง่ ไดน้ เ้ี ปน็ ไปตามหลกั การประชาธปิ ไตย กลา่ วคอื เมอ่ื กรรมการลกู จา้ ง
เป็นตัวแทนของลูกจ้างทั้งหมดมาจากการเลือกต้ังของลูกจ้าง ถ้าปรากฏว่า
กรรมการลกู จา้ งมไิ ดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นฐานะตวั แทนทดี่ หี รอื ไมส่ จุ รติ ฯลฯ ลกู จา้ ง
ทงั้ มวลมสี ทิ ธทิ จี่ ะลงมตใิ หก้ รรมการลกู จา้ งนน้ั พน้ จากตำ� แหนง่ ได้ การใชส้ ทิ ธิ
ตามอนมุ าตราน้ี ลกู จา้ งสามารถลงมตใิ หก้ รรมการลกู จา้ งทมี่ าจากการแตง่ ตง้ั
ของสหภาพแรงงานพน้ จากตำ� แหนง่ ไดด้ ว้ ย ตามเหตผุ ลทกี่ ล่าวมาแลว้

4. ศาลแรงงานมคี ำ� ส่งั ใหก้ รรมการลูกจา้ งทั้งคณะพน้ จากตำ� แหน่ง
ในเรอ่ื งนกี้ เ็ ชน่ เดยี วกบั ทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ ในขอ้ 3 กลา่ วคอื ศาลแรงงาน
จะออกค�ำส่ังน้ีได้ต้องมีผู้ร้องขอเสียก่อน ซึ่งผู้ร้องขออาจจะเป็นนายจ้างหรือ
ลกู จ้างก็ได้

29
คณะกรรมการลูกจ้าง

บทที่ 3

กฎหมายและประกาศกรมแรงงาน

เรอื่ ง หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี าร ในการเลือกต้งั

คณะกรรมการลกู จา้ ง

พระราชบัญญตั ิแรงงานสัมพนั ธ์ พ.ศ. 2518
หมวด 5 คณะกรรมการลกู จ้าง

มาตรา 45 ในสถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างต้ังแต่ห้าสิบคนขึ้นไป
ลูกจา้ งอาจจัดตั้งคณะกรรมการลูกจ้างในสถานประกอบกจิ การนนั้ ได้

ในกรณีที่ลกู จา้ งในสถานประกอบกจิ การนนั้ เกนิ หนงึ่ ในห้าของจำ� นวน
ลูกจ้างทั้งหมดเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานให้คณะกรรมการลูกจ้าง
ประกอบด้วยลูกจ้างในสถานประกอบกิจการนั้น ที่สหภาพแรงงานแต่งต้ังมี
จำ� นวนมากกวา่ กรรมการอน่ื ทม่ี ไิ ดเ้ ปน็ สมาชกิ ของสหภาพแรงงานหนงึ่ คน ถา้
ลูกจ้างในสถานประกอบกิจการนั้นเกินก่ึงหน่ึงของจ�ำนวนลูกจ้างทั้งหมดเป็น
สมาชิกของสหภาพแรงงาน สหภาพแรงงานอาจแต่งตั้งกรรมการลูกจ้างท้ัง
คณะกไ็ ด้

30
คณะกรรมการลกู จา้ ง

ให้น�ำมาตรา 15 วรรคสามและวรรคสี่มาใช้บังคับแก่การแต่งต้ัง
กรรมการลกู จ้างตามวรรคสองโดยอนโุ ลม

หมายเหตุ

มาตรา 15 สมาคมนายจ้างหรือสหภาพแรงงานอาจแจ้งข้อเรียกร้อง
ตามมาตรา 13 ต่ออีกฝ่ายหนึ่งแทนนายจ้างหรือลูกจ้างซึ่งเป็นสมาชิกได้
จ�ำนวนสมาชิกซึ่งเป็นลูกจ้างต้องมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าหน่ึงในห้าของจ�ำนวน
ลกู จา้ งทงั้ หมด

ในกรณีที่สหภาพแรงงานเป็นผู้แจ้งข้อเรียกร้อง ข้อเรียกร้องน้ันไม่
จำ� ตอ้ งมรี ายชือ่ และลายมอื ช่ือลูกจ้างซ่ึงเกี่ยวขอ้ งกบั ข้อเรยี กรอ้ ง

ในกรณีที่มีข้อสงสัยว่า สหภาพแรงงานน้ันจะมีลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับ
ข้อเรียกร้องเป็นสมาชิกครบจ�ำนวนท่ีได้ระบุไว้ในวรรคหน่ึงหรือไม่นายจ้าง
สมาคมนายจา้ ง หรอื สหภาพแรงงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง อาจยน่ื คำ� รอ้ งโดยทำ� หนงั สอื
ให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานตรวจรับรองเม่ือพนักงานประนอม
ขอ้ พพิ าทแรงงานไดร้ บั คำ� รอ้ งดงั กลา่ วแลว้ ใหด้ ำ� เนนิ การตรวจหลกั ฐานทงั้ ปวง
ว่าสหภาพแรงงานนน้ั มลี กู จ้างซงึ่ เก่ยี วข้องกบั ข้อเรยี กรอ้ งเปน็ สมาชกิ หรอื ไม่
ถ้ามีให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานออกหนังสือรับรอง มอบให้ผู้ยื่น
คำ� รอ้ งเปน็ หลกั ฐาน ถา้ ไมม่ ใี หพ้ นกั งานประนอมขอ้ พพิ าทแรงงานแจง้ ใหฝ้ า่ ย
ท่ีเกยี่ วขอ้ งทราบ

31
คณะกรรมการลกู จา้ ง

ในกรณีที่สหภาพแรงงานเป็นผู้แจ้งข้อเรียกร้อง ถ้าความปรากฏแก่
พนกั งานประนอมขอ้ พพิ าทแรงงานตามคำ� รอ้ งของฝา่ ยใดฝา่ ยหนงึ่ วา่ ลกู จา้ ง
ซึ่งเก่ียวข้องกับข้อเรียกร้องน้ันบางส่วนเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานอ่ืนด้วย
ให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานจัดให้มีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
ผแู้ ทนลกู จา้ งในการด�ำเนนิ การตามมาตรา 13

มาตรา 46 คณะกรรมการลูกจา้ งมีจ�ำนวนดงั ต่อไปน้ี
(1) ห้าคน ส�ำหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ห้าสิบคน
ข้นึ ไป แตไ่ มเ่ กนิ หน่ึงรอ้ ยคน
(2) เจ็ดคน ส�ำหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างเกินหนึ่งร้อยคน
แต่ไม่เกินสองร้อยคน
(3) เก้าคน ส�ำหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างเกินสองร้อยคน
แต่ไม่เกนิ สร่ี อ้ ยคน
(4) สิบเอ็ดคน ส�ำหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างเกินส่ีร้อยคน
แต่ไม่เกินแปดร้อยคน
(5) สบิ สามคน สำ� หรบั สถานประกอบกจิ การทม่ี ลี กู จา้ งเกนิ แปดรอ้ ยคน
แตไ่ ม่เกินหนึ่งพนั ห้ารอ้ ยคน
(6) สิบห้าคน ส�ำหรับสถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างเกินหนึ่งพัน
ห้าร้อยคน แตไ่ มเ่ กินสองพันห้าร้อยคน
(7) สิบเจ็ดคนถึงย่ีสิบเอ็ดคน ส�ำหรับสถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้าง
เกนิ สองพันห้ารอ้ ยคน

32
คณะกรรมการลูกจ้าง

หลักเกณฑ์และวิธีการในการเลือกต้ังกรรมการลูกจ้างให้เป็นไปตามที่
อธิบดีกำ� หนด โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา 47 กรรมการลูกจ้างอย่ใู นตำ� แหน่งคราวละสามปี แตอ่ าจได้
รบั เลอื กตั้งหรือแตง่ ตั้งใหมไ่ ด้

มาตรา 48 นอกจากพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระ กรรมการลูกจา้ งพน้
จากตำ� แหนง่ เมอ่ื

(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื เสมอื นไร้ความสามารถ
(4) ได้รบั โทษจ�ำคุกโดยคำ� พพิ ากษาถงึ ท่สี ุดให้จำ� คุก
(5) ลูกจ้างเกินกึ่งหนึ่งของจ�ำนวนลูกจ้างท้ังหมดในสถานประกอบ
กิจการน้นั มมี ตใิ ห้พน้ จากต�ำแหน่ง
(6) ศาลแรงงานมคี �ำสง่ั ให้พน้ จากต�ำแหน่ง
(7) มกี ารเลอื กต้งั หรอื แต่งตงั้ กรรมการลูกจ้างใหมท่ ง้ั คณะ
เมื่อกรรมการลูกจ้างพ้นจากตำ� แหน่งก่อนวาระ ให้มีการเลือกตั้งหรือ
แต่งต้ังกรรมการลกู จา้ งแทนตำ� แหนง่ ท่ีวา่ ง แลว้ แตก่ รณี
กรรมการลูกจ้างซึ่งได้รับเลือกต้ังหรือแต่งตั้งตามวรรคสองอยู่ใน
ต�ำแหนง่ ตามวาระของกรรมการซึง่ ตนแทน
มาตรา 49 ใหม้ กี ารเลอื กตง้ั หรอื แตง่ ตงั้ กรรมการลกู จา้ งใหมท่ ง้ั คณะ เมอื่
(1) จ�ำนวนลูกจ้างในสถานประกอบกิจการน้ันมีจ�ำนวนเพ่ิมขึ้นหรือ
ลดลงเกินก่ึงหนึ่งของจำ� นวนลูกจา้ งท้ังหมดทม่ี อี ย่เู ดิม

33
คณะกรรมการลกู จา้ ง

(2) กรรมการลกู จ้างพน้ จากต�ำแหน่งเกนิ กึ่งหนึ่ง
(3) ลูกจ้างเกินกึ่งหน่ึงของลูกจ้างในสถานประกอบกิจการนั้นมีมติให้
กรรมการลกู จ้างทง้ั คณะพ้นจากต�ำแหน่ง
(4) ศาลแรงงานมคี ำ� สัง่ ให้กรรมการลูกจา้ งทง้ั คณะพ้นจากต�ำแหนง่
มาตรา 50 นายจ้างต้องจัดให้มีการประชุมหารือกับคณะกรรมการ
ลูกจา้ งอย่างนอ้ ยสามเดอื นตอ่ หน่ึงคร้ัง หรอื เม่อื กรรมการลูกจ้างเกินกึง่ หน่งึ
ของกรรมการลกู จา้ งทง้ั หมด หรอื สหภาพแรงงานรอ้ งขอโดยมเี หตผุ ลสมควร เพอื่
(1) จดั สวสั ดกิ ารแกล่ กู จา้ ง
(2) ปรกึ ษาหารอื เพอื่ กำ� หนดขอ้ บงั คบั ในการทำ� งานอนั จะเปน็ ประโยชน์
ต่อนายจา้ งและลกู จา้ ง
(3) พิจารณาค�ำรอ้ งทุกข์ของลูกจ้าง
(4) หาทางปรองดองและระงับข้อขัดแยง้ ในสถานประกอบกิจการ
ในกรณที ี่คณะกรรมการลกู จ้างเหน็ วา่ การกระทำ� ของนายจ้างจะท�ำให้
ลูกจ้างไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือได้รับความเดือดร้อนเกินสมควร คณะ
กรรมการลูกจ้าง ลูกจ้างหรือสหภาพแรงงานมีสิทธิร้องขอให้ศาลแรงงาน
พิจารณาวินิจฉัย
มาตรา 51 ในกรณที ก่ี รรมการลกู จา้ งผใู้ ดหรอื คณะกรรมการลกู จา้ งไม่
ปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องตนโดยสจุ รติ หรอื กระทำ� การอนั ไมส่ มควรอนั เปน็ ภยั ตอ่ ความ
สงบเรียบร้อยของประชาชน หรือเปิดเผยความลับของนายจ้างเกี่ยวกับการ
ประกอบกิจการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร นายจ้างมีสิทธิร้องขอให้ศาล

34
คณะกรรมการลูกจ้าง

แรงงานมีค�ำสั่งให้กรรมการลูกจ้างผู้น้ันหรือกรรมการลูกจ้างท้ังคณะพ้นจาก
ตำ� แหนง่ ได้

มาตรา 52 หา้ มมใิ ห้นายจ้างเลกิ จ้าง ลดค่าจา้ ง ลงโทษ ขดั ขวางการ
ปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการลูกจ้าง หรือกระท�ำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้
กรรมการลกู จา้ งไมส่ ามารถทำ� งานอยตู่ อ่ ไปได้ เวน้ แตจ่ ะไดร้ บั อนญุ าตจากศาล
แรงงาน

มาตรา 53 ห้ามมิให้นายจ้างให้หรือตกลงจะให้เงินหรือทรัพย์สินแก่
กรรมการลูกจ้าง เว้นแต่ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าท�ำงานในวันหยุด โบนัส
เงินปันผล หรือประโยชน์อื่นที่กรรมการลูกจ้างมีสิทธิได้รับตามปกติในฐานะ
ลูกจา้ ง

หมวด 10 บทกำ� หนดโทษ

มาตรา 143 นายจ้างผ้ใู ดฝ่าฝืนหรอื ไม่ปฏบิ ัติตามมาตรา 50 มาตรา
52 หรือมาตรา 53 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกิน
หนง่ึ พันบาท หรือท้งั จำ� ท้งั ปรับ

ตามบทบญั ญตั ิ ของกฎหมาย นายจา้ งจะต้องจดั ให้มีการประชุมหารอื
กับคณะกรรมการลูกจ้างอย่างน้อยสามเดือนต่อหนึ่งครั้ง หรือเม่ือกรรมการ
ลูกจ้างเกินกึ่งหน่ึงของกรรมการลูกจ้างท้ังหมด หรือสหภาพแรงงานร้องขอ
โดยมีเหตผุ ลอันสมควร

หากนายจ้างฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตาม จะได้รับโทษจ�ำคุกไม่เกิน
หนง่ึ เดอื น หรือปรบั ไม่เกนิ หนงึ่ พนั บาท หรอื ทั้งจำ� ทง้ั ปรบั

35
คณะกรรมการลูกจา้ ง

ประกาศกรมแรงงาน
เรอื่ ง หลักเกณฑ์และวธิ ีการในการเลือกตั้ง

คณะกรรมการลูกจา้ ง

อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติ
แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 อธิบดีกรมแรงงาน ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธี
การเลอื กตั้งกรรมการลูกจา้ งไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้

ขอ้ 1 ในสถานประกอบกจิ การแหง่ หนง่ึ ใหเ้ ลอื กตงั้ กรรมการลกู จา้ งได้
หนง่ึ คณะ เวน้ แตส่ ถานประกอบกจิ การนนั้ มหี นว่ ยงานหรอื สาขาในจงั หวดั อน่ื
ลูกจ้างในสถานประกอบกิจการเช่นว่าน้ัน อาจตกลงกันเลือกต้ังกรรมการ
ลกู จา้ งขนึ้ จงั หวดั ละคณะได้ จำ� นวนกรรมการลกู จา้ งในสถานประกอบกจิ การ
หรือในหน่วยงานหรือสาขาในแต่ละจังหวัดให้ก�ำหนดโดยถือหลักเกณฑ์ตาม
มาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพนั ธ์ พ.ศ. 2518

ขอ้ 2 ในสถานประกอบกจิ การทมี่ จี ำ� นวนลกู จา้ งไมแ่ นน่ อนใหถ้ อื อตั รา
เฉลี่ยของจ�ำนวนลูกจ้างในระยะเวลาสามเดือนก่อนมีการเลือกต้ังเป็นเกณฑ์
เพ่อื ก�ำหนดจำ� นวนกรรมการลกู จา้ ง

36
คณะกรรมการลกู จา้ ง

ขอ้ 3 ใหล้ กู จา้ งในสถานประกอบกจิ การทป่ี ระสงคจ์ ะใหม้ กี ารเลอื กตง้ั
กรรมการลูกจ้าง ลงลายมือช่ือรวมกันไม่น้อยกว่าสิบคนแจ้งเป็นหนังสือต่อ
นายจ้างหรือพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานแห่งท้องท่ีท่ีสถานประกอบ
กิจการนนั้ ตัง้ อยู่ ว่าจะใหม้ ีการเลือกตัง้ กรรมการลูกจ้าง ทง้ั นีใ้ ห้แจง้ ลว่ งหนา้
กอ่ นถึงก�ำหนดวนั เลอื กตง้ั ไม่นอ้ ยกว่าสิบห้าวัน

ขอ้ 4 ใหล้ กู จา้ งซึ่งลงลายมือช่ือในหนงั สือแจ้งว่าจะใหม้ กี ารเลอื กต้งั
กรรมการลกู จา้ งแตง่ ตง้ั ลกู จา้ งในสถานประกอบกจิ การซง่ึ ไมป่ ระสงคจ์ ะสมคั ร
รับเลือกต้ังเป็นกรรมการลกู จ้างห้าคนเป็นคณะกรรมการด�ำเนนิ การเลอื กตง้ั

ขอ้ 5 ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตงั้ กำ� หนดวนั เวลา และสถาน
ทใ่ี นการเลอื กตง้ั กรรมการลกู จา้ ง ตลอดจนกำ� หนดระยะเวลารบั สมคั ร ผทู้ จ่ี ะ
สมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการลูกจ้างและแจ้งให้นายจ้างหรือพนักงาน
ประนอมข้อพิพาทแรงงานทราบโดยเร็ว ในการนี้คณะกรรมการด�ำเนินการ
เลอื กตง้ั อาจแจง้ ตามแบบ ร.ส. 17 ทา้ ยหลักเกณฑน์ ก้ี ็ได้

เม่ือนายจ้างได้รับแจ้งแล้ว ให้นายจ้างประกาศการเลือกต้ังกรรมการ
ลูกจ้างโดยมีข้อความตามที่คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้งแจ้งให้ทราบไว้
ณ สถานที่ท่ลี ูกจ้างท�ำงานทุกแหง่ เปน็ เวลาอยา่ งนอ้ ยสิบวนั ก่อนวนั เลอื กตัง้
การประกาศจะท�ำตามแบบ ร.ส. 18 ท้ายหลกั เกณฑน์ ้กี ็ได้

ในกรณที พ่ี นกั งานประนอมขอ้ พพิ าทแรงงาน ไดร้ บั แจง้ ตามวรรคหนงึ่
ให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานแจ้งให้นายจ้างด�ำเนินการตามวรรค
สอง

37
คณะกรรมการลกู จ้าง

ข้อ 6 ในกรณีที่สถานประกอบกิจการใดแบ่งเป็นแผนกหรือเป็น
หน่วยงาน ถ้าคณะกรรมการด�ำเนินการเลือกต้ังเห็นสมควรและลูกจ้างส่วน
ขา้ งมากเหน็ ชอบดว้ ยจะใหม้ กี ารเลอื กตงั้ กรรมการลกู จา้ งแยกตามแผนกหรอื
หน่วยงาน เพือ่ ใหค้ รบจ�ำนวนกรรมการลูกจ้างตามขอ้ 1 ก็ได้

ขอ้ 7 ภายใต้บังคับข้อ 4 ลูกจา้ งในสถานประกอบกิจการทุกคนมีสิทธิ
สมคั รรบั เลอื กตั้งและมีสิทธลิ งคะแนนเสยี งเลือกตัง้

ข้อ 8 ให้ผู้ท่ีจะสมัครรับเลือกต้ังเป็นกรรมการลูกจ้างยื่นใบสมัครรับ
เลือกตั้งต่อคณะกรรมการด�ำเนินการเลือกต้ังภายในก�ำหนดระยะเวลาตามท่ี
ระบุไว้ในประกาศ ใบสมัครรับเลือกต้ังให้มีข้อความตามแบบ ร.ส. 19 ท้าย
หลกั เกณฑ์นี้หรือมีขอ้ ความอย่างนอ้ ย ดงั ต่อไปนี้

(1) ชอ่ื และชอ่ื สกลุ
(2) อายุ
(3) ตำ� แหนง่ หรอื หนา้ ทที่ ปี่ ฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบกจิ การดงั กลา่ วตลอด
จนระยะเวลาในการทำ� งานกับสถานประกอบกจิ การแหง่ น้ัน
(4) ลายมือช่ือ
เม่ือคณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้งได้รับใบสมัคร ให้ก�ำหนด
หมายเลขประจำ� ตวั ผสู้ มคั รเรยี งตามลำ� ดบั ใบสมคั ร ในกรณที มี่ ปี ญั หาเกย่ี วกบั
การก�ำหนดหมายเลขประจ�ำตวั ผู้สมคั ร ใหค้ ณะกรรมการด�ำเนินการเลอื กตงั้
กำ� หนดหมายเลขโดยวธิ จี บั ฉลาก
ขอ้ 9 ใหน้ ายจ้าง จัดแผงหรอื ปา้ ยส�ำหรับผสู้ มคั รเลือกตง้ั ประกาศหา
เสยี งเลือกตง้ั ภายในบรเิ วณสถานประกอบกจิ การไม่นอ้ ยกว่าสองแห่ง

38
คณะกรรมการลูกจา้ ง

ผู้สมัครรับเลือกตั้งท่ีได้หมายเลขประจ�ำตัวแล้ว มีสิทธิด�ำเนินการ
หาเสยี ง ปดิ ประกาศ ณ แผงหรอื ปา้ ยทน่ี ายจา้ งจดั ไวต้ ามวรรคหนง่ึ หรอื โดย
การประชมุ ลกู จา้ งผมู้ สี ทิ ธลิ งคะแนนเสยี งเลอื กตง้ั แตจ่ ะปดิ ประกาศ ณ ทอ่ี นื่
นอกจากแผงหรอื ปา้ ยทนี่ ายจา้ งจดั ไว้ หรอื ประชมุ ลกู จา้ งหรอื กระจายเสยี งใน
ระหว่างเวลาท�ำงานได้ต่อเม่ือนายจ้างอนญุ าต

ข้อ 10 ให้นายจ้างจัดท�ำบัญชีรายช่ือลูกจ้างทุกคนในสถานประกอบ
กจิ การและสง่ ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตง้ั หนง่ึ ชดุ กอ่ นวนั เลอื กตง้ั ไม่
นอ้ ยกวา่ สามวนั และนำ� บญั ชรี ายชอื่ ลกู จา้ งดงั กลา่ วอกี ชดุ หนงึ่ ปดิ ประกาศไว้
ใหล้ ูกจา้ งตรวจดรู ายช่ือก่อนวันเลอื กต้งั ไมน่ อ้ ยกว่าสามวนั

ในกรณีที่ไม่มีรายช่ือลูกจ้างผู้ใดในบัญชี หรือบัญชีรายชื่อลูกจ้าง
ดังกล่าวไม่ถูกต้อง ลูกจ้างมีสิทธิคัดค้านและขอให้นายจ้างแก้ไขให้ถูกต้องได้
ให้นายจ้างด�ำเนินการแก้ไขโดยเร็ว และปิดประกาศบัญชีรายช่ือลูกจ้างใหม่
ก่อนวนั เลอื กต้ัง

ข้อ 11 ให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้งเตรียมการเลือกต้ังโดย
จัดหาอุปกรณ์สำ� หรับใชล้ งคะแนนเสียงเลือกตัง้ ดงั ต่อไปน้ี

(1) บตั รเลอื กตงั้ ซง่ึ มหี มายเลขประจำ� ตวั ผสู้ มัครทุกคน
(2) หีบลงคะแนนเสยี งเลอื กตั้ง
(3) เครือ่ งเขียน
(4) กระดานหรอื กระดาษหรืออุปกรณอ์ ย่างอ่ืนทคี่ ล้ายคลงึ กันเพ่ือใช้
ในการนับคะแนนเสียง ทัง้ น้ี ให้มีขนาดใหญพ่ อทจี่ ะใหบ้ คุ คลอน่ื เห็นไดช้ ัดใน
ขณะนับคะแนนเสียง

39
คณะกรรมการลกู จ้าง

ให้นายจ้างหรือพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานจัดหาอุปกรณ์
ดงั กลา่ วในวรรคหน่ึง เมื่อคณะกรรมการด�ำเนินการเลอื กต้ังร้องขอ

ข้อ 12 ให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกต้ังก�ำหนดระยะเวลา
ลงคะแนนเสียงไมน่ ้อยกว่าสี่ชวั่ โมงติดตอ่ กัน

ในกรณีท่ีลูกจ้างท�ำงานเป็นกะหรือท�ำงานในเวลาแตกต่างกันหรือ
ท�ำงานต่างสถานท่ีกัน และไม่อาจมาลงคะแนนเสียงพร้อมกันในระยะเวลา
หนง่ึ ได้ ใหจ้ ดั ใหม้ กี ารลงคะแนนเสยี งแยกกนั หรอื ในระยะเวลาอนื่ ทลี่ กู จา้ งมี
โอกาสลงคะแนนเสียงไดท้ กุ คน

ในวนั เลอื กตงั้ ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตง้ั ประกาศรายชอื่ และ
หมายเลขประจ�ำตวั ผูส้ มคั รรบั เลือกตัง้ ไว้ ณ สถานที่ท�ำการเลอื กต้ัง

ข้อ 13 การเลือกต้ังกรรมการลูกจ้างให้กระท�ำโดยวิธีการลงคะแนน
เสียงในบัตรเลือกต้ัง โดยให้ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกต้ังไปแจ้งต่อคณะ
กรรมการด�ำเนินการเลอื กต้งั ในวันเลือกต้ัง แลว้ ให้คณะกรรมการดำ� เนนิ การ
เลือกต้ังตรวจบัญชีรายชื่อ และจดแจ้งหมายเหตุในบัญชีรายช่ือว่าบุคคล
ดังกล่าวมาใช้สิทธิเลือกตั้งแล้ว พร้อมทั้งมอบบัตรลงคะแนนเสียงให้ผู้มีสิทธิ
ดังกล่าวหนึง่ ชดุ

ขอ้ 14 กอ่ นการลงคะแนนเสยี งเลอื กตง้ั ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การ
เลือกต้ังเปิดหีบบัตรเลือกต้ังต่อหน้าบุคคลอื่นท่ีอยู่ในบริเวณสถานที่เลือกต้ัง
เพอ่ื แสดงวา่ ไมม่ บี ตั รเลอื กตงั้ หรอื สง่ิ ใดๆ ในหบี บตั รเลอื กตง้ั แลว้ ผนกึ หบี บตั ร
เลือกต้ังนั้นต่อหน้าบุคคลท่ีอยู่ ณ ที่นั้น และหากกระท�ำได้ให้บุคคลดังกล่าว
ร่วมกบั คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้ง ลงลายมอื ช่ือในบันทึกแจง้ การเปิด

40
คณะกรรมการลกู จา้ ง

และปิดหบี บัตรดังกลา่ วดว้ ย
ข้อ 15 ให้ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกต้ังซึ่งได้รับบัตรเลือกต้ังลง

คะแนนเสยี งในบตั รเลอื กตงั้ โดยวธิ กี ากบาท หรอื ทำ� เครอื่ งหมายทแ่ี สดงวา่ ได้
เลอื กผทู้ ม่ี หี มายเลขประจำ� ตวั ดงั กลา่ วเปน็ กรรมการลกู จา้ ง ผมู้ สี ทิ ธลิ งคะแนน
เสียงเลือกต้ังจะลงคะแนนเสียงเกินจ�ำนวนกรรมการลูกจ้าง ซึ่งก�ำหนดไว้ไม่
ได้ ในกรณีที่มีการลงคะแนนเสียงเกินจ�ำนวนกรรมการลูกจ้างให้ถือว่าบัตร
ลงคะแนนเสยี งดงั กลา่ วเปน็ บัตรเสยี และไม่ให้นับคะแนนเสียงในบตั รนนั้

เม่ือผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งลงคะแนนเสียงแล้ว ให้พับบัตร
เลือกต้ังมอบให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลอื กต้ัง

ให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกตั้งหย่อนบัตรเลือกตั้งลงในหีบบัตร
เลอื กต้งั ต่อหน้าผูล้ งคะแนนเสยี งเลอื กตั้ง

ขอ้ 16 เมอ่ื ถงึ เวลาสน้ิ สดุ การเลอื กตงั้ แลว้ ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การ
เลือกต้ังประกาศด้วยวาจาว่าพ้นก�ำหนดการลงคะแนนเสียงแล้วและจะ
ดำ� เนินการนับคะแนนเสียงต่อไป

ในการนบั คะแนนเสยี งใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การเลอื กตง้ั เปดิ หบี บตั ร
และเริ่มนับคะแนนเสียง โดยการเปิดบัตรเลือกต้ังคราวละหน่ึงบัตรแสดงให้
ผเู้ กยี่ วขอ้ งไดเ้ หน็ ทวั่ กนั แลว้ ขานคะแนนเสยี งเพอื่ ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การ
เลอื กตงั้ ซง่ึ มหี นา้ ทบ่ี นั ทกึ คะแนนเสยี งไดล้ งคะแนนเสยี งไว้ และใหด้ ำ� เนนิ การ
เช่นเดียวกันนจี้ นกว่าบัตรเลือกตัง้ ในหบี บตั รเลือกตั้งหมด

ให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกต้ังรวมคะแนนเสียงที่ได้รับเลือกต้ัง
ของผู้สมัครรับเลือกต้ังทุกคน ผู้สมัครรับเลือกต้ังซึ่งได้คะแนนเสียงมากที่สุด
ตามลำ� ดับครบจำ� นวนที่ก�ำหนดไวเ้ ปน็ กรรมการลกู จา้ ง

41
คณะกรรมการลกู จ้าง

ข้อ 17 ให้คณะกรรมการด�ำเนินการเลือกต้ังแจ้งให้นายจ้างและ
พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานแห่งท้องท่ีท่ีสถานประกอบกิจการน้ันตั้ง
อยู่ทราบโดยไม่ชักช้า ว่าผู้ใดได้รับเลือกต้ังเป็นกรรมการลูกจ้างหรือแจ้งตาม
แบบ ร.ส. 20 ทา้ ยหลักเกณฑ์นี้

ข้อ 18 ให้กรรมการลูกจ้างซึ่งได้รับเลือกตั้งตามข้อ 16 มีสิทธิและ
หนา้ ท่ใี นฐานะกรรมการลกู จา้ งนบั แต่วนั ทเ่ี ลือกตั้งเปน็ ต้นไป

ข้อ 19 การเลือกตั้งกรรมการลูกจ้างแทนต�ำแหน่งท่ีว่างตามมาตรา
48 แหง่ พระราชบญั ญัติแรงงานสมั พันธ์ พ.ศ. 2518 ใหน้ ำ� บทบญั ญัตวิ ่าดว้ ย
การเลอื กต้ังกรรมการลูกจ้างดังกลา่ วมาแล้ว มาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม

ประกาศ ณ วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2518

นิคม จนั ทรวทิ ุร
อธบิ ดีกรมแรงงาน

42
คณะกรรมการลูกจ้าง


Click to View FlipBook Version