อกั ษรเบรลล์
อกั ษรเบรลล์
เพื่อการพัฒนาคุณภาพชวี ติ
ประวิติของอักษรเบรลล์
หลยุ ส์ เบรลล์ เกิดเม่อื วนั ที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1809 ณ เมอื ง Coupvray
ประเทศฝรง่ั เศส หลุยส์ เบรลล์ตาบอดเพราะเกดิ อุบัติเหตเุ ม่ืออายุ 3 ขวบ ตอนแรกเขา
เรียนร่วมในโรงเรียนปกติ ต่อมาได้ไปเรียนท่ีสถาบันคนตาบอดแห่งชาตฝิ รงั่ เศส เมอื ง
ปารสี และเป็นครสู อนหนังสือในเวลาต่อมา เขามคี วามรสู้ ึกสานกึ ว่า คนตาบอดหากไม่
มอี ักษรสาหรบั บนั ทกึ ขอ้ ความแล้วการศกึ ษาจะเป็นไปไดไ้ ม่ดี เขามีความคดิ มาจาก
นายทหารแหง่ กองทัพบกฝรัง่ เศสช่ือ กปั ตนั ชาลส์ บาบแิ อร์ ซ่ึงได้นาวธิ ีการสง่ ขา่ วสาร
ทางทหารในเวลากลางคืนมาให้คนตาบอดลองใช้ดูระบบนีใ้ ช้รหสั จุดขดี นูนลงบน
กระดาษแขง็ ซงึ่ เรียกวา่ โซโนกราฟฟี่ (Sonography) แมร้ ะบบนค้ี ่อนขา้ งจะยงุ่ ยากแต่
หลุยส์ เบรลล์ เหน็ คุณค่าของวธิ กี ารนีจ้ ึงได้นามาดัดแปลงใหเ้ หมาะกับการสมั ผสั ดว้ ย
ปลายน้วิ โดยใหม้ จี ุดหกจุดเรียงกนั เป็นสองแถว ทางตั้งแถวดา้ นซา้ ยเรียงจากบนลง
ลา่ งเรียกจุด 1, 2, 3 และทางตัง้ แถวด้านขวาเรียงจากบนลงลา่ งเรยี กจุด 4, 5, 6 แลว้
นาจุดตา่ ง ๆ น้มี าจดั กลมุ่ กันเป็นรหสั ได้ถงึ 63 กลมุ่ และสามารถนาไปใช้แทนตัวอกั ษร
หรือสญั ลกั ษณใ์ นวชิ าคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดนตรี และเครื่องหมายต่าง ๆ ได้
หลยุ ส์ เบรลล์ ได้ประกาศวิธกี ารใชอ้ กั ษรสาหรับคนตาบอดในปี ค.ศ. 1824
เมอ่ื เขามีอายุได้ 15 ปี ตอ่ มานักเรียนตาบอดเกดิ ความกระตือรอื รน้ ในโอกาสใหมน่ ้ี
มาก และคาว่า “เบรลล์” จงึ ถอื วา่ เป็นอกั ษรสาหรับคนตาบอดซึง่ มาจากชื่อ “หลุยส์
เบรลล์” เพอ่ื เป็นการยกย่องใหก้ บั ผ้คู ิดประดิษฐข์ นึ้ หลยุ ส์ เบรลล์ ได้ถงึ แก่กรรมเมื่อ
วนั ท่ี 6 มกราคม ค.ศ. 1852 เพียง 2 ปี ก่อนระบบการเขียนการอา่ นหนงั สอื สาหรบั
คนตาบอดจะเป็นที่ยอมรบั อยา่ งเป็นทางการ
ลกั ษณะของอักษรเบรลล์
สัญลักษณ์อักษรเบรลล์เกิดจากการคิดค้นระบบการอ่านด้วย ปลายนิ้วบน
ความแตกตา่ งของจุดนนู 6 จุด
โดยคนตาบอดชาวฝรัง่ เศสชอ่ื นายหลุยส์ เบรลล์ ต่อมา ระบบการอ่าน เขยี น
พมิ พข์ องเขาไดร้ บั ความนยิ มอย่างแพร่หลาย เพือ่ เปน็ การให้เกียรตแิ ก่ นัก
คดิ คน้ จึงเรียกช่ือระบบการสมั ผสั จุดนนู ดงั กล่าวว่า “สัญลักษณ์อกั ษรเบรลล์”
ส่วนในประเทศไทย มีสเจเนวฟี คอลฟลิ ด์ (Miss Gevevive Caulfield) เปน็
สภุ าพสตรีอเมรกิ นั ตาบอด คนแรกท่ีนาความรู้เรอื่ งสญั ลกั ษณ์อักษรเบรลล์มา
เผยแพรใ่ นปี พ.ศ.2482 พร้อมจัดต้ังโรงเรียนสอนคนตาบอด
กรุงเทพงานพัฒนาส่ือเทคโนโลยีและนวัตกรรมโรงเรียนสอนคนตา
บอดภาคเหนือฯ ได้กล่าวถึงอักษรเบรลล์ว่าเป็นอักษรสาหรับคนตาบอด มี
ลักษณะเป็นจุดนูนเล็กๆ ใน1ช่อง ประกอบด้วยจุดเล็กๆ 6 ตาแหน่ง ซึ่งนามา
จัดสลับตาแหน่,สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดนตรี ฯลฯ กา สตร์
ดนตรี ฯลฯ การเขียนใช้เครื่องมือเฉพาะเรียกว่า สเลท (Slate)และสไตลัส
(Stylus) สาหรบั การพิมพ์ใช้เครอ่ื งพิมพ์ดดี อักษรเบรลล์ เรียกว่า เบรลล์เลอร์
(Brailler)
วิธกี ารเขียนอักษรเบรลล์
วิธีการเขียนอักษรเบรลล์จะเขียนจากด้านขวามือไปด้านซ้ายมือ โดยใช้น้ิวช้ี
ซ้ายสัมผัสช่อง ของแผ่นสเลทจากขวาไปซ้าย เพ่ือกํากับช่องท่ีจะเขียนจับสไตลัส
ด้วยมือขวา โดยให้ส่วนที่กลม แป้นด้านบนอยู่ตรงบริเวณโคนนิ้ว งอปลายน้ิวชี้มา
ประคองสเลทด้านหน้า ใช้นิ้วหัวแม่มือและ น้ิวกลางช่วยระคองสเลทด้านข้าง
ตาํ แหน่งจุดในการเขียนอักษรเบรลล์ จดุ 1, 2, 3 จะอยู่ทางขวามือและจดุ 4, 5, 6
จะอยทู่ างซา้ ยมอื
วิธีการอ่านอักษรเบรลล์เหมือนกับการอ่านหนังสือท่ัวไป คือ อ่านจาก
ซ้ายมือไปขวาโดยใช้นิ้วช้ีข้างซ้ายกํากับบรรทัดทัดท่ีจะอ่าน นิ้วชี้ข้างขวาเร่ิมต้น
อ่านจากนิ้วชี้ข้างซ้ายกํากับบรรทัดเลื่อนไป ทางขวามือ แล้วเล่ือนนิ้วช้ีข้างซ้ายลง
มากํากบั บรรทดั ต่อไป โดยกํากับอยู่บนตัวอักษรตัวแรกของคํา การเขียน และพิมพ์
อกั ษรเบรลล์ภาษาอังกฤษและภาษาไทยขั้นพ้ืนฐานดงั นี้
ตารางท2่ี .1 อกั ษรเบรลลภ์ าษาอังกฤษ
ตารางท่ี 2.2 เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาอังกฤษ
ตารางท่ี 2.3 อกั ษรเบรลลภ์ าษาองั กฤษ a-j
ตารางที่ 2.3 อกั ษรเบรลลภ์ าษาอังกฤษ a-j
ตารางท่ี 2.4 อกั ษรเบรลลภ์ าษาองั กฤษ k-t ท่เี พ่ิมจดุ 3 ในอกั ษรเบรลล์
ตารางท่ี 2.4 อักษรเบรลลภ์ าษาอังกฤษ k-t ท่เี พ่มิ จดุ 3 ในอักษรเบรลล์
ตารางที่ 2.5 อกั ษรเบรลลภ์ าษาองั กฤษ u-z ท่เี พ่ิมจดุ 6 ในอกั ษรเบรลล์
ตารางท่ี 2.5 อักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษ u-z ท่เี พมิ่ จดุ 6 ในอกั ษรเบรลล์
ตารางที่ 2.6 อักษรเบรลลภ์ าษาอังกฤษระดบั 2 ที่ใช้ a-z แทนคา
ตารางท่ี 2.7 คายอ่ พิเศษทีใ่ ช้บอ่ ย
ตารางที่ 2.8 คายอ่ ท่ตี ้องเขียนติดกนั เสมอ
ตารางท่ี 2.9 พยญั ชนะทีม่ ี 1 เซลล์ ก-ซ
ตารางท่ี 2.10 พยญั ชนะที่มี 1 เซลล์ ด-ฟ
ตารางท่ี 2.11 พยัญชนะท่มี ี 1 เซลล์ ส-ฮ
ตารางที่ 2.11 พยัญชนะทม่ี ี 2 เซลล์ และใช้ จดุ 6 ( ) นาข้างหนา้
ตารางท่ี 2.12 พยัญชนะที่มี 2 เซลล์ และใช้ จดุ 3,6 ( ) นาข้างหน้า
ตารางที่ 2.14 อักษรเบรลล์พยัญชนะภาษาไทย
00
ตารางท่ี 2.15 สระเด่ียวท่เี ขียนตามหลังพยัญชนะ
ตารางที่ 2.16 สระเดียวทเี่ ขียนขา้ งหน้าพยญั ชนะต้น
ตารางท่ี 2.17 สระประสม 1 เซลล์ ทีเ่ ขยี นข้างหน้าพยัญชนะตน้
ตารางท่ี 2.18 สระประสม 2 เซลล์ ทีเ่ ขยี นข้างหนา้ พยัญชนะต้น
ตารางที่ 2.19 เครอ่ื งหมายวรรคตอนและวรรคยุกต์
ตารางท่ี 2.20 อกั ษรเบรลลส์ ระภาษาไทย
ตารางที่ 2.21 เคร่อื งหมายตา่ งๆ
การเขียนตวั เลขเปน็ อกั ษรเบรลลจ์ ะตอ้ งมเี คร่ืองหมายนาเลขเขยี นข้างหนา้
ตัวเลขเสมอ ไม่ว่าจะเป็นตวั เลขไทยหรือเลขฮนิ ดูอารบิก เครือ่ งหมายนาหนป้ ระกอบดว้ ย
3,4,5,
การเขียนอักษรเบอร์ ตัวเลขไทยให้เพ่มิ จุดหก ขา้ งหน้า เครอื่ งใหมน่ า้ ลกี
ก่อน แล้วจงึ เขยี นตัวเลขตามโดยชายจุดอักษรเบอรต์ าแหนง่ จุด 1,2,4,5
การเขียนอักษรเบอร์ตัวเลขฮินดูอารบิกจะใช้เคร่ืองหมายนาเลขนาหน้าก่อน
เสมอแล้วจึงเขียนตัวเลขตาม ซ่ึงตัวเลขนี้เราจะใช้จุด อักษรเบรลล์ตาแหน่งที่ 1,2,4,5
ซ่งึ โดย ทัว่ ไปจะเรยี ก ว่า เลขสงู เชน่
การเขียนอกั ษรเบอรต์ ัวเลขฮินดูอารบิกในทางคณิตศาสตร์ จะใช้เครอ่ื งหมายนา
เลข นาหนา้ กอ่ นเสมอแลว้ จึงเขียนตัวเลขตาม ซงึ่ ตัวเลขในทางคณิตศาสตร์นี่เราจะใช้จุด
อกั ษรเบอร์ ตาแหน่ง 2,3,5,6 ซึง่ โดยท่ัวไป จะเรียกว่าเลขต่า เช่น
สรุปหลักการเขยี นอกั ษรเบรลล์
ภาษาไทย
1) อักษรเบรลล์มีการประสมคาเหมือนกับการประสมคาตามหลักวิชาภาษาไทย
ท่ัวไป
2) การเขียนสระที่อยู่ข้างหน้าพยัญชนะ ได้แก่ สระ เอ แอ โอ ไอ ไอ ให้เขียนไว้
ขา้ งหนา้ พยญั ชนะตามปกติ
3) การเขียนสระที่อยู่ข้างหลังพยัญชนะ ได้แก่ สระ อะ อา ออ อัวะ อัว อา ให้
เขยี นไวข้ า้ ง หลงั พยญั ชนะตามปกติ
4) การเขียนสระที่อยู่ข้างบน และข้างล่างพยัญชนะ ได้แก่ สระ อิ อี อึ อือ อุ อู
ให้เขียนไว้ข้าง หลังพยัญชนะทส่ี ระตวั น้ันกากบั อยู่
5) การเขียนสระประสม ได้แก่ สระ เอะ แอะ โอะ เออะ เอียะ เอีย เอือะ เอือ
เอา สระ ประสมเหล่าน้ีในการเขียนอักษรเบรลล์จะมีรหัสอักษรเบรลล์เฉพาะแทนสระ
ท้งั กลุ่มเขียนไวข้ า้ งหลงั พยัญชนะทีส่ ระตัวน้ันกากบั อยู่
6) การเขยี นสระเกนิ ไดแ้ ก่ ฤ ฤๅ ฦ ฦา ใหเ้ ขียนไว้ขา้ งหลังพยญั ชนะตามปกติ
7) การเขยี นสระลดรปู และสระเปล่ยี นรปู และเวลาเขยี นให้
- สระ อะ ที่เปลย่ี นรูปเป็น ไม้หันอากาศ ให้เขียนไว้ข้างหลังพยญั ชนะต้น
กอ่ นวรรณยกุ ต์ และตัวสะกดตามหลกั ภาษาไทยทัว่
- สระ โอะเมื่อลดรูปแล้วจะไม่มีรูปสระปรากฏอยู่ ให้เขียนเรียงตาม
พยัญชนะตามหลกั ภาษาไทยทว่ั ไป
- สระ เออ ทีเ่ ปลยี่ นรปู เป็น เ-ิ ใหเ้ ขียนอยูใ่ นรปู สระ เออ ตามรหัสอักษร
เบรลล์ คอื ให้เขียน
ตามหลังพยัญชนะท่ีสระกากับอยู่
- สระ เออ ทีสะกดด้วย ย ญ ม เช่น เคย เฉย เลย เทอญ เทอม ให้
เขียนเรยี งตามรปู ที่ปรากฏเหมอื นกับการเขยี นอักษรปกติ
8) การเขียนวรรณยุกต์
- การเขียนวรรณยุกต์ กับสระ อา ออ และตัว ที่ลดรูปไม้หันอากาศ ให้
เขียนวรรณยุกต์ก่อนสระเสมอ
- สระอื่นๆ รวมท้ังสระอะ ที่เปล่ียนรูปเป็นไม้หันอากาศ ให้เขียน
วรรณยุกต์ตามหลังสระกอ่ นตัวสะกดทีต่ ามมา
- การเขียนคาที่ประสมด้วยสระ คือ ถ้าคาน้ันไม่มีตัวสะกดให้เขียน
ตามหลัง มาด้วย แต่ถ้าคานั้นมีตัวสะกดให้เขียนเรียงตามรูปที่ปรากฏเหมือนกับการ
เขียนอกั ษรปกติ
- การเขียนไม้หันอากาศ ตัวการนั ต์ ไมย้ มก และไม้ไต่คู้ ให้เขียนตามหลัง
พยัญชนะตามปกติ
9) การเขียนเครอ่ื งหมายในภาษาบาลีและภาษาสนั สกฤต
- พยญั ชนะที่มเี ครอื่ งหมายพินทุ กากับอยู่ขา้ งล่างพยัญชนะ การเขยี น
ให้ใช้จดุ 3 เขียนตามหลงั พยญั ชนะท่มี ีเครอ่ื งหมายพินทุ กากบั อยู่
- พยัญชนะท่ีมีเครื่องหมายนิคหิต กากับอยู่ข้างหน้าบนพยัญชนะ การ
เขียนให้ใช้ จดุ 5 เขยี นนาหนา้ พยัญชนะทม่ี ีเคร่อื งหมาย นิคหิต กากบั อยู่
2. อุปกรณก์ ารเขยี นอักษร
เบรลล์
2.1 สไตลัส (Stylus) มีไวส้ าหรบั ใช้เขยี นอักษรเบรลลต์ ้องใช้ควบคกู่ บั สเลท (Slate)
สไตลัสประกอบด้วย 3 ส่วน คือ สว่ นหัว ส่วนตัว และปลายเขม็
2.2 สเลท (Slate) เปน็ แผน่ กระดานใชส้ าหรับใสก่ ระดาษเพอ่ื เขยี นอกั ษรเบรลล์
ภายในแผน่ กระดานประกอบดว้ ย ชอ่ งเป็นแถวยาว ในแต่ละชอ่ งจะมรี ไู ว้สาหรบั เขยี น
ช่องละ 6 รู สเลทแตล่ ะอนั จะมฝี าเปดิ -ปิด และทีล่ ็อคกระดาษ
2.3 เครอื่ งพมิ พ์อักษรเบรลล์ (Brailler) ใช้สาหรับพิมพอ์ กั ษรเบรลล์
2.4 กระดาษท่ใี ชเ้ ขยี นและพิมพ์ ควรเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ชนดิ ของอปุ กรณ์
3. วธิ ีการใชอ้ ปุ กรณก์ าร
เรยี น
3.1 การใช้สไตลัส (Stylus) มไี ว้สาหรับเขียนอักษรเบรลล์ มวี ธิ จี บั สไตลัสท่ีถูกตอ้ ง
โดยวางโคนน้ิวชี้ไว้บนสไตลัส และให้น้ิวหัวแม่มอื สอดไว้ใต้โคนน้ิวช้ี ใช้นิ้วหัวแม่มือ
โคนนว้ิ กลาง และปลายนิว้ ชจี้ ับประคองสว่ นหัวให้ตัง้ ตรง และจบั ให้กระชบั มอื
3.2 การใช้สเลท (Slate) มไี วส้ าหรับเขียนอักษรเบรลล์
- การวางสเลท ใหว้ างดา้ นท่มี ชี ่องไว้ด้านบน โดยให้บานพบั อยู่ทางด้านซา้ ยมือ
และให้วางสเลทขนานกับลาตัวของผ้เู ขียน
- การเปิด-ปิดสเลท ให้เปิดทางด้านขวา ดา้ นซ้ายจะล็อค
3.3 การใส่กระดาษ ให้เปิดสเลทแผ่นบนขึ้นและใส่กระดาษ โดยใส่กระดาษขอบ
ซ้ายให้ชิดบานพับด้านซ้าย และหัวกระดาษอยู่ชิดขอบบนของสเลท และกด
กระดาษลงตรงปมุ่ ทง้ั สข่ี องสเลททใ่ี ชล้ อ็ คกระดาษ แลว้ จงึ ปดิ สเลท
3.4 การเล่อื นกระดาษ ให้เปดิ แผน่ สเลทด้านบนข้ึน แลว้ เลือ่ นแผ่นกระดาษ
ด้านล่างขยบั ข้นึ ดา้ นบน โดยใหน้ ารอยปุม่ ทลี่ อ็ คกระดาษดา้ นล่าง 2 ปมุ่ ขนึ้ ไปทับท่ี
ล็อคกระดาษด้านบน 2 ปมุ่ แลว้ จึงปิดสเลททับกระดาษ
4. วิธกี ารเขียนอักษรเบรลล์
4.1 ใชน้ ิว้ ชซ้ี า้ ยสัมผสั ชอ่ งของแผน่ สเลทจากขวาไปซ้าย
4.2 เอามือขวาจับสไตลัส แล้วเขยี นจากขวาไปซา้ ยโดยใชน้ วิ้ ช้ซี า้ ยกากบั ชอ่ ง