The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ส่วนหน้า เทคโนโลยี ม.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Krunutch ssn, 2019-08-24 22:48:33

M5

ส่วนหน้า เทคโนโลยี ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

ข้ันตอนท่ี 4 แบบสอบถาม
1. เพศ
2. เวลามาถึงโรงเรยี น
3. ค่าขนมมาโรงเรยี น
4. ความชอบกลมุ่ อาหารไหนในกลมุ่ อาหาร 5 หมู่
5. รับประทานอาหารเชา้ หรือไม่
6. รับประทานอาหารกลางวนั หรือไม่
7. รับประทานอาหารเย็นหรือไม่
8. รบั ประทานประเภทใดในเวลาเชา้ 1 ข้าวแกง 2 โจก๊ 3 ก๋วยเตี๋ยว 4 บะหม่สี ำ� เรจ็ รปู
9. รับประทานประเภทใดในเวลากลางวัน 1 ขา้ วแกง 2 โจก๊ 3 ก๋วยเต๋ียว 4 บะหม่ีสำ� เรจ็ รูป
10. รับประทานประเภทใดในเวลาเย็น 1 ขา้ วแกง 2 โจก๊ 3 ก๋วยเตย๋ี ว 4 บะหมส่ี ำ� เร็จรปู
หลงั จากทอ่ี อกแบบ แบบสอบถามเสร็จแล้ว ใหท้ ำ� แบบสอบถามใหอ้ ย่ใู นรปู แบบของออนไลน์ โดยจะสรา้ งแบบสอบถามในการใช้งาน
ของ Google Form ตามขน้ั ตอนในหนงั สอื เรยี นหน้า 21 – 27 โดยกรอกข้อมูลของกลุ่มตนเองที่ได้ออกแบบไว้
เม่ือไดแ้ บบสอบถามออนไลนข์ องกลุม่ แล้วให้เพอ่ื น ๆ ในห้องเขา้ มาตอบแบบสอบถามอยา่ งน้อย 20 คน แล้วสรุปผลตามหน้า 27

(จากกจิ กรรมในหนา้ 31)
กิจกรรมตรวจสอบการเรยี นร้ทู ี่ 1.4
การประมวลผลดว้ ยมอื (Manual) เปน็ การใชม้ อื และสมองในการประมวลผลเปน็ สำ� คญั ใชก้ ระดาษและดนิ สอชว่ ยในการจดบนั ทกึ
อาจใช้เคร่อื งมือ เช่น ลกู คดิ หรอื เครื่องคิดเลขช่วยคำ� นวณ ใชพ้ ิมพ์ดดี ชว่ ยพิมพ์รายงาน ใชโ้ ทรศพั ทใ์ นการส่อื สาร เม่อื คำ� นวณเรยี บร้อยแล้ว
กอ็ าจจะมกี ารจัดเกบ็ โดยการเรียงเขา้ แฟ้ม วิธีนีเ้ หมาะสำ� หรบั งานท่มี ปี รมิ าณขอ้ มลู น้อยและมีวธิ ีการคำ� นวณไม่ซบั ซ้อน
การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) เปน็ การประมวลผลขอ้ มูลเปน็ ครั้งคราว เช่น การสำ�รวจความนิยมหรือที่เรยี กว่า
โพล (poll) ก็มีการสำ�รวจข้อมูลโดยเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสุ่มตัวอย่างจากผู้ที่สนใจหลาย ๆ กลุ่ม เม่ือเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้ว
กน็ ำ�มาปอ้ นเขา้ เครอื่ งคอมพวิ เตอรแ์ ลว้ นำ�ขอ้ มลู นนั้ มาประมวลผลตามโปรแกรมทไ่ี ดก้ ำ�หนดไว้ เพอ่ื รายงานผลหรอื สรปุ ผลหาคำ�ตอบ กรณี
การประมวลผลแบบกลมุ่ จึงกระทำ�ในลักษณะเป็นคร้งั  ๆ เพือ่ ให้ไดผ้ ลลัพธ์ โดยจะต้องมกี ารรวบรวมข้อมลู ไวก้ อ่ น วิธกี ารนี้เหมาะกบั ขอ้ มลู
ปานกลาง
การประมวลผลแบบเช่ือมตรง (Online Processing) เป็นการประมวลผลโดยตรงกับเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ระหว่างคอมพวิ เตอร์
กับอุปกรณ์รอบข้างหรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ด้วยกัน การประมวลผลแบบเช่ือมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด
เชน่ การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสนิ คา้ ในห้างสรรพสนิ คา้ การฝากถอนเงนิ ผา่ นตเู้ อทีเอม็ การประมวลผลแบบเชอื่ มตรงจึงเป็นวธิ กี ารที่ใช้
กนั มาก เพราะผลลพั ธท์ ีถ่ ูกตอ้ ง แม่นยำ� และรวดเร็วเหมาะกบั งานทีม่ ขี นั้ ตอนซำ้�  ๆ เหมือนเดมิ จ�ำนวนมาก
ความแตกต่างของวิธกี ารประมวลผลขอ้ มูล ทัง้ 3 วิธีอย่ทู จ่ี �ำนวนข้อมลู ท่ใี ช้และวธิ ีการประมวลผล
- การประมวลผลด้วยมอื (Manual) ใชก้ บั ขอ้ มลู น้อย วิธีการไมซ่ ับซอ้ น
- การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) ใชก้ บั ขอ้ มลู ปานกลาง วิธกี ารท�ำเปน็ ครั้งๆไป
- การประมวลผลแบบเช่อื มตรง (Online Processing) ใช้กบั ข้อมูลจ�ำนวนมาก วิธกี ารรวดเร็ว

42 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

(จากกจิ กรรมในหนา้ 35)
กจิ กรรมตรวจสอบการเรยี นรูท้ ี่ 1.5
แผนผังความคิด สรุปองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ

บุคลากร

ฮารดแวร์ ข้ันตอนการ
ปฏิบัตงิ าน
องค์ประกอบ
ของระบบ
สารนเทศ

ชอฟตแ์ วร์ ข้อมูล

(จากกิจกรรมในหน้า 37)
กิจกรรมเพื่อส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์
1. กลุ่มสรปุ ตกลงว่าสารสนเทศที่ต้องการเรือ่ งอะไร
2. กลุ่มสรุปตกลงว่าสารสนเทศทต่ี ้องการเปน็ รปู แบบใด ตาราง กราฟ แผนภูมิ
3. ก่อนไดส้ ารสารสนเทศที่ตอ้ งการนัน้ นำ� ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์มาใชเ้ ก่ยี วกับอะไร
4. น�ำความรูด้ า้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชเ้ กี่ยวกับการประมวลผลอย่างไร
5. นำ� หลกั การดา้ นวศิ วกรรมมาใชห้ าขอ้ มลู
6. ใชห้ ลกั คณติ ศาสตร์มาใชค้ ำ� นวณหาค่าสถิตหิ รอื หาผลลพั ธต์ ่าง ๆ อย่างไร
7. น�ำทกุ อย่างมาประกอบกนั และหาสารสนเทศตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่ต้องการ

(จากกิจกรรมในหน้า 38)
ค�ำถามท้ายหนว่ ยการเรียนร้ ู
1. ความหมายของคำ� ต่อไปน้ี
1.1 ขอ้ มูล คอื ข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ไมว่ ่าจะเป็นเรอ่ื งของคนสัตว์ สิง่ ของ หรอื เหตกุ ารณ์
1.2 ประมวลผลขอ้ มลู เปน็ การนำ� ขอ้ มลู ทม่ี อี ยแู่ ลว้ หรอื ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการเกบ็ รวบรวมและตรวจสอบมากระทำ� เพอื่ ใหข้ อ้ มลู เปลย่ี นแปลง

ไปจนเกดิ ผลลพั ธต์ ามทตี่ ้องการ
1.3 สารสนเทศ คอื ผลลพั ธข์ องขอ้ มลู ทผ่ี า่ นการประมวลผลดว้ ยวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมและถกู ตอ้ งตรงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้ ซงึ่ สามารถ

น�ำไปใชป้ ระโยชน์ได้ในการวางแผน การควบคุม การพัฒนา การตัดสินใจ

คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5 43

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

2. ขอ้ มลู ท่ดี ีควรมคี ุณสมบตั ิ ดังนี้
1. มีความถกู ต้อง
2. มีความเป็นปัจจบุ นั
3. มีความสมบูรณช์ ดั เจน
4. มีความเทยี่ งตรงสามารถเชอ่ื ถือได้
5. สามารถตรวจสอบได้
3. ข้อมลู เปน็ เนือ้ หาท่ยี ังไม่ไดผ้ า่ นกระบวนการการวเิ คราะห์ สารสนเทศ คอื ผลลพั ธท์ ่นี �ำข้อมลู มาประมวลผลการวิเคราะห์แลว้
4. จงเขยี นแผนภาพการแปลงข้อมูลเปน็ สารสนเทศ

บคุ ลากร ประมวลผล สารสนเทศ

5. ลกั ษณะของขอ้ มูลทด่ี ี มดี ังนี้
1. มีความถูกต้อง
2. มคี วามเปน็ ปัจจบุ ัน
3. มคี วามสมบรู ณ์ชัดเจน
4. มีความเทียงตรงสามารถเชอื่ ถอื ได้
5. สามารถตรวจสอบได้
6. ขอ้ มลู ปฐมภูมิและข้อมลู ทตุ ยิ ภูมมิ คี วามเหมอื นกันคือเป็นข้อมูลเหมอื นกัน แตจ่ ะแตกท่แี หล่งที่มา
ขอ้ มูลปฐมภมู ิ เกดิ จากการเกบ็ ขอ้ มูลโดยตรงจากการสอบถาม การสัมภาษณ์
ข้อมลู ทตุ ิยภมู ิ เกดิ จากหน่วยงานตา่ ง ๆ ท่ีมขี อ้ มลู ทางสถิติอยู่แลว้
7. วธิ กี ารสรา้ งค�ำถามแบบออนไลน์
1. ก�ำหนดวัตถปุ ระสงคห์ รือหัวขอ้ ของการสรา้ งแบบสอบถาม
2. ระบุเนอื้ หาหรอื ประเด็นหลักทจ่ี ะถามให้ครอบคลุมวตั ถปุ ระสงค์ทจี่ ะวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3. ก�ำหนดประเภทของคำ� ถามเปน็ ปลายเปิดหรอื ปลายปดิ
4. ร่างแบบสอบถาม โดยมโี ครงสรา้ งแบบสอบถามดังน้ี
- ตอนท่ี 1 ข้อมลู เบ้ืองตน้ / ขอ้ มลู ทวั่ ไป
- ตอนที่ 2 ข้อมลู หลักเก่ยี วกบั เร่ืองจะถาม
- ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
5. ตรวจสอบข้อคำ� ถามวา่ ครอบคลุมเร่อื งทีจ่ ะวัดตามวัตถปุ ระสงคห์ รือไม่
6. ใหผ้ ู้เชีย่ วชาญตรวจสอบความเท่ยี งตรงเน้ือหาและภาษาทใ่ี ช้
7. ทดลองใชแ้ บบสอบถามเพอ่ื ดูความเป็นปรนัย ความเช่ือมน่ั และเพ่อื ประมาณเวลาทีใ่ ช้
8. ปรบั ปรงุ แก้ไข

44 คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

8. องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ มดี งั นี้
1. บุคลากร
2. ข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน
3. ฮาร์ดแวร์
4. ซอฟตแ์ วร์
5. ขอ้ มลู
9. กระบวนการจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศมีขั้นตอน ดงั น้ี
1. การรวบรวม บันทกึ และตรวจสอบข้อมูล
2. การประมวลผลขอ้ มลู ใหเ้ ป็นสารสนเทศ
3. การดแู ลรกั ษาขอ้ มลู
10. คุณสมบตั ขิ องสารสนเทศทด่ี ีเปน็ ดงั น้ี
1. มคี วามถกู ตอ้ งแมน่ ย�ำ (Accurate)
2. มคี วามกระชบั รดั กุม (Concise)
3. มคี วามสมบูรณ์ในตวั เอง (Complete)
4. มคี วามสมั พันธก์ ัน (Relevant)
5. มีความทันสมัย (Timely)
ตอนที่ 2 ฝึกทกั ษะ
นักเรยี นปฏิบตั ติ ามค�ำส่ังของโจทย์สรุปผลการปฏบิ ตั ิ
1. ปจั จัยน�ำเข้า เชน่ ขอ้ มลู ผ้สู มัคร จำ� นวนผู้สมัคร
2. การประมวลผล เช่น รวมจ�ำนวนผู้สมัคร การนับคะแนนของผสู้ มัคร
3. ปจั จัยน�ำออก เช่น สารสนเทศ สรุปผลการนับคะแนน สรปุ ผลผไู้ ดร้ ับการเลือกต้ัง

คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5 45

2หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี

การวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางสถิติ

สาระการเรียนรู้ การวเิ คราะห์ สมรรถนะสำ�คญั /
ดา้ นความรู้ ข้อมลู ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21
1. สถิติ ทางสถิติ สมรรถนะสำ� คัญ
2. ระเบยี บวธิ ีทางสถิติ 1. ความสามารถในการส่ือสาร
3. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ตวั อยา่ งด้วย 2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
โปรแกรมตารางค�ำนวณ 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
ดา้ นทักษะและกระบวนการ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
1. การสงั เกต ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21
2. การค�ำนวณ 1. การคดิ แบบมวี ิจารณญาณ
3. การจ�ำแนกประเภท 2. การส่อื สาร
4. การจดั กระท�ำและสือ่ ความหมายข้อมลู 3. การแกป้ ัญหา
5. การทดลอง 4. การท�ำงานร่วมกนั
6. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ 5. การสร้างสรรค์
ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 6. ความเข้าใจและใชเ้ ป็นในด้านเทคโนโลยี
1. ซ่ือสัตย์สุจริต สารสนเทศและการสอ่ื สาร
2. ใฝเ่ รียนรู้ 7. การมีผลงานและความรับผิดชอบ
3. มุ่งมนั่ ในการเรยี น

ภาระงาน/ชนิ้ งานสำ�คัญ
1. ใบงาน
2. ชิน้ งานแผนภาพความคิดแบบใยแมงมมุ เรือ่ งสถิติ
3. กจิ กรรมตรวจสอบการเรียนรู้
4. กจิ กรรมเพอื่ ส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์
5. ค�ำถามทา้ ยหน่วยการเรียนรู้

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางสถิติ 2หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี

สาระการเรียนรู้

1 สถิติ
2 ระเบียบวธิ ที างสถิต
3 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลตัวอยา่ งดว้ ยโปรแกรมตารางคาำ นวณ

ตัวชี้วัดชั้นปี

รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมูล และใชค้ วามร้ดู ้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สอื่ ดิจิทลั เทคโนโลยสี ารสนเทศในการแกป้ ญั หา หรือเพิ่มมูลคา่ ให้กบั บริการ
หรอื ผลิตภัณฑท์ ใ่ี ช้ในชวี ิตจริงอยา่ งสรา้ งสรรค์ (ว 4.2 ม.5/1)

คู่มือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 47

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

เฉลย

ในการแปลงข้อมูลใหอ้ ยใู่ นรปู สถิติ จะต้องมกี ารแยกตัวเลข
ออกมาตามประเภทเดยี วกนั แลว้ ทำ� การคำ� นวณดว้ ยสตู รหรอื
วิธีการหาค่าสถิติ ซ่งึ สามารถทำ� ได้ด้วยตวั เอง หรอื สามารถ
ใชโ้ ปรแกรมคำ� นวณเขา้ ชว่ ยก็ได้

ขอ้ มลู ตวั เลขจะสามารถวเิ คราะหไ์ ดอ้ ยา่ งไรใหเ้ กดิ
เป็นสถิติ แลว้ สามารถใชเ้ ครื่องมือใดในการวเิ คราะห์ได้

48 คู่มือครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวิเคราะหข์ อ้ มูลทางสถิติ 39 I ntroduction

1. สถติ ิ 1. ครนู �ำเข้าสู่บทเรยี นดว้ ยคำ� ถาม
คำ� ถาม :
สถติ มิ คี วามหมายอยู่ 2 นยั คอื ความหมายของตวั เลขขอ้ มลู 1. นกั เรยี นคดิ วา่ สถติ คิ อื อะไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ

แนวคิดส�ำ คญั สถติ แิ ละสถิตทิ ีเ่ ป็นศาสตร์ ของตนเองเพ่อื ครูผูส้ อนนำ� เข้าสบู่ ทเรียน)
1. สถิติทเ่ี ปน็ ตวั เลขหรอื ข้อมลู สถติ ิ (Statistics Data) 2. สถิติเป็นแบบใด จงยกตัวอย่าง (นักเรียนตอบตาม
สถติ ิ เกดิ จาการนบั จาำ นวนสมาชกิ ในกลมุ่ แลว้ จดั
เปน็ พวก ๆ จาำ นวนตวั เลขทเ่ี กดิ ขนึ้ เปน็ สถติ ทิ เี่ ปน็ ตวั เลข หมายถึง ตัวเลขท่ีได้จากการรวบรวมข้อมูลน�ามาประมวลผล ความเขา้ ใจของตนเองเพ่ือครูผสู้ อนนำ� เขา้ สบู่ ทเรียน)
ส่วนสถิติท่ีเป็นวิธีการอันเป็นหลักท่ีจะตัดสินลงสรุป วเิ คราะหแ์ ละเพอื่ ใชบ้ รรยายหรอื อธบิ ายเหตกุ ารณป์ รากฏการณ์ คำ� สำ� คญั :
ข้อมูลชุดใดชุดหนึ่งท่ีมีความไม่แน่นอนคงเส้นคงวาให้ หรือตัวแปรต่างๆ ท่ีสนใจ ตัวอย่าง สถิติความชื่นชอบนักร้อง 1. สถติ ิ
ได้เป็นความจริงอย่างมีเหตุผล เป็นการแสดงสถิติใน BNK 48 สูงสดุ 10 คนแรก 2. สถิตเิ ชงิ พรรณนา
ฐานะท่ีเป็นศาสตร์ สถิติแบ่งประเภทได้เป็นสถิติ 3. สถิติเชงิ อนุมาน
2. สถติ ทิ เ่ี ป็นศาสตร์ (Statistics) หมายถงึ วชิ าทว่ี า่ ดว้ ย 4. ประชากร
5. กลุ่มตวั อย่าง
พรรณนาและสถิติอนมุ าน การจัดกระท�าต่างๆ ที่เก่ียวกับข้อมูลเพ่ือให้สามารถบรรยาย
I ndesign
ลักษณะของส่ิงท่ีวิเคราะห์ผลได้ เป็นวิธีการในการศึกษาข้อมูล
1. นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 4 - 6 คน (หรือตามความ
หมายถึง วิชาทวี่ ่าด้วยระเบยี บวธิ ีการทางสถิติ ประกอบดว้ ย 4 เหมาะสม) รว่ มกนั ศกึ ษา ความหมายของ สถติ ิ ประเภท
ของสถติ ิ ธรรมชาตขิ องวิชาสถติ ิ จากหนังสือเรยี น และ
เรื่องใหญ่ๆ คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การน�าเสนอข้อมูล แบง่ หนา้ ทเ่ี พอ่ื ทำ�การสบื คน้ สำ�รวจตรวจสอบ วเิ คราะห์
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล และการแปลผลหรือการสรุปผลขอ้ มูล เชน่ การนา� ข้อมลู สถติ ิตัวเลขใหอ้ ยูใ่ นรูปแบบรปู ภาพหรือรปู และอภิปราย สถิติ ประเภทของสถิติ ธรรมชาติของ
วิชาสถิติ ท่ีร่วมกันศึกษาด้วยการตั้งคำ�ถามว่า สถิติ
แบบกราฟ หมายถงึ อะไร ประเภทของสถติ มิ อี ะไรบา้ ง และธรรมชาติ
สามารถแบ่งประเภทของสถติ ิออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ ของวชิ าสถติ ิเป็นเช่นไร
1. สถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) หมายถงึ การบรรยายลักษณะของข้อมูล (Data) ทผี่ ูว้ จิ ัยเก็บ
รวบรวมจากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างที่สนใจโดยไม่ต้องใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้ เช่น การหาค่าเฉลี่ย 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายความหมาย ของสถิติ
ค่ามธั ยฐาน ฐานนิยม พสิ ยั ความถี่ ร้อยละ ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน การน�าเสนอขอ้ มูลในรปู ตาราง ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจอยา่ งชดั เจน พรอ้ มทงั้ นกั เรยี นสามารถ
ระบุประเภทของสถิติและร้จู ักธรรมชาติของวชิ าสถิติ
แผนภาพ แผนภมู ติ า่ งๆ
2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) หมายถึง สถิติท่ีว่าด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีรวบรวมมาจาก 3. นักเรียนทำ�กิจกรรมทำ�กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
กล่มุ ตัวอยา่ ง เพือ่ อธิบายสรุปลักษณะบางประการของประชากร โดยมกี ารน�าทฤษฎีความน่าจะเป็นมาประยุกตใ์ ช้ สถติ ิ ที่ 2.1
สาขาน้ี ได้แก่ การประมาณคา่ ทางสถติ ิ การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ การวเิ คราะห์การถดถอยและสหสัมพนั ธ์ เช่น
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
การประมาณค่าใชจ้ า่ ยในการซ้ือโทรศพั ทม์ อื ถือตอ่ ปีของวัยรนุ่ ที่ 2.1 แล้วนำ�เสนอแลกเปลี่ยนความเขา้ ใจของตนเอง
คำาศพั ทท์ ี่เก่ยี วข้องกบั สถติ ิ หน้าชัน้ เรียน
1. ประชากร (Population) หมายถึง กลุ่มของส่ิงของต่าง ๆ หรือเหตุการณ์ท่ีมีลักษณะที่เราสนใจหรือ
กลมุ่ ทเ่ี ราตอ้ งการจะศกึ ษาหาขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ การศกึ ษาเกย่ี วกบั ปยุ๋ อนิ ทรยี ข์ องเกษตรไทย ประชากร คอื เกษตรกร 5. ครสู รปุ บทเรยี นทน่ี กั เรยี นนำ�เสนอใหเ้ ปน็ ไปในแนวทาง
ทั้งหมดในประเทศไทย การศึกษาอายุการใชง้ านของต้เู ยน็ เบอร์ 5 ในประเทศไทย ประชากร คือ ตู้เย็นเบอร์ 5 ทงั้ หมด เดยี วกัน
ทจ่ี �าหนา่ ยในประเทศไทย
2. กลุม่ ตวั อยา่ ง (Sample) หมายถงึ สว่ นหน่ึงของกลมุ่ ประชากรท่ีถูกเลือกออกมาเปน็ ตัวแทนของประชากร
ท้ังหมดท่ีเราสนใจศึกษา ในกรณีที่กลุ่มประชากรท่ีจะศึกษาน้ันเป็นกลุ่มขนาดใหญ่เกินความสามารถหรือความจ�าเป็น
ที่ต้องการหรือเพื่อประหยัดในด้านงบประมาณและเวลา สามารถศึกษาข้อมูลเพียงบางส่วนของกลุ่มประชากรได้ เช่น

การส�ารวจความคดิ เห็นเก่ยี วกบั การทีป่ ระเทศไทยเป็นเจา้ ภาพในการจัดประกวดมิสยูนิเวริ ส์ 2018 ประชากร คอื คนใน
ประเทศไทยทงั้ หมด แตเ่ นอื่ งจากเราไมส่ ามารถสอบถามคนทง้ั ประเทศได้ ดงั นนั้ จงึ เลอื กคนเพยี งบางสว่ นมาเปน็ ผตู้ อบ
หรือแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับเรื่องนี้

I CT I nnovation

ใหน้ ักเรียนศกึ ษาเพมิ่ เติมเกยี่ วกบั สถิติ จาก Search engine ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั วเิ คราะหค์ วามรแู้ ละสรปุ เปน็ ความคดิ
ตา่ ง ๆ รวบยอดในรูปแบบแผนภาพความคิดแบบใยแมงมุมเรื่อง
สถิติ แล้วน�ำไปติดบอร์ดในห้องเรียน

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 49

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

ความรู้เพมิ่ เติม 40 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5

คำ� ส�ำคัญเก่ียวกบั สถติ ิ ประชากร กลมุ่ ตวั อย่าง
- ประชากร (Population) หมายถึง จ�ำนวนทัง้ หมดของ
รปู ที่ 2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
คน สตั ว์ หรอื สง่ิ ของทเ่ี ราสนใจหาขอ้ มลู หรอื เราตอ้ งการ
จะศกึ ษา 3. ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึง ค่าต่างๆ ท่ีค�านวณมาจากกลุ่มประชากร จะถือเป็นค่าคงท่ีท่ี
- กลุ่มตัวอย่าง (Sample) หมายถึง ประชากรส่วนหนึ่ง ค�านวณก่ีคร้ัง ๆ กจ็ ะไมเ่ ปลย่ี นแปลง เปน็ คา่ คงทท่ี ี่อธิบายลักษณะบางประการของประชากร
ที่เราเลือกเก็บข้อมูลมาศึกษา จากประชากรทั้งหมด
ตวั อยา่ งเป็นตัวแทนของประชากร 4. คา่ สถิติ (Statistic) หมายถงึ คา่ ต่างๆ ทค่ี า� นวณมาจากกลุ่มตวั อย่าง จะเป็นคา่ ที่เปล่ียนแปลงไดต้ ามกลุ่ม
- คา่ พารามเิ ตอร์ (Parameter) หมายถึง ตัวเลขทอ่ี ธบิ าย ตวั อยา่ งท่ีเลอื กส่มุ มา เป็นคา่ ของตัวสถิติทคี่ า� นวณได้จากตัวอย่างที่ศึกษา
ลกั ษณะของประชากรซง่ึ คำ� นวณหรอื วเิ คราะหป์ ระชากร
ในทางปฏิบัติการค�ำนวณหาพารามิเตอร์โดยตรง 5. ตวั แปร ในทางสถติ ิ หมายถงึ ลกั ษณะบางอยา่ งทเี่ ราสนใจ คา่ ของตวั แปรอาจอยใู่ นรปู ขอ้ ความหรอื ตวั เลข
จะกระท�ำได้ยากเพราะประชากรมีจ�ำนวนมากจนยาก กไ็ ด้
แก่การวิเคราะห์ จึงต้องมีการคัดเลือกตัวอย่างจาก
ประชากรอยา่ งมหี ลักเกณฑ์ เพือ่ ใหไ้ ดต้ วั อยา่ งทแี่ ทจ้ ริง 6. คา่ ทเ่ี ป็นไปได้ หมายถงึ คา่ ของตวั แปรทอี่ าจจะเกิดขึน้ ไดจ้ ริง
ของประชากร คา่ ตา่ ง ๆ ทคี่ ำ� นวณมากจากกลมุ่ ประชากร 7. คา่ จากการสงั เกต หมายถึง คา่ ท่ีเกบ็ รวบรวมได้มาจริงๆ
จะถอื เปน็ คา่ คงที่ ทค่ี ำ� นวณกค่ี รง้ั  ๆ กจ็ ะไมเ่ ปลย่ี นแปลง
- คา่ สถิติ (Statistics) หมายถงึ ตัวเลขท่อี ธิบายลกั ษณะ สถติ เิ ปน็ วทิ ยาการทว่ี า่ ดว้ ยการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การจดั ระบบขอ้ มลู เพอื่ การนา� เสนอขอ้ มลู การวเิ คราะหแ์ ละ
ของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งคำ�นวณหรือวิเคราะห์มาจาก การแปลความหมายขอ้ มลู นกั สถติ พิ ยายามศกึ ษาปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ โดยอาศยั วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ปรากฏการณ์
กลุ่มตัวอย่าง ค่าต่าง ๆ ท่ีคำ�นวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง ทเี่ กดิ ขึน้ อาจจะเป็นข้อเทจ็ จรงิ (Fact) หรือเป็นเพียงส่ิงทเ่ี กดิ ขน้ึ มาโดยบงั เอญิ (Chance Outcome) กไ็ ด้ ข้อมูลท้งั หลาย
จะเปน็ คา่ ทเี่ ปลย่ี นแปลงไดต้ ามกลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ลอื กสมุ่ มา จงึ เป็นข้อมูลจากการแจงนับหรอื การวัด ขอ้ มูลทไี่ ด้มาตอนแรกเรยี กวา่ ขอ้ มูลดิบ (Raw Data) หรอื คะแนนดิบ (Raw
จงึ ถือว่าเปน็ ค่าตัวแปรสมุ่ Score) การแปลความหมายหรือการลงสรุปข้อมูลน้ันต้องเปลี่ยนจากคะแนนดิบไปเป็นคะแนนที่มีความหมาย ซ่ึงอาจ
- ตัวแปร (Variable) หมายถึง ลักษณะหรือคุณสมบัติ จะใชจ้ ากข้อมลู จ�านวนมากหรือจากขอ้ มลู เพียงบางส่วนกไ็ ด้แลว้ แต่วธิ กี าร
บางอยา่ งของประชากรท่ีเราสนใจศกึ ษา ซง่ึ เปลีย่ นค่าได้
ไม่ว่าจะเป็นเชงิ คุณภาพหรือเชิงปริมาณ การสรุปขอ้ มลู จากค่าคงทท่ี ไ่ี ด้จากประชากร เรียกวา่ สถิติพรรณนา
การสรุปข้อมูลจากค่าคงทีข่ องกล่มุ ตัวอยา่ ง เรียกว่า สถิติพรรณนา
แต่ถ้าตอ้ งการสรปุ ขอ้ มูลจากตัวอยา่ งไปสปู่ ระชากรจะเรียกว่า สถิตอิ นมุ าน

I CT I nnovation

ให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกีย่ วกบั ระเบยี บวธิ ีทางสถติ ิ จาก ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มนักเรียน 4-5 คนร่วมกันวิเคราะห์
Search engine ตา่ ง ๆ ความรู้สรุปเป็นความคิดรวบยอด บันทึกลงในแผนภาพ
ความคิดแบบใยแมงมุมเรื่อง ระเบียบวิธีทางสถิติ แล้วน�ำ
ไปติดบอร์ดในห้องเรียน

50 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสถติ ิ 41 L earning for 21st Century Skills

ประชากร การสมุ่ ตัวอยา่ ง ตวั อย่าง ให้นักเรียนเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์เพ่ือน
นกั เรยี นคนอนื่  ๆ ในหอ้ งเรยี นทกุ คน เกย่ี วกบั เพศ อายุ ทอ่ี ย่ ู
พารามิเตอร์ สถิตพิ รรณนา คา่ สถิติ เบอรโ์ ทรศัพท์ แลว้ บนั ทึกลงในสมดุ องค์ความรูส้ ่งคุณครู
สถติ อิ นมุ าน
L earning for Metacognition
รูปที่ 2.2 ผังประเภทสถติ ิ
1. ใหน้ กั เรยี นจดั หาสมดุ หนงึ่ เลม่ เปน็ สมดุ องคค์ วามรขู้ อง
เฉลยกิจกรรมในหน้า 95 ตนเอง และใหใ้ ชบ้ นั ทึกองค์ความรูต้ ลอดภาคเรยี น

กิจกรรมตรวจสอบก�รเรยี นร้ทู ่ี 2.1 2. ใหน้ กั เรยี นนำ�เสนอ องคค์ วามรขู้ องนกั เรยี นเรอื่ งความหมาย
ของสถติ ิ ทสี่ รปุ ไวแ้ ลว้ บนั ทกึ ลงในสมดุ องคค์ วามรู้ แลว้
สรุปความหมายของคา� ว่า สถติ ิ ตามความเขา้ ใจของตนเอง แล้วแลกเปล่ียนกับเพื่อนร่วมชัน้ นำ�เสนอเพ่ือนหน้าชั้นเรยี นเพ่ือแลกเปลย่ี นความรู้และ
แนวคดิ

2. ระเบยี บวิธีทางสถิติ I ntroduction

แนวคดิ สำ�คญั สถิติมีระเบียบวิธีคิดคล้ายกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 1. ครูทบทวนความหมายของสถิติ ประเภทของสถติ ิ และ
วธิ กี ารทางสถติ ิ มี 4 ขนั้ คอื การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การนา� เสนอ ธรรมชาตขิ องวชิ าสถติ ิ
สถิติมีระเบียบวิธีคิดคล้ายกับวิธีการทาง ขอ้ มลู การวเิ คราะห์ข้อมูล การแปลความหมายของข้อมลู
วทิ ยาศาสตร ์ วิธีการทางสถิต มี 4 ขน้ั ตามลาำ ดบั คือ 2. ครถู ามนำ� ด้วยการถามนักเรียน
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การนาำ เสนอขอ้ มลู การวเิ คราะห์ 2.1 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล คำ� ถาม :
ขอ้ มลู การแปลความหมายของขอ้ มูล - การท่ีเราจะได้สถิติมาใช้ มีขั้นตอนอย่างไร (นักเรียน
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data) เป็น
การเกบ็ รวบรวมเอาผลทเี่ กดิ จากการวดั หรอื การนบั มาไว้ ขอ้ มลู ตอบตามความเข้าใจของตนเองเพื่อครูผู้สอนน�ำเข้าสู่
ท้ังหลายเหล่าน้ีอาจจะแจงนับเองหรือเก็บรวบรวมจากที่ผู้อ่ืน บทเรียน)
บันทึกไวแ้ ลว้ สามารถแบ่งออกเป็น 3 วิธี - ระเบียบวิธีทางสถิติก่ีขั้นตอนอะไรบ้าง (นักเรียนตอบ
ตามความเขา้ ใจของตนเองเพอื่ ครผู สู้ อนนำ� เขา้ สบู่ ทเรยี น)
I ndesign - การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มวี ธิ กี ารเกบ็ อยา่ งไรบา้ ง (นกั เรยี น
ตอบตามความเข้าใจของตนเองเพื่อครูผู้สอนน�ำเข้าสู่
บทเรยี น)
คำ� ส�ำคญั :
- ระเบยี บวิธีทางสถิติ
- การรวบรวมขอ้ มูล
- การน�ำเสนอข้อมลู
- การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
- การแปลความหมายของขอ้ มูล

1. นักเรียนศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง ระเบียบวิธีทางสถติ ิ หน้า 41-53 6. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มศกึ ษา สำ� รวจคน้ หาวิธีการท่ไี ด้มา และสรุปโปรแกรมท่ใี ช้จัดท�ำ
2. นักเรียนท�ำใบงานที่ 2.1 7. ครูสรุปโปรแกรมตารางค�ำนวณ (Excel)
3. นักเรียนทำ� กิจกรรมท�ำกจิ กรรมตรวจสอบการเรียนรทู้ ่ี 2.2 ขอ้ 1 8. นกั เรียนทกุ คนทำ� ใบงานที่ 2.2
9. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มเลือกชิน้ งานมาน�ำเสนอกลมุ่ ละ 1 ชิน้ งาน ไม่ซำ�้ กัน
และขอ้ 2 10. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ ความรูท้ ี่ได้ศกึ ษา
4. นักเรยี นและครรู ่วมกนั แบ่งกลุ่มนกั เรยี น 4 กลุ่ม 11. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภิปรายผลของการทำ� ใบงานที่ 2.1 แล้วสรปุ เปน็ หลกั ปฏิบตั ิ
5. ครูให้นกั เรยี นศกึ ษาการนำ� เสนอขอ้ มูล และดูภาพในหนงั สือหน้า
บนั ทึกลงในสมดุ
42–51 ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่านักเรียนสามารถท่ีจะท�ำ
ภาพเช่นนี้ไดห้ รือไม่ และถา้ ท�ำไดจ้ ะทำ� แบบใด ใชโ้ ปรแกรมใดท�ำ

คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 51

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

ความรู้เพิ่มเตมิ 42 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5

สำ� มะโน หมายถงึ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกบั ประชากร 1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากทะเบยี นประวตั ิ การลงทะเบยี น การรายงานจากหนว่ ยงานของรฐั บาลและ
เคหะ การเกษตร อุตสาหกรรม ธุรกิจ และการอน่ื  ๆ เพือ่ ใช้ เอกชน เชน่ โรงเรียน โรงพยาบาล ตลาดหลักทรัพย์
ประโยชน์ในทางสถิติโดยการแจงนับจากทุกหน่วยเก่ียวกับ
เร่ืองนนั้  ๆ 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการส�ารวจหรือการแจงนับ แบ่งเป็นการส�ามะโนและการส�ารวจตัวอย่าง
การส�ามะโนเป็นการเก็บรวบรวมข้อมลู จากทกุ คนในประชากร เช่น ส�ามะโนประชากรท่ีเกบ็ ขอ้ มลู ทกุ ๆ 10 ปี สว่ นการ
ส�ารวจตัวอยา่ งเปน็ การเกบ็ ขอ้ มูลบางสว่ นจากประชากร เช่น การทา� โพลล์

3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากการทดลอง เป็นการรวบรวมขอ้ มลู ท่ีเกดิ จากการทดลอง เชน่ การทดลอง
ทางการศกึ ษา การทดลองทางการเกษตร การทดลองทางการแพทย์

2.2 การนำาเสนอข้อมูล

การนาำ เสนอข้อมูล (Presentation) เป็นการจดั ระบบข้อมูล โดยน�าขอ้ มูลจากการเกบ็ รวบรวมมาจัดระเบยี บ
เปน็ กลุม่ ใหม่เพอื่ ให้สามารถเข้าใจไดง้ า่ ย สะดวกแกก่ ารน�าเสนอขอ้ มูล เชน่ การนา� เสนอในรปู บทความ แผนภูมิ ตาราง
แผนภาพหรอื กราฟ การน�าเสนอข้อมูลจะใชร้ ปู แบบใดข้ึนอยู่กับตามลักษณะของข้อมลู ท่แี บ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้

1. ข้อมลู เชงิ คุณภาพ เป็นข้อมูลทไี่ ม่สามารถระบุได้ว่ามมี ากหรอื นอ้ ยจะอยใู่ นรปู ของข้อความ เช่น เพศ
อาชพี ลกั ษณะสิง่ ของ

2. ข้อมูลเชงิ ปริมาณ เป็นข้อมูลทร่ี ะบไุ ดว้ า่ มมี ากหรอื น้อยได้ และแสดงเป็นตัวเลขได้ เชน่ อายุ รายได้
ส่วนสงู น้�าหนัก

วธิ กี ารนำาเสนอขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ

การนา� เสนอขอ้ มูล ถา้ ขอ้ มูลทีต่ ้องการน�าเสนอเปน็ ขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพ จะมวี ิธีการน�าเสนอขอ้ มลู หลายรูปแบบ
เช่น บทความ ตาราง และแผนภมู ิ มรี ายละเอียดดังน้ี

1. วีธีการนำาเสนอข้อมูลโดยใช้บทความ เป็นการน�าเสนอโดยการเขียนบทความที่ใช้ตัวเลขประกอบ
ข้อความ ในการน�าเสนอ ท�าให้ข้อความเข้าใจง่ายขึ้น ส่วนมากใช้น�าเสนอทางวิทยุ โทรทัศน์ หรืออาจเป็นบทความ
ในหนังสือพมิ พ์ วารสาร แต่ปัจจบุ ันไมน่ ยิ มใช้เน่อื งจากเปน็ ขอ้ ความ จะไม่เหน็ ภาพ ตวั อย่างเช่น
ตวั อยา่ ง บทความเดก็ ไทยกบั การใช้อนิ เทอรเ์ น็ต

ผลการส�ารวจการมีการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในครัวเรือน พ.ศ. 2559 ของส�านักงานสถติ ิ
แหง่ ชาติ พบวา่ เดก็ อายุ 6-14 ปี มีแนวโน้มการใช้อินเทอร์เน็ตสงู ขน้ึ จากร้อยละ 35.9 ใน พ.ศ. 2553 เปน็ ร้อยละ 61.4
ใน พ.ศ. 2559 โดยในกลุม่ เด็กท่ใี ชอ้ ินเทอรเ์ น็ต ร้อยละ 51.6 มีการใชอ้ ย่างน้อยสัปดาห์ละครงั้ และ ร้อยละ 47.4 ใช้ทุก
วนั สว่ นระยะเวลาท่ใี ชอ้ ินเทอร์เน็ต เดก็ ส่วนใหญใ่ ช้เวลาประมาณ 1-2 ชง่ั โมงตอ่ วนั

2. วธิ กี ารนาำ เสนอขอ้ มลู โดยการใชต้ าราง เปน็ การนา� เสนอขอ้ มลู โดยใชต้ าราง จดั เรยี งขอ้ มลู ตามลกั ษณะ
ตา่ งๆ ท่สี นใจ และกรอกขอ้ มูลท่ีเป็นตวั เลขไว้ในตารางเพอื่ จดั ขอ้ มลู ใหเ้ ป็นระเบยี บ อ่านง่าย รูปแบบของตารางขึ้นอยู่
กบั จุดมุง่ หมายของการน�าเสนอข้อมูล แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้

52 คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 การวิเคราะหข์ ้อมลู ทางสถติ ิ 43 แหล่งสืบค้น

2.1 ตารางทางเดียว (One-Way Table) เป็นตารางทจี่ �าแนกขอ้ มูลดา้ นใดดา้ นหนึ่งเพยี งด้านเดยี ว เช่น ให้นักเรียนสืบค้นวิธีการอ่านตารางเพ่ิมเติมได้ที่เว็บไซต์
ตารางที่ 2.1 จาำ นวนนกั เรยี นเข้าศึกษาในโรงเรยี นคาำ นวณวิทยา พ.ศ 2556-2560
Youtube เรอื่ ง การอา่ นตาราง
ปี พ.ศ. จาำ นวนนักเรยี น (คน)

2556 1,613

2557 1,321

2558 1,752

2559 1,535

2560 1,412

2.2 ตารางสองทาง (Two-Way Table) เปน็ ตารางทจ่ี �าแนกยอ่ ยตามลกั ษณะของขอ้ มลู 2 ด้าน เชน่
ตารางที่ 2.2 จำานวนนกั เรยี นในโรงเรียนคาำ นวณวิทยา พ.ศ. 2556-2560 จำาแนกตามระดบั การศกึ ษา

ปี พ.ศ. ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม (คน)

,2556
264 343 329 229 212 236 1 613

,2557
245 264 243 189 185 195 1 321

,2558
260 245 264 327 306 350 1 752

,2559
247 260 245 261 268 254 1 535

,2560
238 247 260 222 229 216 1 412

2.3 ตารางหลายทาง (Multi-Way Table) เป็นตารางทจี่ า� แนกย่อยลงไปตามลกั ษณะตา่ งๆ หลายดา้ น
ตารางที่ 2.3 จาำ นวนนกั เรยี นในโรงเรยี นคาำ นวณวทิ ยา พ.ศ. 2556-2560 จาำ แนกตามระดบั การศกึ ษาตอ่

แผนการเรยี น

ปี พ.ศ. วทิ ย์ ม.4 วิทย์ ม.5 วทิ ย์ ม.6
ศิลป์ ภาษา ศลิ ป์ ภาษา ศิลป์ ภาษา

2556 164 329 55 152 303 51 126 253 42

2557 169 337 56 156 311 52 130 259 43

2558 185 371 62 171 342 57 143 285 48

2559 203 407 68 188 375 63 156 313 52

2560 211 422 70 195 390 65 162 325 54

คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 53

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

แหล่งสืบคน้ 44 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5

ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ วธิ กี ารอา่ นแผนภมู เิ พมิ่ เตมิ ไดท้ เ่ี วบ็ ไซต์ 3. การนาำ เสนอขอ้ มลู โดยใชแ้ ผนภมู ิ เปน็ การนา� เสนอในเชงิ เปรยี บเทยี บ และจะเหน็ ลกั ษณะในการแตกตา่ ง
ของข้อมูลอยา่ งชัดเจน มวี ิธีทนี่ ิยมใช้ดังน้ี
Youtube เรอื่ ง การอา่ นแผนภมู ิ จะขนึ้ วดี ทิ ศั นส์ อนวธิ กี ารอา่ น
แผนภมู ใิ นแบบท่หี ลากหลาย 3.1 แผนภูมิแท่ง (Bar Chart) เป็นการน�าเสนอความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตวั คอื ตัวแปรอสิ ระกับ
ปรมิ าณ

1) แผนภูมิแท่งเชิงเดียว (Simple Bar Chart) เป็นแผนภูมิแท่งที่แสดงการเปรียบเทียบข้อมูลเพียง
ลักษณะเดยี วเทา่ น้ัน

แผนภมู ิแท่งแสดงจา� นวนสัตวน์ ้า� แต่ละชนดิ ในฟารม์ เลี้ยงเมธี

�จานวนของสัต ์ว ้น�า 25
20
15

10 ชนิดของสตั ว์น�้า

5

0 หอย กุง้ เตา่

ปลา

ชนดิ ของสตั วน์ า้�
รปู ที่ 2.3 แผนภูมิแทง่ แสดงจา� นวนสัตว์น้า� แต่ละชนดิ ในฟารม์ เลยี้ งเมธี

2) แผนภมู แิ ท่งเชงิ ซ้อน (Multiple Bar Chart) เปน็ แผนภูมิแท่งท่แี สดงการเปรยี บเทยี บลักษณะของข้อมูล
ต้งั แต่ 2 ลักษณะขึน้ ไป

แผนภมู แิ ทง่ แสดงจา� นวนสัตวน์ �า้ จา� แนกตามชนิดสัตวน์ า้� และบอ่ ทเี่ ล้ยี ง

�จานวน ัสต ์ว ้น�า ( ัตว) 70

60

50

40 บ่อที่ 3
30 บอ่ ที่ 2
20 บ่อท่ี 1

10

0

ปลา ก้งุ เตา่ หอย

รปู ท่ี 2.4 แผนภมู แิ ท่งแสดงจา� นวนสตั วน์ ้า� จ�าแนกตามชนิดสัตว์นา�้ และบอ่ ที่เลี้ยง

54 คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การวิเคราะหข์ อ้ มลู ทางสถติ ิ 45

3.2 แผนภูมิวงกลม (Pie Chart) เป็นการแสดงข้อมูลในรูปวงกลม โดยจะแบ่งวงกลมเป็นส่วนย่อย ๆ
ตามสัดสว่ นของลักษณะตา่ งๆ ซึ่งเน้ือทใ่ี นวงกลมจะเป็น 100 เปอรเ์ ซนต์

แผนภมู ิวงกลมแสดงสว่ นผสมในน�้าผลไม้รวม

รปู ท่ี 2.5 แผนภมู ิวงกลม

3.3 แผนภมู ิรูปภาพ (Pictogram) เปน็ แผนภูมิที่แสดงขอ้ มลู โดยใช้รปู ภาพ ซ่ึงรปู ภาพทีน่ า� เสนออาจเป็น
รปู ทส่ี มบรู ณห์ รอื ไมก่ ็ได้ โดยรูปทไี่ มส่ มบูรณจ์ ะแสดงปริมาณเป็นสดั ส่วนกบั รปู ที่สมบรู ณ์

แผนภมู ริ ปู ภาพแสดงจ�านวนเครื่องใช้ไฟฟา้ ทีโ่ รงงานแห่งหนงึ่ ผลิตได้

ไมโครเวฟ

กระติกไฟฟ้า

เครือ่ งซักผา้

เตารดี

รูปภาพ 1 รปู แทนการผลิตเครอื่ งใช้ไฟฟา้ ได้ 10,000 เครอื่ ง
รปู ท่ี 2.6 แผนภูมิรูปภาพแสดงจ�านวนเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ทโ่ี รงงานแห่งหนึ่งผลิตได้

คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 55

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

46 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5

วิธกี ารนาำ เสนอข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ

การนาำ เสนอขอ้ มลู ถา้ ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการนา� เสนอเปน็ ขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณจะมวี ธิ กี ารนา� เสนอขอ้ มลู หลายรปู แบบ
เชน่ กราฟ แผนภาพ การแจกแจงความถี่ มรี ายละเอยี ดดังน้ี

การนาำ เสนอข้อมลู โดยใชก้ ราฟ ท่นี ยิ มใช้กนั มี 2 วิธี ดังนี้
1. กราฟเสน้ เปน็ การนา� เสนอขอ้ มลู ทม่ี กี ารแปลงไปตามเวลา ทา� ใหเ้ หน็ การเปลย่ี นแปลงขอ้ มลู ไดช้ ดั เจน

ดังนน้ั เมอ่ื เวลาเปล่ยี นไปจะเหน็ ได้ชัดเจนว่าขอ้ มูลนั้นเพม่ิ ขึน้ หรอื ลดลง มชี นิดของกราฟเส้นดงั นี้
1.1 กราฟเสน้ เชิงเดยี ว (Line Graph) เปน็ การท่ีแสดงการเปรยี บเทียบข้อมลู โดยพิจารณาลักษณะขอ้ มลู

เพยี งลกั ษณะเดยี วดังรปู ท่ี 2.7

รปู ท่ี 2.7 กราฟเสน้ เชงิ เดียว

1.2 กราฟเส้นเชงิ ซ้อน (Multiple Line Graph) เป็นกราฟที่แสดงการเปรยี บเทียบขอ้ มูลโดยพิจารณา
ลักษณะของขอ้ มูลตง้ั แต่ 2 ลกั ษณะขนึ้ ไป ดังรูปท่ี 2.8

รปู ที่ 2.8 กราฟเส้นเชงิ ซอ้ น

56 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวเิ คราะห์ข้อมลู ทางสถิติ 47 ความรเู้ พม่ิ เติม

2. วิธกี ารนำาเสนอขอ้ มลู แบบแจกแจงความถกี่ ารแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) เป็นการ ความถ่ี หมายถงึ จำ� นวนการเกดิ เหตกุ ารณซ์ ำ�้ ในหนงึ่ หนว่ ย
นา� เสนอขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณทเี่ กบ็ รวบรวมมาเปน็ จา� นวนมาก แลว้ นา� มาจดั เปน็ หมวดหมู่ การแจกแจงความถสี่ ามารถทา� ได้ ของเวลา
ดังน้ี

2.1 การแจกแจงความถ่ดี ว้ ยตาราง มี 2 ลักษณะ
1) ตารางแจกแจงความถ่ีชนิดไม่จัดกลุ่ม เป็นการน�าข้อมูลทั้งหมดมาจัดเรียงตามล�าดับค่าของข้อมูล

จะเรียงจากมากไปหาน้อยหรือน้อยไปหามากก็ได้ แล้วจึงมาพิจารณาข้อมูลแต่ละตัวซ้�ากันมากน้อยเพียงใดและแสดง
ความถี่ของข้อมูลนั้นดังตารางที่ 2.4

ตารางท่ี 2.4 นำา้ หนักของนักเรยี น
นาำ้ หนกั (กโิ ลกรมั ) จำานวนนักเรียน (คน)

30 5

33 2

35 4

38 6

40 3

รวม 20
2) ตารางแจกแจงความถ่ีชนิดจัดกลุ่ม เป็นการน�าข้อมูลทั้งหมดมาจัดกลุ่มข้อมูลตามล�าดับค่าของข้อมูล
แลว้ พจิ ารณาว่าข้อมลู ใดอยใู่ นกลุ่มใด ดังตารางท่ี 2.5

ตารางท่ี 2.5 อายกุ ารทำางานของหลอดไฟฟ้า

อายุการใช้งาน (ช่วั โมง) จำานวนหลอดไฟฟา้ (ดวง)

500-599 23
600-799 56
800-899 18
900-999 30
1,000-1099 45
1,100-1,199 22
1,200-1,299 6
200
รวม

2.2 การแจกแจงความถี่โดยรูปกราฟฮิสโตแกรม (Histogram) เป็นการน�าเสนอข้อมูลท่ีน�าข้อมูลจาก
ตารางแจกแจงความถี่มาสร้างภาพโดยใช้แท่งสี่เหล่ียมผืนผ้า ซึ่งความกว้างของแท่งสี่เหลี่ยมในแกนนอนแบ่งออกเป็น
ชว่ งๆ ตามความกวา้ งของช้นั แต่ละขน้ั ในกรณีทีค่ วามกวา้ งของแตล่ ะชนั้ เทา่ กนั ความสงู ของแท่งสเ่ี หล่ียมแตล่ ะแทง่ จะ

คู่มือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 57

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

48 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.5

ความรเู้ พ่มิ เตมิ เป็นความถ่ีของช้ันและให้จุดกึ่งกลางของแต่ละชั้นเป็นจุดก่ึงกลางของแท่งส่ีเหล่ียมแต่ละแท่งดังตัวอย่างข้อมูลความสูง
ของนักเรียน จ�านวน 50 คน ดังน้ี
ฮสิ โตแกรม คอื กราฟแทง่ แบบเฉพาะทแ่ี สดงความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งขอ้ มลู เปน็ หมวดหมทู่ เี่ รยี กวา่ ชน้ั ขอ้ มลู กบั ความถขี่ อง 159 183 140 158 154 182 153 160 165 142
ขอ้ มูล เพอ่ื ดูการกระจายของข้อมูล ลกั ษณะของขอ้ มลู ที่เป็น 165 154 157 132 172 177 149 165 171 168
หมวดหมจู่ ะเรยี งลำ� ดบั จากนอ้ ยไปหามาก โดยจำ� นวนหมวดหมู่ 180 139 145 189 156 144 156 164 146 161
ของขอ้ มลู จะจดั ตามความเหมาะสม โดยแกนตงั้ จะเปน็ ตวั เลข 169 163 170 166 176 168 166 163 173 164
แสดงความถี่และแกนนอนจะเปน็ ข้อมูล 157 152 146 150 158 143 155 130 178 173

สรา้ งตารางแจกแจงความถี่
ตารางที่ 2.6 แสดงความถค่ี วามสงู ของนกั เรียน

ช้ันคะแนน รอยคะแนน ความถี่ ความถี่สะสม

130 – 139 ||| 33
140 – 149 |||| ||| 8 11
150 – 159 |||| |||| ||| 13 24
160 – 169 |||| |||| |||| 15 39
170 – 179 |||| || 7 46
180 – 189 4 50
||||
รวม 50

วธิ ีการสร้างกราฟแบบฮิสโตแกรม
1) ลากแกนนอนและแกนตง้ั ใหย้ าวพอสมควร
2) แบง่ สเกลตามแนวตงั้ ใหส้ ูงสุดเท่าจา� นวนถี่ของช้ันคะแนนทมี่ ีความถมี่ ากกว่าทีส่ ดุ
3) แบง่ สเกลตามแนวนอนใหเ้ ทา่ กับจ�านวนช้ันคะแนน ระหวา่ งชนั้ คะแนนหนึ่งๆ ใหเ้ อาคะแนนขอบเขตทแี่ ท้
จรงิ หรือจะเอาคะแนนจดุ กลางในชน้ั คะแนนนน้ั ไปเปน็ จดุ กลางของสเกลท่แี บง่ ชั้นคะแนนกไ็ ด้
4) สร้างกราฟสเ่ี หลยี่ มผนื ผา้ ใหช้ นั้ คะแนนสมั พันธ์กับความถี่ จะไดก้ ราฟแบบฮสิ โตแกรม
จากข้อมลู ตารางท่ี 2.6 ความสงู ของนกั เรยี น สามารถน�ามาสรา้ งเป็นฮสิ โตแกรมไดด้ ังรูปท่ี 2.9

รูปที่ 2.9 กราฟแสดงผลส่วนสูงของนักเรียน

58 คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสถติ ิ 49 กิจกรรมเสนอแนะ

3. วิธกี ารนำาเสนอขอ้ มูลโดยใชแ้ ผนภาพ นยิ มใช้ 2 วิธี ดังน้ี ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการเขียนแผนภาพล�ำต้นและ
3.1 แผนภาพลา� ตน้ และใบ (Stem and Leaf Display) เป็นวิธกี ารน�าเสนอขอ้ มูลทีค่ ลา้ ยกับฮสิ โตแกรม ใบจากหนงั สอื หนา้ ที่ 49 จากนนั้ ครกู ำ� หนดโจทยใ์ หน้ กั เรยี น
ฝึกเขยี นแผนภาพลำ� ต้นและใบ
แตอ่ ยใู่ นแนวนอนและใหร้ ายละเอยี ดมากกวา่ เนอื่ งจากใชค้ า่ ของขอ้ มลู จรงิ ทกุ คา่ ทา� ใหส้ ามารถเหน็ ลกั ษณะทแี่ ทจ้ รงิ ของ
ขอ้ มลู ได้ โดยแผนภาพลา� ตน้ และใบจะแบ่งขอ้ มลู ตามแนวตง้ั ออกเปน็ 2 ส่วน คอื ด้านซา้ ยเป็นลา� ต้นและด้านขวาเป็นใบ
โดยก�าหนดให้ดา้ นซา้ ยเปน็ ขอ้ มลู หลกั ท่ีสงู กวา่ และด้านขวาเปน็ ข้อมลู หลกั ทตี่ �่ากวา่ เพื่อจดั ข้อมูลเปน็ กล่มุ ๆ และขอ้ มลู
ทกุ ตวั จะถกู แสดงในแผนภาพไมเ่ พียงแคน่ ับรวมวา่ เปน็ ความถ่ีในอันตรภาคชนั้ เดยี วกนั เหมือนกับฮิสโตแกรม
ตัวอยา่ ง ขอ้ มลู ส่วนสงู (เซนติเมตร) ของนกั เรยี นชนั้ ม.1 จ�านวน 20 คน ดงั น้ี

150 131 166 136 134 136 144 145 149 140
145 158 157 160 161 143 161 163 147 139

วธิ ีท�าแผนภาพต้น-ใบ
1. เลอื กเอาตวั เลขหลกั ทซ่ี �า้ มาท�าเป็น “ต้น” ในตวั อย่างนีจ้ ะไดต้ ้น 2 หลักซา้ ยมือ
2. น�าเลขท่ีเหลอื ของข้อมูลแตล่ ะตวั มาเขยี นลงไปในชอ่ ง “ใบ” (เช่น 150 กแ็ ยก 15 เปน็ “ตน้ ” และ 0 เปน็
“ใบ”)

3. ควรเรยี งลา� ดับจากน้อยไปมากเพ่ือให้สะดวกตอ่ การวเิ คราะห์
ตารางที่ 2.7 ข้อมลู แสดงแผนภาพตน้ -ใบของส่วนสงู นักเรียน

ตน้ ใบ

13 1 4 6 6 9
14 0 3 4 5 7 9
15 0 7 8
16 0 0 1 3 6

จากแผนภาพต้น-ใบนี้ จะบอกไดค้ รา่ วๆ วา่ ขอ้ มลู ท่ีมีคา่ ต่�าท่ีสดุ คอื 131 และสูงสดุ คือ 166 ช่วงท่มี ีความถี่
สูงสุด คอื 140-149สมมตติ ้องการจะเปรียบเทียบชดุ ขอ้ มลู 2 กล่มุ กส็ ามารถท�าได้ ตัวอยา่ งเชน่ ความสงู ของนักเรยี น
ห้อง ม.1/1 และ ม.1/2 เป็นดังนี้

ม.1/1 150 131 166 136 136 134 144 145 149 140
145 158 157 160 160 143 161 163 147 139

ม.1/2 162 163 163 172 157 156 154 165 161 172
160 148 144 160 175 190 169 155 157 176

คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 59

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

50 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.5

เขยี นเป็นแผนภาพตน้ -ใบไดด้ ังน้ี
ตารางท่ี 2.8 ขอ้ มลู แสดงแผนภาพ ตน้ -ใบ การเปรียบเทยี บส่วนสูงของนักเรยี น

ใบ (ม.1/1) ต้น ใบ (ม.1/2)

13 1 4 6 6 9
4 8 14 0 3 4 5 5 7 9
4 5 6 7 7 15 0 7 8
0 0 1 2 3 3 5 9 16 0 0 1 3 6
2 2 5 6 17

18

0 19

จะสามารถวเิ คราะหข์ อ้ มูลทัง้ 2 กลุ่มอย่างครา่ วๆ ไดว้ า่
1. นกั เรียนชัน้ ม.1/1 ส่วนใหญ่มีความสูงอยู่ในชว่ ง 150-159 เซนตเิ มตร ในขณะทีน่ ักเรียนช้นั ม.1/2 สว่ นใหญ่
มคี วามสูงอย่รู ะหว่าง 140-149 เซนตเิ มตร
2. นกั เรยี นคนทเี่ ตย้ี ทสี่ ดุ อยชู่ น้ั ม.1/2 สงู 131 เซนตเิ มตร สว่ นนกั เรยี นทสี่ งู ทส่ี ดุ อยชู่ น้ั ม.1/1 สงู 190 เซนตเิ มตร
3. ชั้น ม.1/1 มนี ักเรียนทสี่ ูงผิดปกติ 1 คน
4. ความสูงเฉล่ยี ชัน้ ม.1/1 น่าจะมากกวา่ ชัน้ ม.1/2

3.2 แผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram) เป็นการน�าเสนอข้อมูลท่ีแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์
ระหวา่ งตวั แปร 2 ตัว ว่ามีความสมั พนั ธ์กนั ในลกั ษณะใด ใช้แสดงค่าของขอ้ มูลที่เกิดจากความสัมพันธ์ของตวั แปร 2 ตวั
ว่ามแี นวโน้มไปในทางใด เพ่อื ทจี่ ะใชห้ าความสมั พนั ธท์ แ่ี ทจ้ ริง

ตารางท่ี 2.9 ข้อมลู แสดง GPA และคะแนน GMAT ของผสู้ มัครสอบ 36 คน

GPA GMAT GPA GMAT GPA GMAT

3.44 632 2.36 399 2.80 444

3.59 588 2.36 482 3.13 426

3.30 563 2.66 420 3.01 471

3.40 553 2.68 414 2.79 490

3.50 572 2.48 533 2.89 431

3.78 591 2.46 509 2.91 446

3.00 509 2.63 504 2.75 546

3.48 528 2.44 336 2.73 467

3.22 541 2.36 464 3.22 506

3.47 552 2.13 408 3.12 473

3.35 520 2.41 469 3.08 440

3.39 543 2.55 529 3.03 419

60 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ 51 ความรเู้ พิ่มเติม

รปู ท่ี 2.10 แผนภาพแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่าง GPA และคะแนน GMAT การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการจัดระเบียบแยกแยะ
ส่วนต่าง ๆ ของหลักฐานหรือข้อมูลท่ีได้ออกเป็นหมวดหมู่
จากรูปท่ี 2.10 จุดแตล่ ะจดุ แสดงคา่ GPA และคะแนน GMAT ของผู้สมัครสอบแตล่ ะคน จุดจะกระจายเปน็ เพ่ือหาคำ�ตอบตามความมุ่งหมาย และตามสมมุติฐาน
แนวจากมุมลา่ งซา้ ย สูงขึน้ ไปยงั มุมบนขวา ซึง่ แสดงว่า ผ้สู มัครสอบทม่ี ี GPA ต�า่ ส่วนใหญ่จะได้คะแนน GMAT ตา่� ใน ท่ีได้กำ�หนดไว้ การวิเคราะห์ข้อมูลนี้ เป็นขั้นการทำ�งาน
ขณะที่ผู้สมัครสอบท่ีมี GPA สูงส่วนใหญจ่ ะได้คะแนน GMAT สูงด้วย ที่ต่อเน่ืองมาจากการวัด การนับ และจัดเรียงลำ�ดับข้อมูล
สว่ นใหญเ่ ปน็ เรอ่ื งเกย่ี วกบั การนำ�เอาวธิ กี ารทางสถติ วิ เิ คราะห์
ท่มี า: เอกสารประกอบการสอน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 2542, วชิ าบรู ณาการ หาคา่ ตวั แปรหรอื หาลกั ษณะของตวั แปร
หมวดการศกึ ษาทวั่ ไป รหสั วชิ า 999211 คณติ ศาสตรแ์ ละคอมพิวเตอร์ในชวี ิตประจ�าวนั

2.3 การวิเคราะหข์ อ้ มลู

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู (Analysis of Data) เป็นข้นั ตอนต่อจากการรวบรวมข้อมลู และน�าเสนอข้อมลู หลังจาก
เก็บรวบรวมข้อมลู ที่ได้มาแล้ว มาแจกแจงแยกประเภทเปน็ หมวดหมู่ มีการค�านวณทางสถิติ วิเคราะห์ข้อมลู ท่ไี ด้มา เพือ่
หาความสา� คญั ของคณุ ลกั ษณะของขอ้ มลู เชน่ หาคะแนนเฉลย่ี ความแปรปรวน ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน คา่ สหสมั พนั ธ์
การวเิ คราะหค์ วามแปรปรวน การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ ขอ้ มลู ดบิ เดมิ ยงั แปลความหมายไดไ้ มด่ จี า� เปน็ ตอ้ งนา� ขอ้ มลู ดบิ
มาวิเคราะห์โดยวธิ ีตา่ งๆ เพอ่ื ใช้ตอบจุดประสงคห์ รือสมมติฐานในการศึกษาข้อมลู น้นั ๆ ซ่ึงการวิเคราะห์ข้อมูลอาจแบง่
เปน็ 2 ประเภทตามลกั ษณะขอ้ มลู ดังนี้

1. การวิเคราะห์ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ คือ การน�าเอาข้อมูลทไ่ี ด้จากการค้นคว้าวจิ ยั ของผอู้ ื่นในเรอ่ื งเดียวกัน
มาจัดกระท�าให้เปน็ ระบบ และแยกองคป์ ระกอบ รวมทงั้ เช่อื มโยงและหาความสมั พนั ธ์ของขอ้ มูล เพ่อื ให้สามารถน�าไป
สู่ความเขา้ ใจ และการเปลีย่ นแปลงของเรือ่ งทีต่ ้องการศึกษา ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ ดงั นี้

1.1 การวิเคราะห์ข้อมูลในสนามหรือข้อมูลจากปรากฏการณ์ หมายถึง การวิเคราะห์ท่ีได้จากการ
สงั เกต การสมั ภาษณ์ในชุมชน การเข้าไปอยู่ในชมุ ชน ขณะดา� เนินการเก็บรวบรวมข้อมูลกจ็ ะมีการวิเคราะห์ขอ้ มูลควบคู่
กันไป วิธีทใ่ี ช้วิเคราะห์ขอ้ มลู ในสนาม ไดแ้ ก่

1) วิเคราะหส์ รุปอุปมาน (Analytic Induction) เปน็ การวเิ คราะห์เพ่อื หาลกั ษณะร่วมกนั ของขอ้ มูลทีไ่ ด้
เกบ็ รวบรวมท่ไี ด้รวบรวมข้อมลู ในครั้งหน่ึงๆ แลว้ เขยี นบรรยายลกั ษณะรว่ มกนั ของขอ้ มลู

2) วเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บ (Constant Comparison) เป็นการน�าขอ้ มลู ปรากฏการณแ์ ตล่ ะปรากฏการณท์ ่ี
ไดจ้ ากการสงั เกต หรอื การสมั ภาษณม์ าจดั ลงตารางแลว้ แยกปรากฏการณอ์ อกเปน็ สว่ นๆ เพอ่ื เปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง
และความเหมอื นในแตล่ ะสว่ นของปรากฏการณ์นั้นๆ แล้วเขียนบรรยายให้เห็นภาพเหล่านน้ั

คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 61

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

52 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5
1.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากเอกสารหรอื วเิ คราะหเ์ นอื้ หา (Content Analysis) เปน็ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู

จากเอกสารทบ่ี ันทึกไว้หรือวิเคราะห์ข้อความภาษาตา่ งๆ ซ่ึงการวิเคราะหเ์ น้อื หาจะพจิ ารณาว่าแตล่ ะสว่ น แต่ละตอนมี
คา� ใดหรอื ประโยคใดทเ่ี ปน็ ประเดน็ หลกั ทเ่ี ขยี นซา�้ กนั บอ่ ยๆ เนอื้ หาของขอ้ ความแตล่ ะสว่ นมคี วามสมั พนั ธก์ นั หรอื มเี หตผุ ล
ต่อกนั อย่างไร การใชภ้ าษาและโครงสรา้ งรปู แบบการเขียนมีลักษณะอยา่ งไร

2. การวิเคราะหข์ อ้ มูลเชิงปริมาณ คอื การนา� ข้อมลู ท่ใี หค้ า่ เป็นตวั เลขไปวิเคราะห์ ซึ่งการวิเคราะห์ข้อมลู
ที่เปน็ ตัวเลขนี้จะใช้วธิ ีการทางสถติ เิ ขา้ มาชว่ ยในการวิเคราะห์ ซึง่ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี

2.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชงิ พรรณนา มีจุดประสงคเ์ พ่อื อธิบายลกั ษณะของขอ้ มลู ดังนี้
- การแจกแจงความถ่ี หมายถงึ การพิจารณาลกั ษณะซ�า้ กันของขอ้ มูลหรือการจบั กลุ่มของขอ้ มลู
- การวัดแนวโน้มเขา้ ส่สู ่วนกลางของข้อมูล หมายถึง การหาคา่ กลางหรอื คา่ ท่ีเป็นตัวแทนของขอ้ มลู ได้แก่
ค่าเฉลย่ี มัธยฐาน ฐานนยิ ม
- การเปรียบเทียบและวัดต�าแหน่งข้อมูล หมายถึง การพิจารณาว่าข้อมูลอยู่ในต�าแหน่งใดเม่ือเทียบกับ
ขอ้ มลู ตวั อ่นื ๆ เชน่ ร้อยละ สดั ส่วน อัตราสว่ น คะแนนมาตรฐาน ควอรไ์ ทล์ เดไซล์ เปอร์เซน็ ต์ไทล์
- การวัดการกระจายของข้อมูล หมายถึง การพิจารณาลักษณะการกระจายของข้อมูลชุดหน่ึงๆ ได้แก่
การวัดการกระจายแบบสมั บูรณ์ การวัดการกระจายแบบสมั พทั ธ์
- การวัดการแจกแจงข้อมูล หมายถึง การพิจารณาลักษณะการแจกแจงของข้อมูลชุดหนึ่งๆ ได้แก่
ความเบ้ ความโดง่
1) การอธิบายความสมั พันธ์ของข้อมลู หมายถงึ การพิจารณาลกั ษณะความสมั พันธข์ องข้อมูล 2 ชดุ เพื่อ
ทจี่ ะดวู า่ ตวั แปรมคี วามสมั พนั ธก์ นั หรอื ไม่ อยา่ งไร ไดแ้ ก่ สมั ประสทิ ธส์ิ หสมั พนั ธแ์ บบฟี สมั ประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธส์ เปยี รแ์ มน
สัมประสิทธ์ิสหสมั พนั ธ์แบบเพียร์สนั
2.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ อนมุ าน มจี ดุ ประสงคเ์ พอื่ ทดสอบลกั ษณะขอ้ มลู ทร่ี วบรวมมาจากแหลง่ ตวั อยา่ ง
เพอ่ื สรปุ อา้ งอิงไปยังแหลง่ ประชากร ซึ่งแบ่งเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่

1) สถติ ิพาราเมตรกิ (Parametric) การใช้สถติ พิ าราเมตริกมขี ้อตกลงเบอื้ งต้นในการใช้ คือ ขอ้ มูลที่
นา� มาวเิ คราะห์อยู่ในมาตรวดั อันตรภาคหรอื มาตรวัดแบบชว่ งขึ้นไป ลักษณะของข้อมลู ท่วี ดั จากกลมุ่ ตัวอยา่ งสุ่มมาจาก
ประชากรทมี่ กี ารแจกแจงแบบปกติ การใชส้ ถิตพิ าราเมตริก เพื่อการวเิ คราะหข์ ้อมูล อาจแบง่ กลุ่มเทคนคิ การวิเคราะห์
ออกได้ 2 กลุม่ ใหญ่ๆ คือ

สถติ ิท่ใี ชก้ บั การวเิ คราะห์ตัวแปรเดยี ว (Univariate Analysis Statistics) เปน็ สถติ ิทใี่ ช้วิเคราะห์ในกรณีที่
ข้อมูลท่ีน�ามาวิเคราะห์น้ันวัดมาจากตวั แปรตามเพยี งตัวเดยี ว

สถิติที่ใช้กับการวิเคราะห์ตัวแปรพหุคูณ (Multivariate Analysis Statistics) เป็นสถิติที่ใช้ส�าหรับการ
วิเคราะหข์ ้อมลู ทม่ี ีการวดั จากตัวแปรตามมากกว่า 1 ตวั

2) สถิตนิ อนพาราเมตรกิ -(Non Parametric) การใช้สถิติพาราเมตรกิ มีขอ้ ตกลงเบือ้ งตน้ ในการใช้ คอื
ใช้ในกรณีที่แน่ใจว่าลักษณะการแจกแจงของข้อมูลจากตัวอย่างไม่ได้มาจากประชากรท่ีมีการแจกแจงแบบปกติหรือไม่
สนใจว่าลกั ษณะการแจกแจงของข้อมูลจากตัวอย่างมาจากประชากรท่ีมกี ารแจกแจงแบบปกตหิ รือไม่ ใชไ้ ด้กบั ข้อมูลท่ีมี
มาตรวดั นามบัญญตั ิขนึ้ ไป เหมาะสมกับกรณีท่ีกลุ่มตวั อยา่ งมขี นาดเลก็

การใชส้ ถิตนิ อนพาราเมตริกเพ่อื การวเิ คราะห์ข้อมูล แบง่ ออกเปน็ 6 กลุ่มใหญ่ๆ
- กรณีกลมุ่ ตวั อยา่ งเดียว เชน่ Chi-square, Runs test
- กรณกี ลมุ่ ตวั อย่าง 2 กลุ่มท่ีมคี วามสมั พนั ธก์ นั เช่น McNemar, Sign test
- กรณีกลมุ่ ตวั อย่าง 2 กลมุ่ ที่เปน็ อสิ ระกัน เชน่ U test, Mann-Whitney
- กรณีกลุ่มตัวอยา่ งมากกวา่ 2 กลุม่ ท่สี มั พนั ธ์กัน เชน่ ( Friedman Two-way ANOVA
- กรณกี ลมุ่ ตัวอย่างมากกว่า 2 กลุม่ ท่ีเปน็ อสิ ระกัน เช่น Kruskal-Wallis One-way ANOVA
- กรณีสมั ประสิทธส์ิ หสมั พนั ธ์ เชน่ Phi Correlation, Spearman’s rho

I CT I nnovation

ให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การวิเคราะห์ข้อมูล ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ เนอื้ หากนั รบั ผดิ ชอบจากการเรยี นรโู้ ปรแกรม
ทางสถิตจิ ากโปรแกรมอน่ื นอกจาก โปรแกรม Excel จาก Excel แล้วจัดทำ�เป็นใบความรู้แลกเปลี่ยนกันให้เพื่อน
Search engine ต่าง ๆ รวมเลม่ ใบความรูโ้ ปรแกรม Excel

62 คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางสถิติ 53

2.4 การแปลความหมายของข้อมูล L earning for 21st Century Skills

การแปลความหมายของขอ้ มูล (Interpretation of Data) เป็นการนา� ผลจากการวเิ คราะห์ข้อมลู ลักษณะ ให้นักเรียนศึกษา โปรแกรมส�ำเร็จรูป SPSS แล้วจัดท�ำ
ต่างๆ มาแปลผลหรือแปลความหมาย เพ่ือจะได้รู้ว่าข้อมูลท่ีเก็บมานั้นมีความหมายว่าอย่างไร สัมพันธ์กันอย่างไร เป็นใบความรู้
แตกตา่ งกันหรอื ไม่ และมีแนวทางว่าจะใช้อย่างไร เพอื่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด
L earning for Metacognition
เฉลยกิจกรรมในหน้า 95
ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ เกยี่ วกบั โปรแกรมวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางสถติ ิ
กจิ กรรมตรวจสอบก�รเรียนรูท้ ี่ 2.2 โปรแกรมอ่ืน ๆ พร้อมวิธีใช้ บันทึกเก็บไว้ แล้วนำ�มา
แลกเปลี่ยนความรกู้ บั เพ่อื น ๆ
1. ระเบียบวิธที างสถิตมิ ีอะไรบ้าง
2. อธบิ ายวธิ วี เิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ คณุ ภาพ I ntroduction
3. คะแนนจากการสอบวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรยี นจา� นวน 40 คน เปน็ ดังน้ี
1. ครทู บทวนการใชง้ านโปรแกรมตารางคำ� นวณทสี่ ามารถ
80 79 89 82 91 87 72 44 71 88 59 67 49 65 52 75 81 56 69 80 สรา้ งตาราง สร้างกราฟ สร้างแผนภูมิ
79 53 62 83 6 73 54 66 76 52 80 69 62 73 93 98 75 3 88 42
2. ครใู ช้ค�ำถามนักเรยี นเพ่อื น�ำเขา้ สู่บทเรยี น
3.1 แจกแจงความถโี่ ดยก�าหนดช้นั คะแนนตามที่เห็นว่าเหมาะสม ค�ำถาม :
3.2 สรา้ งฮสิ โตแกรม(Histogram) จากข้อมลู ในขอ้ 3.1 - โปรแกรม Excel เปน็ โปรแกรมเก่ยี วกบั อะไร (นกั เรยี น

3. การวเิ คราะห์ข้อมูลตัวอย่างด้วยโปรแกรม ตอบตามความเข้าใจของตนเองเพื่อครูผู้สอนน�ำเข้าสู่
ตารางคำานวณ บทเรยี น)
- การวิเคราะหข์ อ้ มูลดว้ ยโปรแกรม Excel ทำ� ไดอ้ ยา่ งไร
แนวคดิ สำ�คญั 3.1 โปรแกรมตารางคาำ นวณ (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเองเพ่ือครูผู้สอน
โปรแกรมตารางค�านวณ ในชุดโปรแกรมไมโครซอฟต์ นำ� เขา้ สบู่ ทเรียน)
Microsoft Excel เป็นโปรแกรมตารางการ ออฟฟศิ คอื ไมโครซอฟตเ์ อกเซล (Microsoft Excel) เปน็ โปรแกรม - การเรยี กใชส้ ตู ร การเรยี กใชฟ้ งั กช์ นั เปน็ แบบใด (นกั เรยี น
คำานวณสำาเร็จรูปสำาหรับวิเคราะห์ข้อมูลตัวเลข ซึ่ง ทมี่ ลี กั ษณะการทา� งานเชงิ คา� นวณ โดยโปรแกรมไดถ้ กู สรา้ งขนึ้ มา ตอบตามความเข้าใจของตนเองเพื่อครูผู้สอนน�ำเข้าสู่
สามารถท่ีจะสร้างเป็นตารางหรือแสดงผลออกมาเป็น เพ่อื วัตถปุ ระสงคห์ ลักในการช่วยกรอกขอ้ มลู ลงในช่องตารางและ บทเรียน)
กราฟได้ ท�าการค�านวณข้อมูลในแผ่นค�านวณ โดยหลังจากท่ีกรอกข้อมูล - จงยกตัวอย่างสูตร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ
ในตารางแล้ว เราสามารถท�าการค�านวณข้อมูลได้ทันที ท้ังนี้ยัง ตนเองเพ่อื ครผู ู้สอนนำ� เข้าสบู่ ทเรียน)
สามารถทา� งานไดด้ กี บั ขอ้ มลู ทมี่ จี า� นวนมากๆ ทง้ั การบนั ทกึ แกไ้ ข - จงยกตัวอย่างฟังก์ช่ัน (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ
และคา� นวณขอ้ มลู แลว้ ยงั สามารถใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ได้ เชน่ ของตนเองเพอื่ ครผู ู้สอนน�ำเขา้ สู่บทเรยี น)
การหาผลรวม การหาคา่ สงู สุดต่�าสุด รวมไปถงึ ยังสามารถสร้าง ค�ำสำ� คญั :
กราฟแสดงความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู เพอื่ ใหม้ องเหน็ ขอ้ มลู ไดช้ ดั เจน - โปรแกรมตารางคำ� นวณ
อีกดว้ ย - สูตร
- ฟังกช์ ัน
I ndesign - การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
- การเปล่ยี นสภาพขอ้ มูล
1. นกั เรยี นศกึ ษาเกย่ี วกบั การเรยี กใชส้ ตู รและฟงั กช์ นั จาก
หนงั สอื หน้า 54-80 และจากสือ่ ออนไลน์ YouTube

2. นกั เรียนท�ำใบงานที่ 2.3
3. ครูสุม่ กลุ่มนักเรยี นแสดงผลงานจากใบงานที่ 2.3
4. นักเรยี นทำ� กิจกรรมตรวจสอบการเรยี นรู้ที่ 2.3
5. นกั เรยี นตอบค�ำถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
6. ครแู ละนกั เรียนตรวจสอบความถกู ต้อง
7. นักเรยี นสรุปความรู้ความเขา้ ใจ

คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 63

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

54 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5

Microsoft Excel เปน็ โปรแกรมสา� เรจ็ รปู สา� หรบั วิเคราะห์ขอ้ มูลทร่ี ้จู กั กันดี หางา่ ย และมคี วามสามารถสงู ใน
ดา้ นการคา� นวณหรอื การประมวลผลตัวเลขเพอ่ื หาผลลพั ธ์ สามารถเรียกใช้สูตร (Formulas) และฟงั กช์ นั (Functions) ได้
โดยเพียงกรอกขอ้ มูลลงในเซลลพ์ มิ พ์สตู รหรอื ฟังก์ชนั ลงไปก็จะได้ผลลพั ธห์ รอื คา� ตอบทถี่ กู ตอ้ งอยา่ งรวดเรว็

สตู ร (Formulas) คอื สมการทางคณติ ศาสตรท์ สี่ รา้ งขน้ึ เพอ่ื การคา� นวณคา่ แลว้ แสดงผลการคา� นวณบนกระดาษ
ทา� การ ผใู้ ชไ้ มจ่ า� เปน็ ตอ้ งพมิ พค์ า่ ตา่ ง ๆ หรอื ตวั เลขจา� นวนลงในไปเซลล์ เพยี งแตป่ อ้ นสตู รเทา่ นนั้ โปรแกรมกจ็ ะคา� นวณ
ผลลพั ธใ์ ห้ทันที ถ้าเปลีย่ นหรือปรบั ปรุงข้อมูลในเซลลท์ อี่ ้างองิ ผลลัพธจ์ ะเปลยี่ นตามไปดว้ ยการพมิ พ์สูตรจะต้องเร่มิ ตน้
ด้วยเคร่อื งหมาย  (เท่ากบั ) เสมอ ตามดว้ ยช่ือเซลลห์ รอื ช่วงเซลล์ และตวั ดา� เนนิ การ (Operator) เช่น บวก ลบ คณู
หาร

โปรแกรม Excel จะน�าสูตรท่ีเราเขียนไปค�านวณ ล�าดับการค�านวณจะเกิดขึ้นตามล�าดับความส�าคัญของตัว
ด�าเนนิ การทางคณติ ศาสตร์ ซ่ึงใชส้ �าหรบั กา� หนดการปฏิบัตกิ ารกบั สว่ นประกอบของสตู ร และถ้าตัวด�าเนินการมลี �าดับ
เทา่ กัน จะคา� นวณโดยกระท�าจากทางซา้ ยไปทางขวาของสตู รดังนี้

ตารางที่ 2.10 ลาำ ดบั ตัวดำาเนนิ การทางคณิตศาสตร์

ลาำ ดับ เครือ่ งหมาย ชอื่ เคร่อื งหมาย

1 () วงเลบ็

2^ ยกก�าลัง

3 * และ / คูณและหาร

4 + และ - บวกและลบ

5 % ร้อยละ หรอื เปอรเ์ ซน็ ต์

ตัวอยา่ ง สูตร  (3*2)^2/4+6
จะมขี ั้นตอนการค�านวณตามลา� ดบั ความสา� คัญ ดังน้ี

 6^2/4+6
 36/4+6
 9+6

 15

ฟังก์ชนั (Functions) หมายถึง สตู รพเิ ศษทโี่ ปรแกรมสร้างไว้เพ่อื ค�านวณคา่ ตา่ งๆ ตามจุดประสงคก์ ารใช้ เกดิ
จากการนา� เอาสตู รมาสรา้ งเปน็ คา่ เฉพาะเพอื่ ใช้ในการคา� นวณ เรียกว่า ตวั แปร โดยมรี ปู แบบและโครงสรา้ งเฉพาะ เช่น
ฟังกช์ ัน SUM ใช้ส�าหรบั บวกคา่ หรือชว่ งของข้อมลู ฟงั กช์ ัน AVERAGE ใชส้ �าหรบั คา� นวณหาค่าเฉลย่ี ของตัวเลขท่นี �ามา
อ้างอิงท้งั หมด

 Function_ name (Argument1, Argument2,…)

Function_ name หมายถึง ชอ่ื ของฟงั กช์ ัน โดยข้นึ ต้นด้วยเครือ่ งหมายเท่ากบั () ตามด้วยช่อื ของฟังกช์ ัน เช่น

SUM, AVERAGE, MIN

Argument หมายถึง ขอ้ มลู ทจ่ี ะต้องปอ้ นให้กบั ฟังก์ชนั โดยเขยี นไว้ภายในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) เสมอ ถา้ มี
หลายค่าตอ้ งใส่เครอ่ื งหมายคอมมา ( , )

64 คูม่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางสถติ ิ 55 แหลง่ สืบคน้

3.2 การวเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้ฟงั กช์ ันทางสถติ ิ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ สตู รสถติ ขิ องโปรแกรม Microsoft
Excel เพม่ิ เตมิ ไดท้ เี่ วบ็ ไซต์ https://support.office.com/
โปรแกรม Microsoft Excel มีฟงั ก์ชันทางสถติ ิสา� เร็จรูปใหเ้ รียกใช้งานได้ โดยฟังก์ชนั ท่นี ยิ มใช้กนั มากมดี ้งน้ี
ตารางท่ี 2.11 ฟงั กช์ ันทางสถิติทนี่ ิยมใช้ th-th/article/ฟงั กช์ นั ทางสถติ -ิ ขอ้ มลู อา้ งองิ - 624dac86-
a375-4435-bc25-76d659719ffd

ลำาดบั รูปแบบฟงั กช์ ัน ความหมาย

1 AVERAGE (number1, number2,…) ค�านวณ ค่าเฉล่ีย เลขคณิตของข้อมลู เชงิ ปริมาณ

2 SUM (number1, number2,…) ค�านวณ ผลรวม ของขอ้ มูลในเซลล์

3 MEDIAN (number1, number2,…) คา� นวณค่า มธั ยฐาน เป็นการหาคา่ ท่ีอยูก่ ึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมด

4 MODE (number1, number2,…) ค�านวณคา่ ฐานนิยม เป็นการหาคา่ ท่ีมีจ�านวนซ้า� กันมากทส่ี ุด

5 MAX (number1, number2,…) แสดงคา่ มากที่สุด ของข้อมูลเชงิ ปริมาณ

6 MIN (number1, number2,…) แสดงค่า นอ้ ยทีส่ ดุ ของข้อมลู เชิงปริมาณ

7 STDEVA (number1, number2,…) แสดง คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน ทคี่ �านวณจากประชากร

8 FREQUENCY(data_array,bins_array) แสดง ความถ่ี ทีเ่ กิดขน้ึ ในช่วงที่กา� หนด

คา่ เฉลย่ี เลขคณติ เป็นคา่ กลางทคี่ �านวณไดโ้ ดยน�าขอ้ มลู ทงั้ หมดมารวมกนั แล้วหารด้วยจ�านวนขอ้ มลู
ผลรวม เป็นผลทค่ี �านวณได้โดยน�าข้อมลู ทง้ั หมดมารวมกนั
มธั ยฐาน เปน็ คา่ ทอ่ี ยกู่ งึ่ กลางของขอ้ มลู ทง้ั ชดุ เมอื่ จดั เรยี งลา� ดบั จากมากไปหานอ้ ยหรอื นอ้ ยไป
หามาก
ฐานนยิ ม เป็นคา่ ทม่ี คี วามถ่สี ูงที่สุด
คา่ มากท่สี ุด เปน็ ค่าทมี่ ีค่ามากท่สี ดุ ของข้อมลู ทงั้ หมด
ค่านอ้ ยทีส่ ุด เปน็ ค่าที่มคี ่าน้อยทส่ี ุดของข้อมูลทงั้ หมด
ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน เปน็ คา่ ทใ่ี ชว้ ดั การกระจายของขอ้ มลู แตล่ ะตวั วา่ ตา่ งไปจากคา่ เฉลยี่ มากนอ้ ยเพยี งใด
ความถี่ เปน็ คา่ ท่เี กิดข้นึ ซ้า� กนั ในชว่ งทีก่ า� หนด

การใชฟ้ ังก์ชันทางสถติ ิของโปรแกรม Microsoft Excel
ขนั้ ตอนการเรยี กใช้งาน มีดังนี้
1. เปดิ โปรแกรม Microsoft Excel 2016 คลกิ ไอคอน (Icon) โปรแกรม Microsoft Excel 2016 ตามรูป

รูปที่ 2.11 ไอคอนโปรแกรม Microsoft Excel 2016

ค่มู ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 65

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

ความรูเ้ พิม่ เติม 56 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5

Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภทตาราง 2. เขา้ หน้าต่างตอ้ นรับของโปรแกรม Microsoft Excel แบ่งเปน็ ส่วนทางเขา้ 5 สว่ น ดงั น้ี
การคำ�นวณ สามารถจัดการและคำ�นวณข้อมูลในรูปแบบ
ตารางได้ รวมถึงยังสามารถจัดทำ�กราฟ และแผนภูมิ 2.1 2.2 2.3
เพื่อแสดงผลข้อมลู ไดอ้ กี ด้วย
2.4
2.5

รูปที่ 2.12 ไอคอน (icon) โปรแกรม Microsoft Excel 2016

2.1 ส่วนทางเขา้ หนา้ ตา่ งโปรแกรม Microsoft Excel มาตรฐาน
2.2 ส่วนทางเข้า หน้าต่างแนะน�าโปรแกรม Microsoft Excel
2.3 สว่ นทางเขา้ หน้าต่างตวั อย่างการออกแบบใชโ้ ปรแกรม Microsoft Excel
2.4 สว่ นทางเขา้ เปิดเอกสารใหม่
2.5 สว่ นทางเขา้ เปดิ เอกสารเดมิ
3. คลิกหน้าต่างโปรแกรม Microsoft Excel มาตรฐานข้ึนมา แล้วคลิกแท็บ Formulas > More Functions
จะแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ดังนี้

รูปที่ 2.13 หน้าตา่ งตอ้ นรบั ของโปรแกรม Microsoft Excel

66 คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 57

3.1 Statistical จะเป็นส่วนของฟังกช์ นั มาตรฐานในทางคณติ ศาสตร์
3.2 Engineering จะเปน็ ส่วนของฟังกช์ ันมาตรฐานในทางวิศวกรรม
จะเป็นส่วนของฟังก์ชันการเชอ่ื มโยงขอ้ มูล
3.3 Cube

3.4 Information จะเป็นสว่ นของฟงั ก์ชนั มาตรฐานฐานขอ้ มลู ของโปรแกรม Microsoft Excel
3.5 Compatibility จะเปน็ สว่ นของฟังกช์ ันข้อความทางตรรกะ
จะเปน็ สว่ นของฟงั ก์ชนั เชื่อมโยงทางภายนอกกับเว็บไซต์
3.6 Web

4. เลือกฟงั กช์ นั ยอ่ ยท่ีต้องการใช้ ซึง่ มดี ว้ ยกนั 108 ฟงั กช์ นั โดยเรียงชือ่ ฟังก์ชันจาก A–Z

รปู ที่ 2.14 แสดงสว่ นฟงั ก์ชันยอ่ ย

5. ถา้ ตอ้ งการทราบวา่ แตล่ ะฟงั กช์ นั ใชท้ า� อะไร สามารถนา� เมาสไ์ ปชท้ี ฟี่ งั กช์ นั ทต่ี อ้ งการเลอื กโปรแกรมจะแสดง
ค�าอธบิ ายของฟังกช์ ันดังกลา่ วขึ้นมา ดงั รูปท่ี 2.15

ค�าอธบิ ายฟงั กช์ ัน

รปู ท่ี 2.15 แสดงค�าอธบิ ายฟงั ก์ชนั

คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 67

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

แหลง่ สบื คน้ 58 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.5

ให้นักเรียนสืบค้นการสาธิตการใช้งานโปรแกรม การเรียกใช้ฟงั กช์ ันทางสถิติ นอกจากขั้นตอนเรียกใชข้ ้างต้นแล้วยงั สามารถด�าเนินการได้อีก 2 วธิ ี คือ
Excel ได้ท่ีเว็บไซต์ https://www.youtube.com/ 1. วธิ ีคลกิ ไอคอน fx มีขั้นตอน ดงั น้ี

watch?v=hq90pSFswiA 1. คลิก

รูปที่ 2.16 แสดงวธิ เี ขา้ เรยี กใชฟ้ งั ก์ชนั จากวธิ ีคลกิ ไอคอน fx

1) คลกิ แท็บ Formulas > Insert Function
2) จะปรากฏหนา้ ต่าง Insert Function ดงั รปู ท่ี 2.17
3) ถ้าทราบช่ือฟังก์ชันให้ใส่ชื่อฟังก์ชันท่ีต้องการใช้ในส่วนของ Search for a fuction: แต่ถ้าไม่ทราบช่ือ
ฟงั ก์ชนั ใหอ้ า่ นไปในส่วนของ Or select a category: ซึ่งเปน็ การเลอื กประเภทของฟงั กช์ ันใน Excel โดยมีดว้ ยกนั 13
ประเภท ดงั น้ี

ตารางท่ี 2.12 ประเภทของฟงั ก์ชันใน Excel

Financial Date & Time Math & Trig Statistical

Lookup & Reference Database Text Logical

Information Engineering Cube Compatibility

Web

4) ฟังกช์ ันทางสถิติ ใหค้ ลิกเลอื ก Statistical จะปรากฏฟงั กช์ นั ยอ่ ยทางสถติ ิในชอ่ ง Select a function:
5) ถา้ คลิกเลอื กฟงั ก์ชนั ย่อยจะปรากฏค�าอธิบายการใช้งานฟงั กช์ ันน้นั ไว้ส้นั ๆ ดา้ นลา่ ง

68 คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสถติ ิ 59

3. ใส่ชื่อฟังกช์ นั

2. หนา้ ต่าง Insert Function 4. เลอื กประเภทฟงั ก์ชัน
5. ฟงั กช์ นั ยอ่ ยทางสถติ ิ
และคา� อธบิ ายฟงั กช์ นั

6. รายละเอยี ดเพิ่มเติม

รูปท่ี 2.17 การเรียกใช้ฟงั กช์ ัน จาก Insert Function

6) ถ้าคลกิ Help on this function สามารถดูรายละเอยี ดเพิม่ เติมของแตล่ ะฟงั ก์ชนั ย่อย
2. วิธีคลกิ แท็บ Home มีขั้นตอน ดังน้ี

1) คลกิ แท็บ Home > AutoSum > More Functions..

1. คลิก

รูปที่ 2.18 วิธเี ข้าเรียกใชฟ้ งั ก์ชัน จากวิธคี ลกิ แท็บ Home

ค่มู อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5 69

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

60 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5
2) จะปรากฏหน้าต่าง Insert Function เหมอื นวธิ คี ลิกไอคอน fx แล้วท�าเหมอื นกนั

2. เลอื ก

รูปที่ 2.19 หนา้ ต่าง Insert Function เหมอื นวิธีคลิกไอคอน fx

ตัวอย่างการใช้ฟังก์ชันทางสถติ ิ การวิเคราะหข์ ้อมูลตวั อยา่ งด้วยโปรแกรมตารางคำานวณ
กา� หนดใหข้ อ้ มลู ตามตารางท่ี 2.13 จา� นวนนกั เรยี นเขา้ ศกึ ษาในโรงเรยี นคา� นวณวทิ ยา ตงั้ แต่ พ.ศ. 2556 – พ.ศ.

2560 และตารางที่ 2.14 จา� นวนนักเรียนในแต่ละระดับช้นั ของโรงเรยี นคา� นวณวทิ ยา ตง้ั แต่ พ.ศ. 2556 – พ.ศ.2560 ดงั นี้
ตารางท่ี 2.13 จำานวนนกั เรยี นเขา้ ศึกษาในโรงเรยี นคำานวณวิทยา

พ.ศ. จำานวนนักเรียน (คน)
2556 1,613

2557 1,412

2558 1,752

2559 1,535

2560 1,412

70 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสถิติ 61 แหล่งสืบค้น

ตารางที่ 2.14 จาำ นวนนักเรยี นในแตล่ ะระดับชั้นของโรงเรียนคำานวณวิทยา ให้นักเรียนสืบค้นการสาธิตข้ันตอนการหาค่าเฉลี่ย

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม (คน) ปี พ.ศ. ดว้ ยโปรแกรม Excel ไดท้ ่เี ว็บไซต์ Youtube เร่อื ง การหา
ค่าเฉล่ยี Excel
,264
343 329 229 212 236 1 613 2556

,245
264 243 189 185 195 1 321 2557

,260
245 264 327 306 350 1 752 2558

,247
260 245 261 268 254 1 535 2559

,238
247 260 222 229 216 1 412 2560

1. การหาคา่ เฉลีย่ (AVERAGE)
จากขอ้ มลู ตารางที่ 2.13 จา� นวนนกั เรยี นเขา้ ศกึ ษาโรงเรยี นคา� นวณวทิ ยาในระยะ 5 ปี สามารถหาคา่ เฉลย่ี ไดด้ งั นี้

1.1 หาคา่ เฉลย่ี จากการใชฟ้ งั กช์ ัน AVERAGE เลือก Formulas > More Functions > AVERAGE

รูปที่ 2.20 วธิ ีการเรยี กใชฟ้ ังก์ชัน AVERAGE

1.2 น�าข้อมูลเข้าโปรแกรม Excel

พ.ศ. จา� นวนนักเรยี น (คน)

รูปที่ 2.21 การปอ้ นขอ้ มูลในโปรแกรม Excel

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 71

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

62 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.5
1.3 เลือกช่องทจ่ี ะแสดงผลลัพธ์ แลว้ กดใช้ฟังกช์ ัน AVERAGE

พ.ศ. จา� นวนนักเรยี น (คน)

รูปท่ี 2.22 การเลอื กใชฟ้ งั กช์ ัน AVERAGE

1.4 เลอื กขอบเขตขอ้ มูลทจี่ ะหาคา่

พ.ศ. จ�านวนนักเรยี น (คน)

รูปที่ 2.23 การเลอื กขอบเขตขอ้ มูลท่ีใชฟ้ ังก์ชนั AVERAGE

1.5 แสดงผลลัพธค์ า่ เฉล่ีย

พ.ศ. จ�านวนนกั เรยี น (คน)

รูปท่ี 2.24 ผลลัพธ์ที่ได้ (คา่ เฉลยี่ )

72 ค่มู ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ 63 แหลง่ สบื คน้

2. การหาผลรวม (SUM) ให้นักเรียนสืบค้นการสาธิตข้ันตอนการหาผลรวมด้วย
ขอ้ มลู จากตารางท่ี 2.13 จา� นวนนกั เรยี นเขา้ ศกึ ษาในโรงเรยี นคา� นวณวทิ ยาในระยะ 5 ปี สามารถหาผลรวมได้
ดงั น้ี โปรแกรม Excel ได้ท่เี วบ็ ไซต์ Youtube เรือ่ ง การหาผลรวม

2.1 หาคา่ ผลรวมจากการใชฟ้ งั กช์ ัน =SUM เลือก Formulas > Math & Trig > SUM Excel

รปู ที่ 2.25 วธิ ีการเรยี กใช้ฟังก์ชัน SUM

2.2 นา� ข้อมลู เข้าโปรแกรม Excel

พ.ศ. จา� นวนนกั เรยี น (คน)

รปู ท่ี 2.26 การป้อนขอ้ มลู ในโปรแกรม Excel

2.3 เลือกชอ่ งที่จะแสดงผลลัพธ์ แล้วกดใชฟ้ ังกช์ นั SUM

พ.ศ. จ�านวนนกั เรยี น (คน)

รปู ท่ี 2.27 การเลือกใชฟ้ งั ก์ชนั SUM

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5 73

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

แหลง่ สืบค้น 64 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5
2.4 เลือกขอบเขตขอ้ มลู ทจี่ ะหาค่า
ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ การสาธติ ขน้ั ตอนการหาคา่ มธั ยฐานดว้ ย
พ.ศ. จา� นวนนักเรียน (คน)
โปรแกรม Excel ไดท้ ่ีเว็บไซต์ Youtube เรื่อง การหาค่า
มธั ยฐาน Excel

รูปที่ 2.28 การเลอื กขอบเขตข้อมลู ทใ่ี ช้ฟงั กช์ นั SUM

2.5 แสดงผลลพั ธ์ ผลรวม

พ.ศ. จ�านวนนักเรยี น (คน)

รปู ท่ี 2.29 แสดงผลลัพธท์ ่ีได้ (ผลรวม)

3. การหาคา่ มัธยฐาน (MEDIAN)
จากขอ้ มลู ตารางท่ี 2.13 จ�านวนนักเรียนเขา้ ศกึ ษาโรงเรียนค�านวณวิทยาในระยะ 5 ปี สามารถหาค่ามัธยฐาน
ได้ ดงั นี้

74 คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 การวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถติ ิ 65
3.1 การหาคา่ มัธยฐานจากการใชฟ้ ังกช์ นั =MEDIAN เลือก Formulas > More Functions > MEDIAN

รปู ท่ี 2.30 วิธีการเรียกใช้ฟังกช์ ัน MEDIAN

3.2 นา� ขอ้ มลู เขา้ โปรแกรม Excel

พ.ศ. จา� นวนนักเรยี น (คน)

รปู ท่ี 2.31 การปอ้ นข้อมลู ในโปรแกรม Excel

คู่มือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 75

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

66 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.5
3.3 เลือกช่องทจ่ี ะแสดงผลลัพธ์ แลว้ กดใช้ฟงั กช์ นั MEDIAN

พ.ศ. จ�านวนนกั เรียน (คน)

รปู ที่ 2.32 การเลือกใชฟ้ งั ก์ชนั MEDIAN

3.4 เลอื กขอบเขตขอ้ มลู ท่จี ะหาค่า

พ.ศ. จา� นวนนักเรียน (คน)

รปู ท่ี 2.33 การเลือกขอบเขตข้อมลู ท่ใี ชฟ้ ังกช์ ัน MEDIAN

76 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลทางสถิติ 67 แหล่งสบื ค้น

3.5 แสดงผลลพั ธ์ค่ามัธยฐาน ให้นักเรียนสืบค้นการสาธิตขั้นตอนการหาค่าฐานนิยม

ด้วยโปรแกรม Excel ไดท้ ่ีเวบ็ ไซต์ Youtube เร่อื ง การหา
ค่าฐานนยิ ม Excel

พ.ศ. จ�านวนนักเรยี น (คน)

รปู ท่ี 2.34 ผลลพั ธท์ ่ไี ด้ (มธั ยฐาน)

4. การหาค่าฐานนิยม (MODE)
จากข้อมลู จากตารางที่ 2.13 ของจา� นวนนกั เรยี นเขา้ ศึกษาโรงเรยี นคา� นวณวทิ ยาในระยะ 5 ปี สามารถหาคา่
ฐานนยิ มไดด้ ังนี้

4.1 การหาค่าฐานนยิ มจากการใช้ฟังกช์ นั MODE เลือก Formulas > More Functions > MODE.MULT

รูปท่ี 2.35 วิธีการเรยี กใชฟ้ ังกช์ ัน MODE

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 77

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

68 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5
4.2 น�าขอ้ มลู เขา้ โปรแกรม Excel

พ.ศ. จา� นวนนกั เรยี น (คน)

รูปที่ 2.36 การปอ้ นขอ้ มลู ในโปรแกรม Excel

4.3 เลอื กช่องทจ่ี ะแสดงผลลัพธ์ แลว้ กดใชฟ้ งั กช์ ัน MODE

พ.ศ. จา� นวนนักเรียน (คน)

รูปที่ 2.37 การเลอื กใชฟ้ งั กช์ นั MODE

78 คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางสถติ ิ 69

4.4 เลอื กขอบเขตขอ้ มลู ทีจ่ ะหาค่า

พ.ศ. จา� นวนนักเรยี น (คน)

รปู ท่ี 2.38 การเลอื กขอบเขตข้อมลู ทใ่ี ช้ฟังกช์ นั MODE

4.5 แสดงผลลพั ธค์ ่าฐานนิยม

พ.ศ. จา� นวนนกั เรียน (คน)

รูปที่ 2.39 ผลลพั ธท์ ไี่ ด้ (ฐานนิยม)

คูม่ อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 79

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

แหลง่ สืบค้น 70 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5
5. การหาคา่ มากทสี่ ุด (MAX)
ให้นักเรียนสืบค้นการสาธิตขั้นตอนการหาค่ามากที่สุด จากขอ้ มูลจากตารางที่ 2.13 จ�านวนนักเรียนเข้าศกึ ษาโรงเรยี นคา� นวณวทิ ยาในระยะ 5 ปี สามารถหาคา่ มาก

ด้วยโปรแกรม Excel ไดท้ ่ีเวบ็ ไซต์ Youtube เรือ่ ง การหาค่า ทสี่ ุดได้ ดังนี้
5.1 การหาค่ามากทส่ี ดุ จากการใชฟ้ งั กช์ ัน =MAX เลอื ก Formulas > More Functions > MAX
MAX Excel

รูปที่ 2.40 วธิ ีการเรียกใชฟ้ ังก์ชัน MAX

5.2 น�าขอ้ มลู เขา้ โปรแกรม Excel

พ.ศ. จา� นวนนกั เรยี น (คน)

รูปที่ 2.41 แสดงการปอ้ นขอ้ มูลในโปรแกรม Excel

80 คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ 71
5.3 เลอื กช่องท่ีจะแสดงผลลัพธ์ แล้วกดใชฟ้ ังกช์ ัน MAX

พ.ศ. จ�านวนนกั เรยี น (คน)

รูปที่ 2.42 การเลอื กใช้ฟงั ก์ชนั MAX

5.4 เลอื กขอบเขตขอ้ มลู ทีจ่ ะหาค่า

พ.ศ. จ�านวนนกั เรียน (คน)

รูปท่ี 2.43 การเลอื กขอบเขตข้อมูลทใี่ ชฟ้ งั กช์ ัน MAX

คูม่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 81

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

แหล่งสืบค้น 72 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5
5.5 แสดงผลลัพธ์คา่ มากทีส่ ดุ
ให้นักเรียนสืบค้นการสาธิตขั้นตอนการหาค่าน้อยที่สุด

ด้วยโปรแกรม Excel ไดท้ เ่ี วบ็ ไซต์ Youtube เร่ือง การหาค่า

MIN Excel

พ.ศ. จา� นวนนักเรยี น (คน)

รปู ที่ 2.44 ผลลพั ธท์ ีไ่ ด้ (ค่ามากท่ีสุด)

6. การหาค่าน้อยที่สดุ (MIN)
จากข้อมลู ตารางท่ี 2.13 จา� นวนนักเรยี นเข้าศกึ ษาโรงเรยี นคา� นวณวทิ ยาในระยะ 5 ปี สามารถหาคา่ นอ้ ยท่ีสดุ
ได้ ดงั นี้

6.1 การหาคา่ น้อยทีส่ ดุ จากการใชฟ้ งั ก์ชนั MIN เลือก Formulas > More Functions > MIN

รปู ท่ี 2.45 วธิ ีการเรยี กใชฟ้ งั กช์ ัน MIN

82 คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวิเคราะหข์ อ้ มูลทางสถิติ 73

6.2 นา� ข้อมลู เข้าโปรแกรม Excel

พ.ศ. จา� นวนนักเรียน (คน)

รูปที่ 2.46 การปอ้ นขอ้ มูลในโปรแกรม Excel

6.3 เลือกช่องท่ีจะแสดงผลลพั ธ์ แลว้ กดใชฟ้ ังก์ชนั MIN

พ.ศ. จา� นวนนักเรยี น (คน)

รูปที่ 2.47 การเลือกใช้ฟงั ก์ชนั MIN

คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 83

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

74 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.5
6.4 เลือกขอบเขตขอ้ มลู ที่จะหาค่า

พ.ศ. จ�านวนนกั เรียน (คน)

รูปท่ี 2.48 การเลือกขอบเขตข้อมูลท่ีใช้ฟงั ก์ชนั MIN

6.5 แสดงผลลพั ธ์ค่านอ้ ยท่สี ดุ

พ.ศ. จ�านวนนกั เรียน (คน)

รปู ที่ 2.49 ผลลัพธ์ทไ่ี ด้ (คา่ นอ้ ยท่สี ุด)

84 ค่มู ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสถติ ิ 75 แหลง่ สบื คน้

7 การหาค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (STDEVA) ให้นักเรียนสืบค้นการสาธิตข้ันตอนการหาค่าเบ่ียงเบน
จากข้อมูลตารางท่ี 2.13 จ�านวนนักเรียนเขา้ ศึกษาโรงเรียนคา� นวณวทิ ยาในระยะ 5 ปี สามารถหาคา่ เบย่ี งเบน
มาตรฐานได้ดังน้ี มาตรฐานด้วยโปรแกรม Excel ได้ที่เว็บไซต์ Youtube
เรอ่ื ง การหาคา่ S.D. Excel
7.1 การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจากการใชฟ้ ังก์ชนั STDEVA เลือก Formulas > More Functions >

STDEVA

รูปที่ 2.50 วธิ กี ารเรยี กใช้ฟังก์ชนั STDEVA

7.2 นา� ข้อมูลเขา้ โปรแกรม Excel

พ.ศ. จ�านวนนักเรียน (คน)

รูปที่ 2.51 การป้อนข้อมูลในโปรแกรม Excel

คูม่ อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 85

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

76 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5
7.3 เลือกช่องทจี่ ะแสดงผลลัพธ์ แล้วกดใชฟ้ งั ก์ชนั STDEVA

พ.ศ. จา� นวนนักเรียน (คน)

รปู ท่ี 2.52 การเลือกใชฟ้ งั กช์ ัน STDEVA

7.4 เลอื กขอบเขตข้อมลู ท่จี ะหาคา่

พ.ศ. จ�านวนนกั เรยี น (คน)

รูปที่ 2.53 การเลอื กขอบเขตขอ้ มูลทใ่ี ชฟ้ งั กช์ นั STDEVA

86 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 การวเิ คราะหข์ ้อมูลทางสถิติ 77 แหลง่ สบื ค้น

7.5 แสดงผลลพั ธ์ คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ การสาธติ ขน้ั ตอนการหาคา่ ความถส่ี ะสม

ด้วยโปรแกรม Excel ได้ทเ่ี ว็บไซต์ Youtube เรอ่ื ง การหาค่า
ความถ่ีสะสม Excel

พ.ศ. จา� นวนนกั เรียน (คน)

รูปท่ี 2.54 ผลลัพธท์ ่ีไดค่ า่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน

8. การหาค่าความถ่ีสะสม (FREQUENCY)
จากขอ้ มลู ตารางท่ี 2.14 จา� นวนนักเรยี นในแตล่ ะระดบั ช้นั ของโรงเรียนคา� นวณวทิ ยาในระยะ 5 ปี สามารถหา
ค่าความถส่ี ะสมได้ ดังน้ี

8.1 การหาคา่ ความถ่สี ะสมจากการใช้ฟงั ก์ชัน FREQUENCY เลอื ก Formulas > More Functions >

FREQUENCY

รูปที่ 2.55 วธิ ีการเรยี กใชฟ้ งั ชันก์ FREGUENCY

ค่มู ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 87

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

78 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5
8.2 น�าข้อมลู เข้าโปรแกรม Excel

พ.ศ.

รูปท่ี 2.56 การป้อนข้อมลู ในโปรแกรม Excel

8.3 ก�าหนดชว่ งช้ันท่ีต้องการหาความถ่ี

พ.ศ.

รปู ท่ี 2.57 การกา� หนดช่วงช้ันท่ตี อ้ งการหาความถี่

8.4 เลือกช่องทจี่ ะแสดงผลลพั ธ์ แลว้ กดใชฟ้ ังก์ชัน FREQUENCY

พ.ศ.

รูปท่ี 2.58 การเลอื กใช้ฟังกช์ ัน FREQUENCY

88 คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลทางสถติ ิ 79

8.5 เลอื กขอบเขตข้อมลู ทจี่ ะหาค่า

พ.ศ.

รปู ท่ี 2.59 การเลือกขอบเขตขอ้ มลู ท่ีใช้ฟังก์ชัน FREGUENCY

8.6 เลือกขอบเขตของช่วงชน้ั

พ.ศ.

รูปท่ี 2.60 การก�าหนดขอบเขตช่วงช้นั

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 89

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

80 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5
8.7 แสดงผลลพั ธ์คา่ ความถีส่ ะสม

พ.ศ.

รปู ท่ี 2.61 ผลลัพธท์ ีไ่ ด้ (ค่าความถ)่ี

การหาความถีจ่ ากความถ่ีสะสมเพ่อื หาค่าในแตล่ ะชว่ งช้ันมีกจี่ �านวน

พ.ศ.

รปู ท่ี 2.62 การหาความถ่ี

ผลลัพธข์ องความถใี่ นชว่ งชน้ั

พ.ศ.

รปู ที่ 2.63 แสดงผลลัพธข์ องความถ่ใี นช่วงชน้ั

90 ค่มู ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การวิเคราะหข์ ้อมลู ทางสถติ ิ 81 Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition
เฉลยกจิ กรรมในหน้า 96
L earning for 21st Century Skills
กิจกรรมตรวจสอบก�รเรียนรู้ที่ 2.3
1. แบง่ กลมุ่ นักเรยี น 4 - 5 กลมุ่
1. ขอ้ ความตอ่ ไปน้หี มายถงึ เคร่อื งหมายหรอื สญั ลกั ษณใ์ ด ก. ( ) 2. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ แลกเปลยี่ นกนั ตอบคำ� ถามออนไลน์
1.1 เคร่ืองหมายน�าหน้าสูตรหรือฟงั กช์ นั ข. /
1.2 ใชส้ า� หรบั คา� นวณกอ่ นตวั ดา� เนินการอนื่ ค. = ทที่ กุ กลุ่มได้สรา้ งขึน้ จนครบทุกกลุม่
1.3 สญั ลกั ษณ์แสดงการหาร
L earning for Metacognition
2. เขียนรูปแบบของฟังก์ชนั ตอ่ ไปนี้
2.1 หาผลรวม 1. ให้นกั เรียนใชส้ มุดองค์ความรเู้ ลม่ เดมิ ของตนเอง
2.2 หาคา่ เฉลีย่ 2. สรุปเปน็ องคค์ วามร้ทู ีไ่ ดร้ ับจากการสรา้ งแบบสอบถาม
2.3 หาคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน
2.4 หาคา่ มากทส่ี ดุ ออนไลน์ การตอบแบบสอบถามออนไลน์ แล้วบนั ทกึ
2.5 หาคา่ นอ้ ยทส่ี ุด ลงในสมดุ องคค์ วามรู้

คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 91


Click to View FlipBook Version