The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ส่วนหน้า เทคโนโลยี ม.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Krunutch ssn, 2019-08-24 22:48:33

M5

ส่วนหน้า เทคโนโลยี ม.5

หนังสอื เรยี น MAC 4.0

หนังสือเรียน MAC 4.0 จัดทำ�ข้ึนเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนรู้เพ่ือพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ที่กำ�หนดไว้
รวมทงั้ พฒั นานกั เรยี นใหม้ ที กั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี21 และสมรรถนะส�ำ คญั ตามทต่ี อ้ งการ ทง้ั ดา้ นการสอื่ สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การสรา้ งสรรค์ การใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร และทกั ษะชวี ติ โดยออกแบบหนว่ ยการเรยี นรใู้ หแ้ ตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรปู้ ระกอบดว้ ย9 องคป์ ระกอบส�ำ คญั

หนงั สอื เรยี น MAC 4.0 มีเครอื่ งมือสนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ส�ำ หรับครแู ละนกั เรียนที่สามารถเขา้ ถึงและใช้งานไดง้ ่ายบนเวบ็ ไซต์
MACeducation.com ซ่ึงแบง่ ออกเปน็ 2 สว่ นหลกั ดังน้ี

1. “สำ�หรับคร”ู ประกอบดว้ ย ค่มู อื ครู MACTIVE แผนการจดั การเรียนรู้ MAC PLC และการบา้ นและการทดสอบออนไลน์ ครสู ามารถ
เลือกใชง้ านในแตล่ ะสว่ นเพือ่ นำ�ไปจัดการเรยี นรูท้ ัง้ ในและนอกหอ้ งเรียนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และยังไดแ้ ลกเปล่ยี นเรียนรู้กับครูดว้ ยกัน
ซ่ึงจะทำ�ให้หนงั สอื เรยี น MAC 4.0 ใหม้ ากกว่าความรู้ แตร่ วมถงึ ประสบการณท์ ีม่ ีคณุ คา่

2. “สำ�หรับนักเรียนและผปู้ กครอง” ประกอบดว้ ย MAC SLC และการบา้ นและการทดสอบออนไลน์ นกั เรยี นและผู้ปกครองสามารถ
รว่ มเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ นอกเหนอื จากบทเรยี นไดอ้ ยา่ งสนกุ สนานไปกบั MAC 4.0 ทจ่ี ะชว่ ยท�ำ ใหโ้ ลกทง้ั ใบกลายเปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ ว้ ยเทคโนโลยี
เพ่อื การศึกษาอันทันสมัย

หMนงั AสCือเ4ร.ย�0น

MACeducation.com แหลง ความรนู ักเรียน

ครู และนผกั ูปเรกย� คนรอง

การบา นและคลงั ขอสอบออนไลน

MAC PLC MAC SLC

คูม อืMคAรCูแมTI็คVE4.0 แผนการจัดการเรยี นรู

MACeducation.com

ครู นกั เรียนและผปู้ กครอง

สว่ นประกอบ ส่วนประกอบ
“ส�ำ หรบั คร”ู “ส�ำ หรบั นกั เรยี นและผปู้ กครอง”

1. คมู่ อื ครแู มค็ 4.0 MACTIVE 1. MAC SLC (Student Learning
คมู่ อื ส�ำ หรบั ครใู ชใ้ นการจดั การเรยี นรตู้ ามแบบ Active Teaching Community)
4 ข้นั ตอน (4I) เพอ่ื ใหค้ รสู อนใหน้ อ้ ยลง (Teach Less) และ Active “แหลง่ ความร”ู้ คอื คลงั บทความและสอ่ื มลั ตมิ เี ดยี
Learning2 ขน้ั ตอน(2L) เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเรยี นรไู้ ดม้ ากขน้ึ (LearnMore) ที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ เสริมสร้างจินตนาการ
2. แผนการจัดการเรยี นรู้ และแรงบันดาลใจสำ�หรับนักเรียน นักเรียนสามารถ
แผนการจัดการเรียนการสอนสำ�หรับครูใช้เตรียมการจัดการ ค้นคว้าและเรียนรู้เพ่ิมเติมนอกเหนือจากบทเรียนได้
เรียนรู้ให้แก่นักเรียน โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบ อยา่ งอิสระ
Active Learning “iSMART Club” คอื คลบั ออนไลนส์ �ำ หรบั นกั เรยี น
3. MAC PLC (Professional Learning Community) ไดเ้ ขา้ มาแลกเปลยี่ นประสบการณแ์ ละเรยี นรรู้ ะหวา่ งกนั
แบ่งเปน็ 2 สว่ น ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างทักษะสำ�คัญแห่งศตวรรษที่ 21
“แหลง่ ความร”ู้ คอื คลงั บทความและสอื่ มลั ตมิ เี ดยี เพอ่ื การจดั การ โดยเฉพาะการใช้ชีวิตในสังคมร่วมกับผู้อื่นท่ีมีความ
เรยี นรคู้ รอบคลุมทกุ กลมุ่ สาระฯ ครสู ามารถเข้าไปเลือกชมและน�ำ ไป แตกตา่ ง
ใช้สนบั สนนุ การจัดการเรียนรูไ้ ดต้ ลอดเวลา 2. การบ้านและการทดสอบออนไลน์
“หอ้ งพกั คร”ู คือ ชมุ ชนออนไลน์สำ�หรบั แลกเปลยี่ นประสบการณ์ MAC Level+ (แม็ค เลเวลอัพ) คอื แอปพลเิ คชนั
และเรยี นรรู้ ะหวา่ งครดู ว้ ยกนั ครสู ามารถน�ำ ความรู้ เทคนคิ วธิ กี ารสอน การบา้ นและการทดสอบออนไลนท์ คี่ รเู ปน็ ผมู้ อบหมาย
และการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระฯ ท่ีตนเองอยู่มาแลกเปล่ียนและ การบ้านและข้อสอบให้แก่นักเรียน เม่ือนักเรียนทำ�
เรยี นรู้กันได้ การบา้ นหรือขอ้ สอบเสร็จจะทราบผลไดใ้ นทนั ที
4. การบา้ นและการทดสอบออนไลน์
MAC Level+ (แม็ค เลเวลอัพ) คือ แอปพลเิ คชันการบา้ นและ
การทดสอบออนไลน์ท่ีครูสามารถเลือกและมอบหมายการบ้าน
และข้อสอบให้แก่นักเรียน โดยครูสามารถเลือกแบบฝึกหัดเพ่ือเป็น
การบา้ น เลอื กขอ้ สอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นหรอื ขอ้ สอบแนวO-NET
เพื่อเปน็ แบบทดสอบยอ่ ยระหว่างเรียน หรือแบบทดสอบระหว่างภาค
และปลายภาคได้ เมื่อนักเรียนเข้ามาทำ�การบ้านและแบบทดสอบ
ออนไลน์ทไ่ี ด้รับมอบหมาย นักเรียนจะทราบผลทนั ทเี มือ่ ทำ�เสรจ็

หนังสอื เรยี น MAC 4.0

ACTIVE BOOK, ACTIVE TEACHING, ACTIVE LEARNING

การนำ�เสนอเนือ้ หาแตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้

1. บทนำ� (Introduction) 6. กจิ กรรมบรู ณาการ / กจิ กรรมสะเตม็ ศกึ ษา
ภาพรวมของเนอ้ื หาในหนว่ ยการเรยี นรดู้ ว้ ยภาพ (Integrated Activities/STEM Activities)
หรือสถานการณ์ หรือคำ�ถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียน 6.1 กจิ กรรมบูรณาการ
สนใจอยากเรยี นรเู้ นื้อหาในหนว่ ยการเรียนร้นู ้นั ๆ กิจกรรมหรือโครงงานท่ีบูรณาการการเรียนรู้
2. แนวคดิ สำ�คัญ (Key Idea) ท่ีหลากหลายเข้าไว้ด้วยกัน โดยวัตถุประสงค์หลัก
เนื้อหาสำ�คัญในแต่ละเร่ืองหรือหัวข้อเพ่ือให้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยตัวเอง
ผเู้ รยี นจดจ�ำ หรอื เขา้ ใจอยา่ งลกึ ซง้ึ จนเกดิ ชน้ิ งานหรอื นวตั กรรม (กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
3. MAC iLink / SnapLearn สงั คมศกึ ษาฯ)
(Multimedia & AR) 6.2 กจิ กรรมสะเต็มศกึ ษา (STEM)
3.1 MAC iLink กิจกรรมที่บูรณาการความรู้และทักษะ 4 สาขา
เนอื้ หาเสรมิ จากบทเรยี นในรปู แบบของมลั ตมิ เี ดยี วชิ าหลกั คอื วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์
ผ่านการสแกน QR Code โดยใช้สมาร์ตโฟน หรือ และคณิตศาสตร์ เพื่อนำ�ความรู้เหล่านั้นไปใช้
ผา่ นเว็บไซต์ MACeducation.com เพื่อใหผ้ ้เู รยี น แก้ปัญหาและสร้างสรรค์ช้ินงานที่เป็นประโยชน์
เข้าใจเนือ้ หาในเรื่องน้ันๆ มากย่งิ ขน้ึ ในชีวิตจริงและพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
3.2 SnapLearn (กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์)
เนื้อหาเสริมจากบทเรียนในรูปแบบมัลติมีเดีย 6.3 กิจกรรมเพ่ือส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์
และ 3D Models ผ่าน AR Technology กจิ กรรมทบ่ี รู ณาการความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
บนแอปพลิเคชัน SnapLearn ในสมาร์ตโฟน ความรูใ้ นกลมุ่ สาระการเรียนรูอ้ ่นื ๆ โดยน�ำ มาสร้าง
เพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจเน้ือหาในเร่ืองน้ันๆ มากย่ิงขึ้น ผลงานที่มีคุณภาพและความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
(เฉพาะกลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์) เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละพฒั นาทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี21
(กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร)์
4. กจิ กรรมตรวจสอบการเรยี นรู้ 7. สรุปองค์ความรู้
(Recheck & Review) (Conclusion of Knowledge)
กิจกรรมที่มีความหลากหลายซึ่งออกแบบมา การสรุปองค์ความรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
ความเข้าใจเนื้อหาในแตล่ ะเร่ืองของผเู้ รยี น ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยการสรุปเน้ือหา 3 ดา้ น คอื
• ด้านความรู้ (Knowledge)
5. กจิ กรรมตามธรรมชาติวิชา • ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (Process)
(Activity Based-Learning) • ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attribute)
กจิ กรรมทใี่ หผ้ เู้ รยี นไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหเ้ กดิ ทกั ษะ 8. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ
ในวิชานนั้ ๆ (Achievement Test)
ค�ำ ถามทเี่ นน้ ทกั ษะกระบวนการคดิ เพอื่ ตรวจสอบ
ความรรู้ วบยอดของผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ไปตามแนวคดิ หลกั
ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
9. อภธิ านศัพท์ (Glossary)
ค�ำ ส�ำ คญั ค�ำ ยาก หรอื ค�ำ คน้ ทส่ี มั พนั ธก์ บั เนอื้ หา
ในหน่วยการเรยี นรูต้ ่างๆ ในหนังสอื เรยี น MAC 4.0
โดยจะมกี ารอธบิ ายความหมายหรอื ใหค้ �ำ จ�ำ กดั ความ

MAC iLink

MAC iLink เป็นเนื้อหาเพ่มิ เติมนอกเหนือจากหนงั สือเรียน MAC 4.0 เพ่ือให้ครแู ละผูเ้ รียนทมี่ ีความสนใจทีจ่ ะศึกษาคน้ คว้า
เพมิ่ เตมิ หาข้อมูลได้จากฐานขอ้ มลู ท่ีบรษิ ัทได้จัดท�ำ ขนึ้ โดยผา่ น 2 ชอ่ งทาง ดงั นี้

1 ใช้สมาร์ตโฟนสแกน QR code จากหนา้ หนังสอื ทีม่ ีสัญลกั ษณ์ MAC iLink

2 เปิดเว็บไซต์ MACeducation.com เพ่ือเข้าเมนู การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน MAC iLink และเลือกเปิดดูส่วนเสริม
ของบทเรียนในหนังสือแต่ละเลม่ ได้

ท้งั นี้เนอ้ื หาเสรมิ เพม่ิ เตมิ นำ�เสนอหลายรูปแบบ เชน่ แอนิเมชัน วดิ โี อ เสียง ภาพ และข้อความ

12

MACeducation.com

DIGITAL CONTENT DIGITAL CONTENT

SnapLearn

1. ดาวน์โหลดแอปพลิเคชนั SnapLearn ได้ฟรีท่ี Google Play Store ส�ำ หรับ Android หรือ

App Store ส�ำ หรับ IOS

2. เปดิ ใช้งานแอปพลิเคชนั SnapLearn ค้นหาหนังสอื เรยี น MAC โดย

2.1 การกดปมุ่ เพือ่ สแกนบารโ์ ค้ด หรอื QR Code

2.2 เขา้ ไปท่ี Bookstore แลว้ กรอกชอื่ หนังสือเรียน MAC ลงในชอ่ งค้นหาดา้ นบน

3. กดดาวน์โหลดหนงั สือเรยี น MAC เล่มทตี่ ้องการมาไว้ใน Bookshelf

4. กดเข้าไปในหนงั สือเรียน MAC บน Bookshelf แลว้ ทำ�การสแกนหน้าหนังสือเรยี น MAC ที่มีสญั ลักษณ์

เพื่อเขา้ ส่โู ลกเสมือนจริงหรอื มัลตมิ ีเดยี

1 ดาวน์โหลดแอปพลิเคชนั SnapLearn 2 เปดิ ใช้งานแอปพลเิ คชนั SnapLearn
2.1 กดปมุ่ ตรงกลาง เพอ่ื สแกนบาร์โคด้ หรอื QR Code

(Google Play) (App Store) หรอื

2.2 กรอกชื่อหนงั สอื เรียนลงในชอ่ งค้นหา
Search in SnapLearn

3 กดดาวน์โหลดหนงั สอื เรียน MAC 4 สแกนหน้าหนงั สือเรยี น MAC

18 วิทยาศาสตร์ ม.2
ทบ่ี รเิ วณทอ่ ของหนว่ ยไตจะมกี ารดดู ซมึ สารทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ รา่ งกาย เชน่ แรธ่ าต ุ นา้ำ ตาลกลโู คส
กรดอะมิโน รวมท้ังนำ้ากลับคืนสู่หลอดเลือดฝอยและเข้าสู่หลอดเลือดดำา ส่วนของเสียอื่น ๆ ท่ีเหลือ
ก็คือปัสสาวะจะถูกสง่ มาตามทอ่ ไตเข้าสู่กระเพาะปสั สาวะ ซึ่งมคี วามจปุ ระมาณ 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร
แตก่ ระเพาะปสั สาวะสามารถทจ่ี ะหดตวั ขบั ปสั สาวะออกมาได ้ เมอ่ื มปี สั สาวะมาขงั อยปู่ ระมาณ 250ลกู บาศก์
เซนติเมตร ซ่ึงในวนั หนึ่ง ๆ ร่างกายจะขับปสั สาวะออกมาประมาณ 1-1.5 ลิตร

เวนา คาวา ไต กรวยไต เมดลั ลา
คอร์เทกซ ์
หลอดเลอื ดรนี ลั อารเ์ ตอเอรแีอลอะรเ์ตวาน
ทอ่ ไต คอร์เทกซ ์
กระเพาะปสั สาวะ ทอ่ ไต

ท่อปัสสาวะ โกลเมอรลู สั
ท่อขดส่วนต้น
โบว์แมนส์แคปซูล

หลอดเลือดฝอย

ทอ่ ขดสว่ นปลาย

ห่วงเฮนเล ท่อรวม ทอ่ รวม
เมดลั ลา

ไปกรวยไต

รปู ที่ 1.8 ระบบการทำางานของไตและอวยั วะทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
- เวนา คาวา (vena cava) หลอดเลอื ดดาำ ใหญท่ ล่ี าำ เลยี งเลอื ดจากรา่ งกายเขา้ สหู่ วั ใจโดยตรง
- รนี ลั อารเ์ ตอรี (renal artery) หลอดเลือดแดงที่แตกแขนงออกจากเอออร์ตาเพอ่ื ไปยังไต
- รีนลั เวน (renal vein) หลอดเลอื ดดาำ ท่นี าำ เลือดออกจากไตไปยงั หัวใจ
- เอออร์ตา (aorta) หลอดเลือดแดงใหญ่ที่นำาเลือดจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปหล่อเลี้ยง
รา่ งกาย

ตรวจสอบรายการหนังสือเรยี น MAC กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ทใี่ ชแ้ อปพลเิ คชนั SnapLearn ได้ที่ www.MACeducation.com

หน้าตัวอย่างการใช้งาน SnapLearn

จากตวั อย่างหนังสอื เรยี น รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2

18 วทิ ยาศาสตร์ ม.2

ทบี่ รเิ วณทอ่ ของหนว่ ยไตจะมกี ารดดู ซมึ สารทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ รา่ งกาย เชน่ แรธ่ าต ุ นาำ้ ตาลกลโู คส
กรดอะมิโน รวมท้ังน้ำากลับคืนสู่หลอดเลือดฝอยและเข้าสู่หลอดเลือดดำา ส่วนของเสียอื่น ๆ ท่ีเหลือ
กค็ ือปัสสาวะจะถูกส่งมาตามท่อไตเข้าสูก่ ระเพาะปัสสาวะ ซงึ่ มคี วามจุประมาณ 500 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร
แตก่ ระเพาะปสั สาวะสามารถทจ่ี ะหดตวั ขบั ปสั สาวะออกมาได ้ เมอ่ื มปี สั สาวะมาขงั อยปู่ ระมาณ 250ลกู บาศก์
เซนตเิ มตร ซึง่ ในวันหนึง่ ๆ ร่างกายจะขับปัสสาวะออกมาประมาณ 1-1.5 ลติ ร

เวนา คาวา ไต กรวยไต เมดลั ลา
คอรเ์ ทกซ์
หลอดเลอื ดรนี ลั อารเ์ ตอรแี ละเวน
เอออรต์ า คอรเ์ ทกซ ์
ทอ่ ไต
กระเพาะปัสสาวะ ทอ่ ไต

ทอ่ ปสั สาวะ โกลเมอรลู สั
ท่อขดส่วนต้น
โบวแ์ มนสแ์ คปซลู

หลอดเลือดฝอย

ท่อขดสว่ นปลาย

ห่วงเฮนเล ทอ่ รวม ทอ่ รวม
เมดัลลา

ไปกรวยไต

รา่ งกายขบั ปัสสาวะได้อยา่ งไร

รปู ท่ี 1.8 ระบบการทำางานของไตและอวยั วะทเี่ ก่ียวข้อง

- เวนา คาวา (vena cava) หลอดเลอื ดดาำ ใหญท่ ลี่ าำ เลยี งเลอื ดจากรา่ งกายเขา้ สหู่ วั ใจโดยตรง
- รีนลั อาร์เตอร ี (renal artery) หลอดเลอื ดแดงทแ่ี ตกแขนงออกจากเอออร์ตาเพื่อไปยังไต
- รีนลั เวน (renal vein) หลอดเลอื ดดาำ ทีน่ าำ เลือดออกจากไตไปยงั หวั ใจ
- เอออร์ตา (aorta) หลอดเลือดแดงใหญ่ที่นำาเลือดจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปหล่อเล้ียง
รา่ งกาย

คมู่ ือครแู มค็ 4.0 คูม่ ือครแู มค็ 4.0 MACTIVE จดั ท�ำ ข้ึนเพอ่ื เป็นแนวทางให้ผ้สู อนทีใ่ ชห้ นังสือเรียน MAC 4.0 ไดน้ �ำ ไปจัดการเรียนการสอน
ในช้นั เรยี นอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและสะดวกมากยงิ่ ข้ึน โดยออกแบบการจัดการเรยี นรู้ตามแนวคิด 4I 2L

Introduction Indesign Innovation ICT Introduction Indesign Innovation ICT

ส่วนเนือ้ หาหลกั Learning for 21st Learning for Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition Century Skills Metacognition
  ใช้หลักการเรียนรู้  Active Teaching (4I)  และ 
Active Learning (2L) เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอนจัด หนา้ หนังสอื เรยี น 2   กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่มีทุกเนื้อหาหลัก
การเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพและสะดวกมากขึ้นโดยมี
แนวคิดสา� คญั ดังนี้ จะน�าเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
หลกั การเรยี นรู้ 2L คอื
1   เน้ือหาหลักในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะน�าเสนอ
2L L earning for 21st Century Skills
แนวทางการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชห้ ลกั การเรยี นรโู้ ดยใชห้ ลกั การ (กิจกรรมทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21)
เรียนร ู้ 4I ที่ประกอบดว้ ย 4 ขนั้ ตอน คือ หน้าหนงั สอื เรยี น
การสอดแทรกกิจกรรมหรือแนวทางการฝึกทักษะแห่ง
I ntroduction ศตวรรษท่ี  21  ที่เป็นทักษะที่สอดคล้องกับหัวข้อใน
(นำ� เข้ำสบู่ ทเรยี น) หน่วยการเรียนรู้

การน�าเสนอแนวทางการเตรียมผู้เรียนเข้าสู่บทเรียน L earning for Metacognition
เ พื่ อ ก ร ะ ตุ ้ น ใ ห ้ ผู ้ เ รี ย น มี ค ว า ม พ ร ้ อ ม ก ่ อ น เ รี ย น แ ล ะ (สะท้อนควำมคดิ จำกกจิ กรรม)
ช่วยเพม่ิ ประสิทธภิ าพการเรียนรใู้ ห้มากขึ้น
จุดเน้นส�าคัญท่ีมุ่งให้ผู้สอนได้เช่ือมโยงความรู้ทุกครั้ง
I ndesign ทม่ี โี อกาส เพอื่ ฝึกทักษะการคิดขนั้ สูงใหแ้ ก่ผเู้ รยี น
(ออกแบบกำรเรียนร)ู้
4I
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้
แบบกระตือรือร้นต่นื ตัวโดยใหผ้ เู้ รียนมสี ่วนร่วมสงู สุด

I nื novation
(เสนอแนะภำระงำน/นวตั กรรม)

การเสนอกิจกรรมท่ีฝึกการคิดสร้างสรรค์เพ่ือน�าไปสู่
การสร้างสรรค์ส่ิงประดิษฐ์หรือวิธีการใหม่ ๆ  เพื่อเข้าสู่ 
Thailand 4.0

I CT
(สู่กำรใช้ ICT)

การสอดแทรกเน้ือหาหรือวิธีการใช้เคร่ืองมือสารสนเทศ 
เพอ่ื การสบื คน้ ความร ู้ การนา� เสนอผลงาน หรอื การพฒั นางาน

ส่วนเพิม่ เติม ควำมรู้เพ่มิ เตมิ แหลง่ สบื คน้ เ น้ื อ ห า เ พ่ิ ม เ ติ ม น อ ก เ ห นื อ เฉลย
ในบทเรียน  เพ่ือให้ผู้เรียน
  เพื่อช่วยลดภาระและสะดวกต่อการจัดกิจกรรมส�าหรับผู้สอน  เกรด็ ความรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาสา� หรบั ผสู้ อนใชใ้ นการสอน รวมทง้ั วธิ ลี ดั  เทคนคิ  หรอื สตู รตา่ งๆ ทอ่ี ยู่เว็บไซต ์ (URL) ในอนิ เทอรเ์ น็ตท่ใี ชค้ ้นหาความรู้เพิ่มเติมจากเน้อื หา เข้าใจเนื้อหานั้นๆ  มากยิ่งขึ้น  สว่ นทเ่ี ฉลยกจิ กรรมตรวจสอบการเรยี นรู้
ได้เพ่ิมเติมสว่ นสา� คญั ดงั นี้ ใ น รู ป แ บ บ ข อ ง มั ล ติ มี เ ดี ย  กิจกรรมตามธรรมชาติวิชา  และแบบ
ขอ้ สอบแนว O-NET โดยใช้สมาร์ตโฟนสแกน  QR  code  หรือ ทดสอบวดั ลผลสัมฤทธิ์
เปิดใชเ้ ว็บไซต ์ MACiSMART.com
ศัพทน์ ่ำรู้ (ระดับประถมศึกษำ) กจิ กรรมเสนอแนะ การเกง็ ขอ้ สอบ O-NET ท่จี ะออก โดยสอดคล้องกบั บทเรียน

การแปลค�าศัพท์ท่ีปรากฏในบทเรียนภาษาอังกฤษเพื่อให้ กิจกรรมส�าหรับผู้เรียนได้พัฒนาเพ่ิมเติมในด้านต่าง ๆ  นอกเหนือจากที่ได้จัดการเรียน
ผเู้ รียนค้นุ เคยกบั ค�าศัพท์ภาษาองั กฤษ การสอนแล้วในช่ัวโมงเรียนและกจิ กรรมสา� หรบั ฝกึ ทกั ษะเพิ่มเตมิ

สารบญั 1

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 ข้อมลู และสารสนเทศ 5
8
(ว 4.2 ม.5/1) 19
30
1. ขอ้ มลู 32
2. การเลือกใช้แหล่งข้อมลู 38
3. การเกบ็ ขอ้ มูลและการจดั เตรยี มขอ้ มลู 46
4. การประมวลผลขอ้ มูลและเครื่องมือ
5. สารสนเทศ 49
ค�ำถามท้ายหน่วยการเรยี นรู้ 51
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวเิ คราะหข์ ้อมูลทางสถิต ิ 63
94
(ว 4.2 ม.5/1) 98

1. สถิต ิ 101
2. ระเบยี บวิธีทางสถติ ิ 103
3. การวเิ คราะห์ข้อมูลตวั อย่างด้วยโปรแกรมตารางค�ำนวณ 112
ค�ำถามท้ายหน่วยการเรียนร ู้ 116
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 การเพ่ิมมูลคา่ ของผลิตภัณฑ์
119
(ว 4.2 ม.5/1) 123
143
1. ผลติ ภัณฑ์
2. การเพ่ิมมูลค่า
ค�ำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ปัญหามที างแก้

(ว 4.2 ม.5/1)

1. ปญั หา
2. กรณศี ึกษา
ค�ำถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนร ู้

1หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่

ขอ้ มูลและสารสนเทศ

สาระการเรียนรู้ ข้อมลู สมรรถนะสำ�คญั /
ดา้ นความรู้ และ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21
1. ข้อมลู สารสนเทศ สมรรถนะส�ำคญั
2. การเลอื กใชแ้ หล่งขอ้ มูล 1. ความสามารถในการส่อื สาร
3. การเก็บขอ้ มลู และการจดั เตรยี มขอ้ มูล 2. ความสามารถในการคิด
4. การประมวลผลข้อมูลและเคร่อื งมอื 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
5. สารสนเทศ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
ด้านทกั ษะและกระบวนการ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
1. การสังเกต ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21
2. การค�ำนวณ 1. การคดิ แบบมวี ิจารณญาณ
3. การจ�ำแนกประเภท 2. การส่ือสาร
4. การจัดกระทำ� และส่ือความหมายขอ้ มูล 3. การแก้ปัญหา
5. การทดลอง 4. การท�ำงานร่วมกนั
6. การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป 5. การสร้างสรรค์
ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 6. ความเข้าใจและใชเ้ ปน็ ในดา้ นเทคโนโลยี
1. ซอื่ สัตย์สจุ รติ สารสนเทศและการสือ่ สาร
2. ใฝ่เรยี นรู้ 7. การมีผลงานและความรับผดิ ชอบ
3. มงุ่ มัน่ ในการเรยี น

ภาระงาน/ชน้ิ งานส�ำ คัญ
1. ใบงาน
2. ช้ินงานแผนภาพความคิดแบบใยแมงมมุ
3. กจิ กรรมตรวจสอบการเรียนรู้
4. ชิ้นงานป้ายนเิ ทศน�ำเสนอแบบสอบถาม
5. ช้นิ งาน สมุดองค์ความรู้
6. ชนิ้ งานป้ายนิเทศ องค์ประกอบสารสนเทศ
7. กิจกรรมเพือ่ ส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์
8. คำ� ถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้



Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

ขอ้ มลู และสารสนเทศ 1หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี

สาระการเรยี นรู้

1 ขอ้ มูล
2 การเลือกใช้แหล่งขอ้ มลู
3 การเกบ็ ขอ้ มลู และการจดั เตรยี มขอ้ มลู
4 การประมวลผลข้อมลู และเคร่ืองมือ
5 สารสนเทศ

ตวั ชี้วัดช้ันปี

รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมลู และใชค้ วามร้ดู ้านวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ สอ่ื ดจิ ทิ ัล เทคโนโลยสี ารสนเทศในการแก้ปญั หา หรือเพิ่มมลู ค่าใหก้ บั บริการ
หรือผลิตภณั ฑ์ทีใ่ ช้ในชวี ติ จรงิ อย่างสรา้ งสรรค์ (ว 4.2 ม.5/1)

คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5 3

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

เฉลย 2 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5

การใหไ้ ดม้ าซง่ึ ขอ้ มลู จะตอ้ งมกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แลว้ นำ� มา
ประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ

การทาำ ใหไ้ ด้มาซ่งึ ขอ้ มูลเพอื่ นำามาวิเคราะหใ์ ห้
เกดิ เป็นสารสนเทศนนั้ สามารถทำาไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง
แล้วกว่าจะได้มาซึง่ สารสนเทศนน้ั มีขั้นตอนการ
ดำาเนินการอย่างไร

4 คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ขอ้ มูลและสารสนเทศ 3 I ntroduction

1. ข้อมูล 1. ครูใหน้ กั เรยี นท�ำแบบทดสอบกอ่ นเรียน (ประมาณ 10
นาท)ี
แนวคิดส�ำ คัญ ขอ้ มลู หมายถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื เหตกุ ารณท์ เี่ กย่ี วขอ้ ง
กับสง่ิ ตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งของคน สตั ว์ สงิ่ ของ สถานที่ 2. ครนู ำ� เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการใหน้ กั เรยี นแสดงความคดิ เหน็
ข้อมูลคือข้อเท็จจริงท่ีเราสนใจ ไม่ว่าจะเป็น โดยอยู่ในรูปแบบท่เี หมาะสมตอ่ การสอื่ สาร สื่อความหมาย เก่ียวกับค�ำว่าขอ้ มลู ในความคดิ ของนกั เรียน
เร่อื งของคน สตั ว์ สงิ่ ของ หรือเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในรปู ของข้อความ ตวั เลข สัญลกั ษณพ์ เิ ศษ หรอื รายละเอยี ด
ในรปู อน่ื ๆ ท่ีสมั ผสั ได้ เชน่ รปู ภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว เสยี ง 3. ครสู มุ่ เลอื กนกั เรยี นออกมาแสดงความคดิ เหน็ 2-3 คน
ภาพยนตร์ วีดิทศั น์ ซง่ึ สามารถบนั ทึกไดอ้ ย่างต่อเนื่อง เป็น หากนกั เรยี นไมส่ ามารถแสดงความคดิ เหน็ ไดต้ รงประเดน็
ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาหนงึ่ เชน่ ขอ้ มลู ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากหนังสือหรือ
นกั เรยี นในโรงเรยี น ขอ้ มลู การจาำ หนา่ ยสนิ ค้าตลอดปี ข้อมลู อนิ เทอร์เนต็
พนักงานทีท่ าำ งานในบริษทั ในขณะนน้ั
ค�ำถาม :
ขอ้ มลู ทดี่ ีจะต้องมคี ณุ สมบตั ิพนื้ ฐาน ดงั น้ี - ข้อมลู หมายถึงอะไร (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของ
1. มีความถูกตอ้ ง เพราะข้อมลู ท่ีไดต้ ้องนำามาใชใ้ นการตดั สินใจ หากข้อมูลไม่มคี วามถูกต้องแลว้ ก็จะก่อให้
เกดิ ผลเสียหายตามมา ตนเองเพ่ือครูผสู้ อนน�ำเขา้ สบู่ ทเรียน)
2. มคี วามเป็นปัจจุบัน เพื่อใหต้ รงกับความต้องการของผใู้ ช้และสามารถทจี่ ะตอบสนองผ้ใู ชไ้ ด้รวดเรว็ ทีส่ ดุ - เราแบ่งประเภทข้อมูลกันแบบใด (นักเรียนตอบตาม
3. มคี วามสมบรู ณช์ ดั เจน ในบางครง้ั กต็ อ้ งมกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มากกวา่ หนงึ่ ครงั้ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทสี่ มบรู ณ์
จริง ๆ และเพือ่ การสำารวจอยา่ งทว่ั ถึง ความเขา้ ใจของตนเองเพ่อื ครูผู้สอนน�ำเข้าสบู่ ทเรียน)
4. มคี วามเทยี่ งตรงสามารถเชอื่ ถอื ได้ กรรมวธิ ใี นการไดม้ าซง่ึ ขอ้ มลู จะตอ้ งคาำ นงึ ถงึ ความแมน่ ยาำ เปน็ หลกั - หนว่ ยของขอ้ มลู มอี ะไรบา้ ง (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ
เพื่อขอ้ มลู มคี วามเทย่ี งตรงมากท่ีสุดเทา่ ท่ีจะเป็นไปได้
5. สามารถตรวจสอบได้ ขอ้ มลู นนั้ จะต้องมแี หลง่ ท่ีมาและท่ไี ป มหี ลกั ฐานอ้างอิงได้ ของตนเองเพ่ือครผู ูส้ อนน�ำเข้าสบู่ ทเรียน)
ขอ้ มลู แบ่งไดห้ ลายประเภทข้ึนอยู่กับเกณฑ์ทใี่ ชใ้ นการแบง่ ถ้าแบง่ ตามแหลง่ ทมี่ าของข้อมลู เป็นเกณฑจ์ ะแบ่ง - ชนดิ ของขอ้ มลู เปน็ แบบใด (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ
ออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1. ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ (Primary Data) หมายถงึ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการเกบ็ รวบรวมหรอื บนั ทกึ จากแหลง่ ขอ้ มลู โดยตรง ของตนเองเพื่อครูผู้สอนนำ� เขา้ สบู่ ทเรียน)
ซงึ่ อาจจะไดจ้ ากการสอบถาม การสมั ภาษณ์ การสาำ รวจ การจดบนั ทกึ การสงั เกตการณห์ รอื ใหต้ อบแบบสอบถาม ตลอด - ข้อมูลจะสามารถน�ำมาท�ำเป็นสารสนเทศได้อย่างไร
จนการจัดหามาดว้ ยเครื่องจกั รอตั โนมตั ติ ่าง ๆ ท่ีดำาเนินการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ได้ เช่น เครอ่ื งอ่านรหสั แทง่ เคร่อื งอา่ นแถบ
แม่เหล็ก ข้อมลู จากการสมั ภาษณ์ ข้อมูลจากการสงั เกต ขอ้ มูลจากการทดลอง ข้อมูลการรบั นักเรียนแต่ละปกี ารศกึ ษา (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเองเพ่ือครูผู้สอน
ข้อมูลปฐมภูมิจึงเป็นข้อมูลพ้ืนฐานท่ีได้มาจากจุดกำาเนิดของข้อมูลน้ันๆ เป็นข้อมูลที่มีรายละเอียดตามที่ผู้ใช้ต้องการ น�ำเขา้ ส่บู ทเรยี น)
แต่ตอ้ งเสียเวลาและค่าใชจ้ า่ ยมาก และข้อมูลท่ีได้ยังเปน็ ขอ้ มูลดบิ (Raw Data) ซ่งึ เปน็ ข้อมูลท่ียังไม่ได้วเิ คราะห์ คำ� ส�ำคญั :
2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อ่ืนรวบรวมไว้ให้แล้วอย่างเป็นระบบ บางคร้ัง - ข้อมลู ปฐมภูมิ (Primary Data)
อาจจะมีการประมวลผลเพ่ือเป็นสารสนเทศ ผู้ใช้ข้อมูลไม่จำาเป็นต้องลงมือเก็บรวบรวมและสำารวจเอง เช่น ข้อมูลสถิติ - ข้อมูลทุตยิ ภูมิ (Secondary Data)
จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชน สถิตจิ าำ นวนประชากรแตล่ ะจงั หวดั สถติ กิ ารส่งสินคา้ ออก สถิตกิ ารนำาสนิ คา้ - หนว่ ยข้อมลู
เขา้ ข้อมูลเหลา่ นี้มีการตีพิมพเ์ ผยแพรเ่ พ่อื ใหใ้ ชง้ านได้ หรือนำาเอาไปประมวลผลตอ่ ได้ทนั ที จึงประหยัดเวลาและค่าใช้ - ชนดิ ขอ้ มูล
จ่าย แตใ่ นบางครั้งข้อมูลทตุ ยิ ภมู จิ ะไม่ตรงกบั ความต้องการหรือมรี ายละเอยี ดไม่พอ นอกจากน้ันผู้ใช้จะไมท่ ราบถงึ ขอ้ - ประมวลผลข้อมูล (Process)
ผิดพลาดของข้อมูล ซง่ึ อาจจะทำาใหผ้ ูท้ ่ีนาำ มาใช้สรุปผลผดิ พลาดไปด้วย ผทู้ น่ี าำ ขอ้ มูลทตุ ิยภมู ิมาใชค้ วรจะต้องระมดั ระวัง - สารสนเทศ (Information)
เป็นอยา่ งยง่ิ
I ndesign
I nnovation
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับ
ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันวิเคราะห์ความรู้สรุปเป็น เรื่องข้อมลู ประเภทของข้อมลู หนว่ ยข้อมลู ชนดิ ข้อมลู
ความคดิ รวบยอด บนั ทกึ ลงในแผนภาพความคดิ แบบใยแมงมมุ จากบทเรยี นหน้า 3-5
เร่อื งข้อมลู แลว้ น�ำไปตดิ บอร์ดในหอ้ งเรียน
2. ครอู ภปิ รายเกยี่ วกบั เรอื่ งขอ้ มลู ประเภทของขอ้ มลู หนว่ ย
I CT ขอ้ มลู ชนดิ ข้อมลู

ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการประมวลผลสารสนเทศ 3. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มละ 4-6 คน และ
โดยใช้ search engine ให้นักเรยี นแบ่งหน้าทเี่ พอื่ ท�ำการสบื ค้นคำ� วา่ ประมวล
ผลขอ้ มูลและสารสนเทศ เพิ่มเตมิ จาก Search engine

4. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ผลการศกึ ษาเกย่ี วกบั ขอ้ มลู
ประเภทของข้อมลู หนว่ ยขอ้ มูล ชนิดข้อมลู ประมวลผล
ข้อมูล และสารสนเทศ

คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

กจิ กรรมเสนอแนะ 4 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5

1. ครทู �ำบตั รค�ำศัพท์ Bit Character Field Record File หน่วยข้อมลู

Database โครงสร้างของการจัดขอ้ มูล การเกบ็ ข้อมูลในคอมพวิ เตอรม์ ลี ักษณะการเรยี งหน่วยขอ้ มูลตามลำาดบั จากหน่วย
ทเี่ ลก็ ท่ีสุดไปหาหนว่ ยที่ใหญ่ทีส่ ดุ ได้ดังนี้
2. ครเู รยี กนกั เรยี นทลี ะคนตามเลขทอี่ อกมาจบั บตั รคำ� ศพั ท์
1 ใบ ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก
1. บติ (Bit)
3. ครใู หน้ กั เรยี นอธบิ ายวา่ จบั ไดค้ ำ� ศพั ทใ์ ด และเลอื กถาม
คำ� ถาม 1 ค�ำถาม กับนกั เรียนดงั นี้ 2. ตัวอักขระ (Character)
3. เขตขอ้ มูล (Field)
คำ� ถาม :
- คำ� นัน้ มลี กั ษณะขอ้ มลู เปน็ อยา่ งไร 4. ระเบียนขอ้ มูล (Record)
- ค�ำน้ันอยู่ในต�ำแหน่งที่เท่าไรในโครงสร้างของขอ้ มูล 5. แฟ้มข้อมลู (File)
- ยกตัวอย่างลักษณะขอ้ มูลของคำ� น้นั 2 ขอ้ มูล
6. ฐานขอ้ มลู (Database)

1. บติ (Bit) ยอ่ มาจาก คำาวา่ Binary Digit คอื หนว่ ยข้อมลู ทเ่ี ล็กทสี่ ดุ ท่ีอยู่ในรปู เลขฐานสอง 1 หลกั ซึง่ มีค่า
เป็น 0 หรือ 1

2. ตวั อกั ขระ (Character) คอื ตวั อกั ษร ตวั เลข สญั ลกั ษณต์ า่ งๆ แตล่ ะตวั จะเทา่ กบั 1 อกั ขระ เชน่ COM#15%43
ประกอบด้วย ตัวอักษร 3 ตัว คอื C, O, M ตัวเลข 4 ตวั คอื 1, 5, 4, 3 และสญั ลักษณ์ 2 ตัว คือ #, % รวมท้ังหมดมี 9
อักขระ และ 1 อักขระจะมคี า่ เทา่ กบั 1 ไบต์ (Byte)

ไบต์ (Byte) คือ กลุม่ ของบิต ซึ่งใชแ้ ทนคา่ เปน็ อักษรได้
ถา้ เขา้ รหัสด้วย ASCII 8 บติ (มีค่า 1 ไบต)์ แทน 1 อกั ษร เชน่
ตัวอยา่ ง รหัสแทนขอ้ มูล คอื 0100 0001 มคี ่าเทา่ กับ 1 ไบต์ แทนอักษร “A”
รหัสแทนข้อมูล คือ 0011 0001 มคี ่าเท่ากบั 1 ไบต์ แทนอกั ษร “1”
ถ้าเข้ารหสั ดว้ ย Unicode 16 บิต แทน 1 ตวั อกั ษร
ตวั อยา่ ง รหสั แทนขอ้ มลู 0000 0000 0101 0011 แทนอกั ษร “S”

3. เขตขอ้ มลู (Field) เกดิ จากการนำาเอาอกั ขระทมี่ คี วามเกย่ี วขอ้ งกนั มาไวร้ วมกนั เพ่ือใหเ้ กดิ ความหมายหรอื
รวมเปน็ กลมุ่ ตวั อักษรทแ่ี ทนข้อเทจ็ จริงใดๆ เช่น การเกบ็ ข้อมลู นักเรียน ประกอบดว้ ย เขตขอ้ มลู เลขประจาำ ตวั นักเรียน
ชือ่ นามสกุล ระดับชนั้

4. ระเบียนข้อมูล (Record) จะประกอบด้วยเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกันนำามารวมกันเป็น
โครงสรา้ งขอ้ มูลแต่ละแถวหรอื แต่ละชดุ ขอ้ มลู ทีม่ ีความสัมพันธก์ นั ใชแ้ ทนวัตถุอย่างหนงึ่ เช่น ระเบียนข้อมูลนกั เรียน
เลขประจาำ ตัว 54461029

5. แฟม้ ข้อมูล (File) จะประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตัง้ แตห่ น่งึ ระเบียนข้อมลู ข้นึ ไป ซึง่ อยภู่ ายในตารางข้อมูล
ทีม่ โี ครงสร้างแบบเดยี วกัน เช่น แฟ้มขอ้ มลู นกั เรยี น แฟม้ ขอ้ มูลพนกั งาน

6. ฐานข้อมูล (Database) เกิดจากการรวบรวมเอาแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มที่มีความสัมพันธ์กันมารวมไว้
ดว้ ยกัน

6 ค่มู อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ข้อมูลและสารสนเทศ 5 ความรู้เพิม่ เติม

ชนดิ ขอ้ มูล สายอักขระ เป็นความยาวของข้อความหรือตัวอักษร
ที่น�ำมาเรยี งต่อกนั ใหเ้ กิดความหมายทเี่ ขา้ ใจได้
ข้อมลู แต่ละตวั จะมีลักษณะเฉพาะตวั สามารถแบ่งเปน็ ชนดิ ได้ ดังน้ี บีบอัด เปน็ การจดั การให้พน้ื ท่ขี องขอ้ มลู น้อยลง
1. ขอ้ มลู ชนดิ ตวั อกั ขระ (Character Data) เปน็ ขอ้ มลู ทใี่ ชค้ าำ นวณไมไ่ ด้ แตอ่ าจจะนาำ ไปจดั เรยี งได้ เมอื่ สง่ั ให้
ขอ้ มลู ชนิดตวั อักขระมาบวกกนั จะได้ผลเป็นข้อมลู ทตี่ ่อกนั ได้แก่ ตัวอกั ษรของภาษาตา่ ง ๆ สายอักขระ หรือ String เป็น กจิ กรรมเสนอแนะ
ขอ้ มลู ท่ีประกอบดว้ ยตวั อักษรหลาย ๆ ตัวรวมกนั เช่น TECHNOLOGY ชื่อ-นามสกลุ ของแต่ละคน หมายเลขโทรศพั ท์
รหัสไปรษณยี ์ บา้ นเลขท่ี 1. ครทู ำ� บตั รภาพตา่ ง ๆ ทสี่ อื่ ถงึ ลกั ษณะของขอ้ มลู เชน่ ตวั
2. ข้อมูลชนิดข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลตัวอักขระจำานวนมากๆ เช่น บทความ ข้อเขียน ข่าวใน อักษร ข้อความ รปู ภาพ เสยี ง วิดีทศั น์
หนังสอื พิมพ์
3. ข้อมลู ชนดิ ตวั เลข (Numeric Data) เปน็ ข้อมลู ทนี่ ำามาคำานวณได้ ไดแ้ ก่ ตวั เลขตา่ ง ๆ เช่น เลขจาำ นวน 2. ครูเรียกนักเรียนทีละคนตามเลขที่ออกมาจับบัตรภาพ
เต็ม (Integer) เป็นเลขท่ไี ม่มีจุดทศนยิ ม เชน่ 6, 12, 25, 36, 47 และเลขจาำ นวนจริง (Single หรือ Double) เป็นเลขท่มี ี 3 ใบ
ทศนยิ ม เชน่ 2.86, 3.12 ,8.98 รวมถึงขอ้ มูลการเงิน (Currency) แสดงตวั เลขในรปู แบบเงนิ ของประเทศตา่ ง ๆ
4. ขอ้ มูลชนดิ ภาพ (Image Data) ได้แก่ รูปภาพตา่ ง ๆ ทน่ี าำ เขา้ มาในระบบคอมพิวเตอร์ มีหลายชนดิ เชน่ 3. ครูให้นักเรียนอธิบายว่าบัตรภาพที่จับได้เป็นข้อมูล
ชนดิ ใดในแตล่ ะภาพ
4.1 ภาพชนดิ บติ แมป (Bitmap *.bmp) เปน็ ภาพพน้ื ฐานของระบบวนิ โดวส์ เชน่ ภาพทส่ี รา้ งจากโปรแกรม
Paint ของวนิ โดวส์

4.2 ภาพชนิด JPEG หรือ .jpg (Joint Photographic Expert Group) เป็นแฟ้มท่ีถูกบบี อัดมาจากภาพ
ตน้ แบบให้เป็นรูปแบบท่ีกระชับมากข้นึ ทำาให้ขนาดของแฟม้ ภาพเลก็ ลงสามารถส่งไปในระบบเครือขา่ ยได้งา่ ย เปน็ อกี
มาตรฐานหนง่ึ ในระบบอนิ เทอรเ์ นต็ และสามารถใชร้ ะบบสไี ดม้ ากกวา่ ลา้ นสี เปน็ ภาพทถ่ี กู กาำ หนดใหอ้ ยใู่ นกรอบสเี่ หลยี่ ม
เทา่ น้ัน

4.3 ภาพชนิด PDC (Photo CD) เปน็ รูปแบบที่สรา้ งโดยบริษทั โกดัก แฟ้มชนดิ นีจ้ ะรวมขนาดของภาพท่ี
แตกตา่ งกนั ไวใ้ นภาพแตล่ ะภาพ

4.4 ภาพชนิด TIFF (Tagged Image File Format) เป็นแฟม้ ภาพทใี่ ช้งานไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง ซอฟตแ์ วร์
ส่วนใหญ่จะรับแฟ้มภาพชนดิ นี้ได้ แม้กระทงั่ ในโปรแกรมประมวลคำา (Word Processor) และยงั ใชข้ ้ามระบบปฏบิ ตั กิ าร
ได้ เชน่ ใช้กับระบบปฏบิ ัติการของแมค พซี ี และยนู กิ ซ์

4.5 ภาพชนดิ GIF (Graphics Interchange Format) บรษิ ัท CompuServe สรา้ งแฟ้มชนิดนสี้ ำาหรบั ภาพ
บติ แมปในเว็บไซต์ และเป็นมาตรฐานหนึง่ ในสองระบบท่ีใช้บนเครอื ขา่ ยโดยไมต่ อ้ งตดิ ตัง้ ระบบไว้ล่วงหน้า แต่ภาพชนดิ
นีใ้ ชร้ ะบบสเี พียง 256 สี และเปน็ ภาพทีเ่ ลอื กให้เป็นแบบฉากหลังโปร่งได้ (Transparent)

5. ขอ้ มูลเสยี ง (Audio Data) เปน็ ข้อมูลทีส่ ำาคัญในการนาำ เสนอดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในปจั จุบัน แฟ้ม
เสียงทบี่ ันทกึ ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอรม์ หี ลายชนดิ เช่น *.wav *.midi *.mp3 การใช้เสียงในมลั ตมิ ีเดยี แบง่ เป็น 2 แบบ คือ

5.1 เสียงบรรยาย ใช้เล่าเรือ่ งราวต่าง ๆ หรอื บรรยายความหมายของภาพและขอ้ ความในฉาก
5.2 เสยี งประกอบ เชน่ เสียงนกร้อง เสียงดนตรี ใชก้ าำ หนดอารมณ์ของผูฟ้ งั หรอื ใช้เป็นเครอื่ งมอื เสรมิ
ความสนใจของขา่ วสารในมลั ตมิ เี ดยี ไมเ่ ชอ่ื มโยงโดยตรงกบั เนอื้ หาของเรอื่ งสว่ นใหญ่ จะใชเ้ สยี งดนตรเี ปน็ เสยี งประกอบ
6. ข้อมูลวีดทิ ศั น ์ (Video Data) ไดแ้ ก่ ภาพยนตร์ ภาพเคลื่อนไหว แฟม้ ภาพยนตรท์ บี่ นั ทึกในรปู แบบของ
วินโดวส์ เช่น แฟม้ ชนดิ .wmv (Windows Media Audio/video file) หรือชนดิ Movie Clip (.mpg) ส่วนภาพเคล่ือนไหว
นิยมบันทึกในรปู แบบ GIF ซ่งึ ตอ้ งนาำ เสนอในซอฟตแ์ วร์ประเภทนาำ เสนอ

คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 7

Introduction Indesign Innovation ICT

L earning for 21st Century Skills Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

1. แบง่ กลุ่มนกั เรียน 4 - 5 กล่มุ 6 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5
2. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษา หนว่ ยขอ้ มลู และหาตวั อยา่ ง
เฉลยกจิ กรรมในหนา้ 39
แลว้ จดั เรยี งตวั อยา่ งหนว่ ยขอ้ มลู จากหนว่ ยขนาดเลก็ ไป
หาขนาดใหญ่นำ� ไปตดิ บอร์ดความรู้ กจิ กรรมตรวจสอบก�รเรยี นรทู้ ี่ 1.1

L earning for Metacognition 1. ขอ้ มูลปฐมภมู ิกับข้อมูลทตุ ยิ ภมู มิ คี วามเหมอื นและแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
2. จงเรยี งลาำ ดบั หน่วยของขอ้ มลู จากขนาดใหญท่ สี่ ุดไปหาขนาดเลก็ ที่สุด
1. ใหน้ กั เรยี นจดั หาสมดุ หนง่ึ เลม่ เปน็ สมดุ องคค์ วามรขู้ อง 3. ข้อมลู ชนิดตวั อกั ขระกบั ข้อมลู ชนดิ ข้อความมคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งไร พรอ้ มยกตัวอย่าง
ตนเอง 4. อธิบายความแตกต่างระหวา่ งภาพชนดิ GIF กบั ภาพชนดิ JPEF

2. ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ เกย่ี วกบั ขอ้ มลู นอกเหนอื จากทเี่ รยี นมา 2. การเลอื กใชแ้ หลง่ ข้อมูล
สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้แล้วบนั ทึกลงในสมุดองค์ความรู้
แหล่งข้อมูล หมายถึง สถานท่ีหรือแหล่งท่ีเกิด
I ntroduction
ขอ้ มลู แหลง่ ขอ้ มลู จะแตกตา่ งกนั ไปตามขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการ เชน่
1. ครนู ำ� เขา้ สูบ่ ทเรยี นดว้ ยคำ� ถาม
คำ� ถาม : แนวคิดส�ำ คญั บา้ นเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั นกั เรยี น โดยบนั ทกึ ขอ้ มลู ไวใ้ น
- นักเรียนนิยมค้นคว้าหาข้อมูลต่าง ๆ จากอินเทอร์เน็ต ทะเบยี นบา้ น หอ้ งสมดุ เปน็ แหลง่ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความรตู้ า่ ง ๆ
แหล่งข้อมูล หมายถึง สถานท่ีหรือแหล่งที่เกิด ข้อมูลบางอย่างอาจจะนำามาจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งได้
นักเรียนนิยมสบื คน้ จากเว็บไซต์ใด (นกั เรียนตอบตาม ข้อมูล แหล่งข้อมูลจะแตกต่างกันไปตามข้อมูลที่ เช่น ราคาของเล่นชนดิ เดยี วกนั เราอาจจะหาขอ้ มูลจากร้าน
ความเข้าใจของตนเองเพอื่ ครผู สู้ อนนำ� เข้าสูบ่ ทเรียน) ตอ้ งการ
2. ครูน�ำอภิปรายเก่ียวกับค�ำตอบของนักเรียนและช้ีแจง
ยงั มเี วบ็ ไซตท์ เ่ี ปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ออนไลนท์ น่ี กั เรยี นสามารถ ค้าหลายรา้ นได้ และข้อมูลหรอื ราคาทไ่ี ด้อาจจะแตกต่างกนั
ศกึ ษาได้ (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเองเพ่อื
ครผู ู้สอนน�ำเข้าสบู่ ทเรียน) ไป หนังสอื สงิ่ พมิ พ์ เปน็ แหล่งขอ้ มูลทม่ี ีทั้งขอ้ ความ ตัวเลข
คำ� ส�ำคัญ :
- แหลง่ ขอ้ มูลภายใน รปู ภาพ
- แหล่งขอ้ มลู ภายนอก
- แหลง่ ข้อมลู ออนไลน์ ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่เป็นองค์ประกอบที่สำาคัญสำาหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ในยุคโลกาภิวัตน์

I ndesign (Globalization) ทก่ี ารตดิ ตอ่ สอื่ สารแบบไรพ้ รมแดนเกดิ ขนึ้ อยา่ งมากมาย ทาำ ใหข้ อ้ มลู ถกู เผยแพรแ่ ละกระจายการใชง้ าน

กนั อยา่ งทว่ั ถงึ โดยปกตแิ ลว้ ขอ้ มลู สาำ หรบั การนาำ มาประมวลผลดว้ ยคอมพวิ เตอรน์ น้ั จะไดม้ าจากแหลง่ ทม่ี า 3 ประเภท คอื

1. แหลง่ ข้อมลู ภายใน เป็นแหลง่ ข้อมูลทีอ่ ย่ภู ายในองค์กรทว่ั ไป ขอ้ มูลท่ไี ด้มานั้นอาจมาจากบุคคลภายใน

องคก์ รหรอื มีอยูแ่ ลว้ ในองคก์ ร เช่น ยอดขายประจาำ ปี ขอ้ มลู ผูถ้ อื หนุ้ รายงานกำาไรขาดทนุ รายชือ่ พนักงานเปดิ เผยให้

กับบุคคลภายนอกทราบหรือไม่ก็ได้ หากข้อมูลน้ันเป็นข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับการดำาเนินงานหลักขององค์กรและมีความ

สาำ คัญมาก เชน่ ขอ้ มูลผลติ ภัณฑ์ทจ่ี ะสง่ ออกสตู่ ลาดใหม่ ข้อมูลการทดลองแปรรูปสินค้า หนว่ ยงานนั้นอาจมีการปกปิด

ไว้เพ่ือป้องกันการร่วั ไหลของข้อมูลได้

2. แหล่งข้อมูลภายนอก เป็นแหล่งข้อมูลที่อยู่ภายนอกองค์กร โดยทั่วไปแล้วสามารถนำาข้อมูลต่าง ๆ

เหล่าน้ันมาใช้ประโยชน์ในองค์กรหรือนำามาใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์เพ่ือให้ได้ระบบงานที่สมบูรณ์ข้ึนได้

ข้อมูลลูกค้า เจ้าหนี้ อัตราดอกเบ้ียสถาบันการเงิน กฎหมาย และอัตราภาษีของรัฐบาล หรืออาจรวมถึงข้อมูลบริษัท

คแู่ ขง่ ดว้ ย ซง่ึ ไมใ่ ชข่ อ้ มลู ทอี่ ยภู่ ายในบรษิ ทั หรอื องคก์ รแตอ่ ยา่ งใด จะสามารถหาขอ้ มลู จากแหลง่ ภายนอกนไี้ ดจ้ ากบรษิ ทั

ผใู้ หบ้ รกิ ารข้อมลู หรอื จากหนงั สือพมิ พ์ วิทยุ โทรทศั น์ หรือสอ่ื อ่ืน ๆ ไดท้ ่วั ไป

1. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับการเลือกใช ้
แหลง่ ข้อมลู จากบทเรียนหน้า 6-16

2. นักเรียนสืบค้นแหล่งข้อมูลออนไลน์จากอินเทอร์เน็ต
ดังนี้

1) www.data.go.th 2) www.wolframalpha.com
3) www.google.com
3. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรคู้ วามเขา้ ใจในบทเรยี น

I nnovation I CT

ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มนักเรียน 4-5 คนร่วมกันวิเคราะห์ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเลอื กใชแ้ หลง่ ขอ้ มลู โดย
ความรู้สรุปเป็นความคิดรวบยอด บันทึกลงในแผนภาพ ใช้ search engine
ความคดิ แบบใยแมงมมุ เรอ่ื งการเลอื กใชแ้ หลง่ ขอ้ มลู แลว้ นำ�ไป
ติดบอร์ดในหอ้ งเรยี น

8 ค่มู ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ 7 ความร้เู พ่มิ เติม

3. แหลง่ ขอ้ มูลออนไลน ์ แหลง่ สะสมขอ้ เทจ็ จริงต่าง ๆ โดยรวบรวมขอ้ มลู ท่ีมีความสัมพนั ธ์กันไวด้ ้วยกันและ Search Engines เปน็ โปรแกรมออนไลนท์ ใ่ี ชใ้ นการคน้ หา
มีโปรแกรมการจัดการฐานขอ้ มูล (Database Management System) มาช่วยในการจัดเก็บ จัดเรยี ง และสืบคน้ สารสนเทศ หรอื สบื คน้ เพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลที่ตอ้ งการ
รวมถึงปรับปรุงขอ้ มูลใหท้ นั สมยั อย่เู สมอ เช่น

3.1 data.go.th เปน็ Search Engines ที่มขี ้อมลู ของภาครัฐเปน็ ส่วนใหญ่ ซง่ึ บคุ คลทว่ั ไปสามารถนำาขอ้ มลู
จาก data.go.th นำามาใช้งานหรือการวิเคราะหส์ ง่ิ ต่าง ๆ ได้

ที่มา : https://data.go.th/ รปู ที่ 1.1 หน้าหลักของ data.go.th

ตัวอย่างการใชง้ านการคน้ หาข้อมูลจาก data.go.th
1. ตัวอยา่ งในการค้นหาน้ี จะค้นหาในหัวข้อรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดอื น

ทีม่ า : https://data.go.th/default.aspx รปู ท่ ี 1.2 การเลอื กค้นหารายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ เดอื น

คูม่ อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 9

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

ความรเู้ พิ่มเตมิ 8 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.5
2. หลงั การกดค้นหาจะปรากฏขอ้ มูลและรายละเอียดตามหัวข้อ
Data.go.th เป็นศนู ย์กลางขอ้ มลู ภาครฐั ซงึ่ ด�ำเนนิ การ
โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือท�ำให้ผู้ใช้บริการท้ังประชาชน
ธุรกิจเอกชน หรือแม้แต่หน่วยงานของรัฐ สามารถค้นหา
และเขา้ ถึงขอ้ มลู ที่มีคุณภาพของภาครัฐได้ง่าย

รปู ท่ ี 1.3 รายละเอยี ดขอ้ มูลทคี่ น้ หา
ท่มี า : https://data.go.th/Datasets.aspx?kw=ค้นหาชุดขอ้ มลู

3. ในทน่ี เ้ี ลือกหัวขอ้ รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ เดือนต่อครวั เรอื น จาำ แนกตามภาคและจงั หวดั พ.ศ.2541–2558

รปู ท ่ี 1.4 ขอ้ มลู ภายในหวั ข้อ รายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ เดือนตอ่ ครัวเรือน
ทม่ี า : https://data.go.th/DatasetDetail.aspx?id=7049410f-5bb8-4c75-9e94-112ca18b63e2

10 คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ 9 ความรูเ้ พิ่มเตมิ
4. รปู แบบของไฟลส์ ามารถดาวนโ์ หลดเปน็ ไฟล์ขอ้ มูลเพอ่ื นำามาวเิ คราะหข์ ้อมลู ไดท้ ันที
Downloads หมายถงึ การคดั ลอกแฟม้ ขอ้ มลู หรอื โปรแกรม
จากคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งหนงึ่ เขา้ มาในคอมพวิ เตอรท์ เ่ี รากำ� ลงั
ใช้อยู่ โดยผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์

รปู ที่ 1.5 การดาวนโ์ หลดขอ้ มูล
ทีม่ า : https://data.go.th/DatasetDetail.aspx?id=7049410f-5bb8-4c75-9e94-112ca18b63e2

ข้อมลู ท่ดี าวน์โหลดมาอยูใ่ นรูปแบบของไฟล์ Excel

รปู ที ่ 1.6 ไฟล์ข้อมูลรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดอื นต่อครวั เรือน
ท่มี า : https://data.go.th/DatasetDetail.aspx?id=7049410f-5bb8-4c75-9e94-112ca18b63e2

จากขอ้ มูลทไี่ ด้มานน้ั สามารถนาำ มาจัดรูปแบบในส่งิ ตา่ ง ๆ เพอ่ื นำามาทาำ การวิเคราะห์ในเชงิ สถิติได้
3.2 WolframAlpha คือ Search Engine แนวใหม่ที่รูปแบบค้นหาไม่เหมือนกับ Search Engine อื่น ๆ
อย่างเช่น Google, Yahoo หรือ Bing โดย Search Engine เหล่านี้จะพยายามหาส่ิงท่ีคิดว่าเหมือนหรือใกล้เคียงกับ
คำาคน้ ทตี่ อ้ งการใหม้ ากท่สี ดุ แล้วให้เลือกเองว่าจะเขา้ ไปดูรายละเอยี ดตวั ไหน Search แบบนจ้ี ะหาลิงกจ์ ำานวนมากมาให้
เข้าไปหาข้อมูลท่ีต้องการอีกคร้ัง แต่สิ่งท่ี WolframAlpha แสดงผลจะแตกต่างออกไป คือ จะพยายามหาคำาตอบของ
สงิ่ ทค่ี ณุ ตอ้ งการหาให้ เชน่ ต้องการหาวา่ จำานวนประชากรของไทยตอนน้เี ท่าไร Search อ่ืนจะใหล้ ิงก์ เชน่ https://www.
wikipedia.org/ หรอื เวบ็ ไซตไ์ ทยทีม่ กี ารเกบ็ สถติ มิ าให้ แต่ WolframAlpha จะใหค้ าำ ตอบออกมาเลยว่าประชากรตอนนี้
เทา่ ไร อัตราการขยายตัวเทา่ ไร แสดงผลเปน็ กราฟด้วย ซง่ึ ในขณะนย้ี งั ไม่รองรับภาษาไทย

คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 11

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

10 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5

รปู ที ่ 1.7 หนา้ ต่าง WolframAlpha

ทีม่ า : https://www.wolframalpha.com/

ตวั อย่างการใชง้ านการคน้ หาขอ้ มลู จาก WolframAlpha
1. ตวั อย่างในการค้นหา หวั ขอ้ จำานวนประชาชนในประเทศไทยมที ง้ั หมดก่คี น

รปู ท่ ี 1.8 การคน้ หาคา� ว่า How many people in Thailand
ทมี่ า : https://www.wolframalpha.com/

12 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 ขอ้ มูลและสารสนเทศ 11 ความรเู้ พิ่มเตมิ
2. โดยในการคน้ หาเวบ็ ไซต์ WolframAlpha จะค้นหาข้อมลู จาำ นวนล่าสุดท่ไี ด้ทำาการอพั เดต และยังจดั ทำา
ขอ้ มูลในเชิงเปรียบเทียบในรูปแบบของกราฟ เพอื่ ให้เข้าใจได้ง่ายและสามารถนาำ ข้อมลู ไปใชไ้ ดท้ ันที https://www.wolframalpha.com/ จะแสดงข้อมูล
ทต่ี อ้ งการคน้ ออกเปน็ 3 แบบ คอื ขอ้ มลู จรงิ ตามหวั ขอ้ ขอ้ มลู
ทางสถิติ ขอ้ มลู เปรียบเทียบ
ข้อมูลจริง เป็นข้อมูลที่ได้รับจากประสบการณ์จริงหรือ
ประสบดว้ ยตนเอง เกดิ ขึน้ ตามความจริง

รูปท ่ี 1.9 ผลการค้นหา How many people in Thailand
ทีม่ า : https://www.wolframalpha.com/input/?i=How+many+people+in+Thailand

ในการแสดงผลของ WolframAlpha จะแสดงขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการค้นหา โดยแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น
1. ขอ้ มูลจริงตามหัวข้อ จากขอ้ มลู ได้บอกถึงจำานวนประชากรของประเทศไทยว่า ใน ค.ศ. 2017 มจี ำานวน
ผ้อู าศยั จำานวน 69 ล้านคน

รูปที ่ 1.10 ผลการค้นหา How many people in Thailand เปน็ ข้อความในการสรปุ จา� นวนคน
ท่มี า : https://www.wolframalpha.com/input/?i=How+many+people+in+Thailand

2. ขอ้ มลู ทางสถติ ิ จากข้อมลู ทางสถิติดจู ากกราฟแสดงใหเ้ หน็ วา่ จาำ นวนประชากรทเี่ พิม่ ข้นึ จาก ค.ศ. 1970
ถงึ 2017

รปู ท่ ี 1.11 ผลการค้นหา How many people in Thailand เปน็ กราฟในการสรปุ จา� นวนคน
ท่มี า : https://www.wolframalpha.com/input/?i=How+many+people+in+Thailand

คูม่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 13

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

กิจกรรมเสนอแนะ 12 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5
3. ขอ้ มลู การเปรยี บเทยี บ จากขอ้ มูลการเปรียบเทียบจะแบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน เปรยี บเทยี บ เพศผูช้ าย
1. ครใู หน้ กั เรยี นจบั กลมุ่  ๆ ละ 3-5 คน และใหน้ กั เรยี นเลอื ก
ศกึ ษาการวางแผนการเงินจากเว็บไซต์ กบั ผหู้ ญิง และเปรยี บเทียบในช่วงของอายแุ ตล่ ะช่วงวยั โดยทาำ การเปรียบเทียบ 2 การเปรียบเทียบซึง่ จะอยู่ในพ้นื ทข่ี อง
จำานวนประชากรแต่ละปี
https://www.set.or.th/
2. ครูให้นักเรียนจัดท�ำรายงานการวางแผนการเงินท่ีได้

ศกึ ษา แลว้ นำ� เสนอหนา้ ชนั้ เรยี น
3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการวางแผนการเงิน

ท่ีนักเรียนนำ� เสนอในแตล่ ะกลุ่ม

รูปที่ 1.12 ผลการค้นหา How many people in Thailand เปน็ กราฟแสดงการเปรียบเทียบจา� นวนคนต่ออายุ
ที่มา : https://www.wolframalpha.com/input/?i=How+many+people+in+Thailand

3.3 ตลาดหลกั ทรัพย์ หรือ ตลาดห้นุ เปน็ สถานท่ีสาำ หรับซอ้ื ขายแลกเปล่ยี นหลกั ทรพั ยร์ ะยะยาวของ
บริษทั มหาชนจำากัด ซึง่ ถือว่าเป็น ตลาดรอง (Secondary Market) ท้ังนเี้ น่ืองจากจะทำาการซ้ือขายเฉพาะหลกั ทรพั ยท์ ี่
ไดอ้ อกจาำ หนา่ ยใหแ้ กป่ ระชาชนโดยทว่ั ไปแลว้ เทา่ นน้ั หลกั ทรพั ยร์ ะยะยาวจะประกอบไปดว้ ยตราสารหนแ้ี ละตราสารทนุ
ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยหนุ้ สามัญ หุ้นบุรมิ สิทธิ ใบสาำ คัญแสดงสิทธแิ บบตา่ ง ๆ ใบสาำ คัญแสดงสทิ ธิอนพุ ันธ์ หนุ้ กู้ และ หนว่ ย
ลงทุน โดยเรียกวา่ เปน็ ประเภทของตราสารเพ่อื การลงทุนตลาดหลักทรัพยม์ อี ยู่แทบทุกประเทศท่ัวโลก

โดยเว็บไซต์ตลาดหลักทรพั ย์ :https //marketdata.set.or.th/mkt/marketsummary.do ตลาดหลกั ทรัพย์ไทยจะ
เปน็ สถติ ทิ างการเตบิ โตของเศรษฐกจิ หรอื สถติ ิการซ้ือขายหุน้ นัน้ เอง

รูปท ่ี 1.13 หน้าต่างเวบ็ ไซต์ marketdata.set.or.th
ท่ีมา : https://marketdata.set.or.th/mkt/marketsummary.do

14 คูม่ อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ 13 ความรู้เพ่มิ เตมิ
ขอ้ มูลตัวอย่างในการค้นหาจะเป็นข้อมูลตลาดทรพั ย์ของ บรษิ ทั ปตท. จำากัด (มหาชน) โดยข้อความใน
การค้นหาคอื PTT บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทพลังงาน
แหง่ ชาติ ประกอบธรุ กิจกา๊ ซธรรมชาติครบวงจร

รูปท ่ี 1.14 หน้าต่างเวบ็ ไซต์ Marketdata แหลง่ สบื ค้น
ทม่ี า : https://marketdata.set.or.th/mkt/marketsummary.do
ให้นักเรียนศึกษาความเป็นมาของบริษัท ปตท. จ�ำกัด
จากการคน้ หาทางเวบ็ ไซตข์ องตลาดทรพั ยจ์ ะแสดงผลถงึ ขอ้ มลู หลกั ของ บรษิ ทั ปตท. จาำ กดั (มหาชน) ในสว่ น
ของข้อมลู ดา้ นหลักทรพั ย์ งบการเงนิ ผูถ้ ือหนุ้ รายใหญ่ ข้อมูลสิทธปิ ระโยชน์ ข่าวราคาของหุ้นวนั นีแ้ ละราคาย้อนหลัง (มหาชน) เพ่ือน�ำมาประกอบการวิเคราะห์ราคาหุ้นของ
บรษิ ัทไดท้ เ่ี ว็บไซต์ Youtube เรือ่ ง แนะนำ� บริษัท ปตท.
จำ� กัด (มหาชน) ความยาว 7 นาที

รูปที่ 1.15 หนา้ ตา่ งเวบ็ ไซต์ Marketdata จากการคน้ หาข้อมูลของบรษิ ทั ปตท. จ�ากัด (มหาชน)
ท่มี า : https://marketdata.set.or.th/mkt/stockquotation.do?symbol=PTT&language=th&country=TH

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 15

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

ความรู้เพิม่ เติม 14 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5
ข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลทางสถิติเพ่ือนำามาวิเคราะห์ในด้านการตัดสินใจต่าง ๆ ในทางเว็บไซต์ของตลาด
Keyword คือ ค�ำค้นหาหรือค�ำอธิบายในสิ่งใดส่ิงหน่ึง
สน้ั  ๆ ทกี่ ลา่ วถงึ สงิ่ ทเี่ รากำ� ลงั ตามหา เพอ่ื สบื คน้ รายละเอยี ด ทรัพย์สามารถดาวนโ์ หลดข้อมลู ปจั จบุ ันหรือย้อนหลงั ได้เพื่อเปน็ ข้อมูลนำาไปทำาการวเิ คราะห์อกี ทางหนง่ึ
ขอ้ มูลผ่านอนิ เทอร์เนต็ บนเว็บ Search Engine

รปู ที ่ 1.16 ขอ้ มลู จากเวบ็ ไซตข์ องตลาดหลักทรพั ย์จะเป็นขอ้ มลู เจาะจงในกลมุ่ ของการลงทนุ
ท่ีมา : https://marketdata.set.or.th/mkt/stockquotation.do?symbol=PTT&language=th&country=TH

4. Google เปน็ เว็บไซตท์ ่ใี หบ้ ริการในการคน้ หาข้อมลู ในโลกของอินเทอร์เน็ต โดยคน้ หาขอ้ มลู จากขอ้ ความ
หรือตัวอักษรท่ีพิมพ์เข้าไป แล้วทำาการค้นหาข้อมูล รูปภาพ หรือเว็บเพจท่ีเกี่ยวข้องนำามาแสดงผล เว็บไซต์ Google
ไดร้ ับความนิยมอยา่ งมากในกลมุ่ ผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ที่ต้องการคน้ หาข้อมูล ซงึ่ เว็บไซต์ Google แบ่งประเภทของการ
คน้ หาไวเ้ ปน็ หมวดหมู่ของการคน้ หาออกเปน็ 4 หมวดหมูด่ ว้ ยกนั ดังน้ี

4.1 เว็บ (Web) เปน็ การคน้ หาขอ้ มูลในรูปแบบของเว็บไซต์ตา่ ง ๆ ทว่ั โลก โดยการแสดงผลจะแสดงเวบ็ ไซต์
ทีม่ คี าำ ทเ่ี ปน็ Keyword อยู่ภายในเว็บไซตน์ นั้

4.2 รปู ภาพ (Images) เปน็ การค้นหารูปภาพจากการแปลคาำ Keyword
4.3 กลมุ่ ขา่ ว (News) เปน็ การคน้ หาขอ้ มลู ทเี่ ปน็ เนอ้ื หาทอ่ี ยใู่ นขา่ ว ซง่ึ มกี ารระบชุ อ่ื ผเู้ ขยี นขา่ ว หวั ขา่ ว วนั ที่
และเวลาทโ่ี พสตข์ ่าว
4.4 สารบบเวบ็ (Wed Directory) Google มีการจัดประเภทของเว็บไซต์ออกเปน็ หมวดหมู่ ซึ่งสามารถคน้ หา
เวบ็ ไซต์ในเร่ืองที่ต้องการตามหมวดหมู่ต่างๆ เช่น Arts, Home, Busiess, Games

รปู ท ่ี 1.17 หน้าตา่ งเว็บไซต์ Google

ทีม่ า : www.google.com

16 คู่มือครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ข้อมูลและสารสนเทศ 15 กจิ กรรมเสนอแนะ

1 79 1. ครูท�ำใบงานหน้าเว็บไซต์หลัก Google ตามรูปจาก
2 8 หนังสือเรยี นหน้าที่ 15

6 2. ครูให้นักเรียนท�ำใบงานโดยให้ระบุว่าแต่ละต�ำแหน่ง
ทตี่ วั เลขชก้ี �ำกบั คืออะไร และมหี น้าทีอ่ ะไร

34
5

รูปท่ี 1.18 หน้าเว็บไซตห์ ลัก google

ที่มา : www.google.com

หน้าเว็บไซตข์ อง www.google.com

1. Logo Google

2. ชอ่ งใสข่ ้อมลู ให้ค้นหา
3. ปุม่ กด เข้าหนา้ ข้อมลู ทง้ั หมด
4. ปมุ่ กด เขา้ หนา้ เวบ็ ไซตแ์ รกของขอ้ มูลทง้ั หมด
5. ปมุ่ กด ปรับเปลยี่ นภาษาของหนา้ เว็บไซต์
6. หนา้ ตาเครอ่ื งมือของเว็บไซต์ Google
7. ปุ่มกด เข้าหนา้ ต่าง E-mail
8. ปุ่มกด ช่องใส่ขอ้ มูลใหค้ ้นหาเฉพาะรปู
9. ป่มุ กด ล็อกอินเข้าใชร้ ะบบของ Google

คูม่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5 17

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

L earning for 21st Century Skills 16 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.5 3
หนา้ เว็บไซต์ขอ้ มูลค้นหาของ www.google.com
นักเรียนทุกคนฝึกใช้คำ� Keyword สืบค้น ส่ิงท่ีนกั เรยี นชอบ
และสนใจ 5 อย่างดงั นี้ 2
1. บทความทีช่ อบ
2. วธิ ที �ำอาหารทส่ี นใจ 1
3. เพลงที่ชอบร้อง
4. ภาพท่ีประทบั ใจ
5. สถานท่ีท่องเท่ียวทอี่ ยากจะไป
แลว้ Downloads เกบ็ ไวใ้ นไฟลช์ อื่ ของตนเอง เพอ่ื แลกเปลย่ี น
ใหเ้ พ่อื น ๆ ดู

L earning for Metacognition รูปที่ 1.19 หน้าเวบ็ ไซตค์ ้นหา

1. ใหน้ กั เรยี นจดั หาสมดุ หนงึ่ เลม่ เปน็ สมดุ องคค์ วามรขู้ อง ที่มา : www.google.com
ตนเอง
หน้าเวบ็ ไซตข์ อ้ มลู คน้ หาของ www.google.com
2. ให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับข้อมูลนอกเหนือจากท่ีเรียน 1. เวบ็ ไซตข์ อ้ มูลทค่ี ้นหา
มาสรปุ เปน็ องคค์ วามรแู้ ลว้ บนั ทกึ ลงในสมดุ องคค์ วามรู้ 2. ชอ่ งใสข่ อ้ มูลให้การค้นหา
3. ปมุ่ กดเครอ่ื งมอื ของเวบ็ ไซตใ์ นการแยกประเภทในการคน้ หา เชน่ พกิ ดั ของแผนทจี่ ากสถานทท่ี คี่ น้ หา รปู ภาพ
ข่าวสารทตี่ อ้ งการ หรือภาพวดี ิโอทคี่ ้นหา

เฉลยกิจกรรมในหน้า 40

กิจกรรมตรวจสอบก�รเรียนรทู้ ่ี 1.2

1. อธิบายคำาวา่ แหล่งขอ้ มลู ตามความเข้าใจของตนเอง
2. ใหน้ กั เรียนรวมรวบข้อมูลของยอดขายรถจากงานมอเตอร์โชวย์ อ้ นหลัง 3 ปี
3. สืบค้นข้อมูลโทรศัพท์มือถือย่ีห้อใด รุ่นใด ที่มีคุณสมบัติทันสมัยที่สุด และวิเคราะห์ข้อมูลแสดงการทัน

สมยั อย่างไร

18 คู่มือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ 17 Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition
3. การเก็บข้อมลู และการจัดเตรยี มขอ้ มลู
I ntroduction
แนวคิดส�ำ คัญ การเกบ็ ข้อมลู คอื การเก็บรวบรวมขอ้ มลู เพอื่
ให้ได้มาซง่ึ ขอ้ มลู ท่ีตอบสนองวตั ถุประสงค์ แนวคดิ วิเคราะห์ 1. ครนู ำ�เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการทบทวนเรอ่ื ง ขอ้ มลู แหลง่ ขอ้ มลู
การจดั เกบ็ เปน็ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากนน้ั นาำ ทไี่ ดต้ ัง้ เปา้ หมายหรอื ต้งั โจทย์ไว้ และให้สอดคลอ้ งกับกรอบ เพ่ือให้นักเรยี นเกิดความรแู้ ละความเข้าใจมากยงิ่ ข้นึ
มาจัดเรยี งเพอ่ื นาำ ไปประมวลผลต่อไป แนวคิดสมมตฐิ าน เทคนิคการวัดผลจากการวเิ คราะหข์ ้อมูล
ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าจะมกี ารจดั เกบ็ อยา่ งเปน็ ระบบ การเกบ็ รวบรวม 2. ครูใช้คำ�ถามใหน้ ักเรียนตอบดงั น้ ี
ข้อมูลควรกระทำาควบคู่ไปกับการตรวจสอบข้อมูล กล่าวคือ คำ� ถาม :
เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้มาแล้วก็ทำาการตรวจสอบข้อมูล - นกั เรยี นจะเกบ็ รวบรวมข้อมูลได้อย่างไร (นกั เรยี นตอบ
ทนั ที เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ตรงกบั คณุ สมบตั ขิ อ้ มลู ทด่ี ที ถ่ี กู ตอ้ งตาม
ความต้องการมากทส่ี ดุ ตามความเขา้ ใจของตนเองเพอ่ื ครผู สู้ อนนำ� เขา้ สบู่ ทเรยี น)
คำ� ส�ำคัญ :
ลักษณะสา� คัญของการเกบ็ รวบรวมข้อมลู มดี ังนี้ - การเก็บข้อมลู
1. ขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมจะตอ้ งตอบสนองตอ่ วตั ถปุ ระสงคค์ รบถว้ น โดยหลงั จากการรวบรวมเกบ็ ขอ้ มลู เสรจ็ แลว้ - ลักษณะส�ำคญั ของการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
- หลักการสรา้ งแบบสอบถามที่ดี
ควรพจิ ารณาวา่ ข้อมลู ที่ได้มามคี วามครอบคลมุ วตั ถุประสงค์ของการวเิ คราะหข์ อ้ มลู หรอื ไม่ - การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
2. ขอ้ มลู ที่ได้มาจะต้องอยูใ่ นกรอบแนวคดิ ทตี่ อ้ งการ - การเปลีย่ นสภาพข้อมูล
3. การเลอื กใชเ้ คร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมูลตอ้ งมใี หค้ รบถว้ น
I ndesign
ขัน้ ตอนของการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้แก่
1. ก�าหนดวัตถุประสงคข์ องการใชข้ ้อมูล ใชข้ ้อมูลเพอื่ อะไร มอี ะไรบา้ ง 1. ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ 4 กลมุ่ จำ� นวนสมาชกิ เทา่  ๆ กนั
2. ก�าหนดลักษณะข้อมูล จะต้องระบุข้อมูลและลักษณะของข้อมูลท่ีต้องการว่ามีลักษณะอย่างไรท่ีตรงกับ 2. ครอู ธบิ ายเกยี่ วกบั การเกบ็ ขอ้ มลู และขน้ั ตอนการรวบรวม

สภาพความเป็นจริง ควรสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ ขอ้ มลู
3. ก�าหนดแหล่งข้อมูล ต้องการข้อมูลหรือรวบรวมข้อมูลมาจากท่ีไหนบ้างผู้ให้ข้อมูลเป็นใคร อยู่ที่ไหน 3. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาการเกบ็ ขอ้ มลู แบบออนไลน์

เป็นแหลง่ ข้อมลู ปฐมภูมิหรอื ทุติยภมู ิ ขั้นตอนการสรา้ งแบบสอบถาม
4. เลอื กวธิ ีรวบรวมขอ้ มลู ตอ้ งวางแผนในวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู อยา่ งรอบคอบรวมทงั้ คาำ นงึ ถงึ ขนาดของ 5. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอแบบสอบถามออนไลน์

กลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี หมาะสม ซงึ่ วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู จาำ เปน็ ตอ้ งเลอื กเครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ วา่ มอี ะไร ถา้ มแี ลว้ กส็ ามารถนาำ ไป ของกลุม่ ตนเองตามท่ีไดท้ �ำ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหเ้ หมาะกบั งานทที่ าำ ถา้ ไมม่ กี ต็ อ้ งสรา้ งเครอ่ื งมอื ขนึ้ มาใหม่ ซงึ่ ตอ้ งคาำ นงึ ถงึ หลกั ในการสรา้ งเครอ่ื งมอื ทด่ี ี 6. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบและสรุปคำ�ตอบ

5. น�าเครื่องมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้ ในการใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองมือ ข้อคำ�ถามในแบบสอบถามออนไลน์ว่าข้อใดท่ีควรใช้
ท่ีมีอยู่แล้วหรือเคร่ืองมือที่สร้างขึ้นเอง ควรมีการทดลองใช้กับกลุ่มที่ใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจำานวนไม่มากก่อนเพื่อ หรือไม่ควรใช้
ดขู ้อบกพรอ่ งตา่ งๆ ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ จากการใชเ้ ครือ่ งมือ ตอ้ งนำาเครอ่ื งมอื ไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขหรืออาจจะตอ้ งสร้างใหม่เพอ่ื ให้
เหมาะสมกับงานทท่ี าำ เพื่อให้เกดิ คณุ ภาพของเครือ่ งมอื และทส่ี าำ คญั คอื จะตอ้ งมคี วามตรงและความเท่ยี งของเครือ่ งมอื I nnovation

6. การตรวจสอบข้อมูล เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มี ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มนักเรียน 4-5 คน ท�ำป้ายนิเทศ
คุณภาพ แต่ถ้าข้อมูลที่รวบรวมมาไม่ถูกต้อง ขาดความน่าเช่ือถือหรือไม่ครบถ้วน แล้วนำาไปประมวลผล ผลลัพธ์ที่ได้ นำ� เสนอแบบสอบถามตามที่กลมุ่ น�ำเสนอ
กจ็ ะไม่มีคุณภาพดว้ ย

การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นกิจกรรมแรกของการประมวลผลหรือการจัดการข้อมูลท่ีมีจำานวนมาก โดยจะต้อง
ดาำ เนินการอย่างรอบคอบ ระมดั ระวงั และเป็นระบบ ซง่ึ ควรกำาหนดวา่ จะต้องใช้ข้อมูลอะไรบา้ ง ขอ้ มลู ไดม้ าจากไหน และ
จัดเก็บขอ้ มลู เหลา่ นั้นอยา่ งไร ซ่งึ ในปัจจบุ นั เทคโนโลยมี ีความเจรญิ ก้าวหน้า ทาำ ให้การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มคี วามสะดวก
รวดเรว็ และง่ายขนึ้

I CT

ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการตอบแบบสอบถาม
ออนไลน์ โดยใช้ search engine

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 19

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

กิจกรรมเสนอแนะ 18 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5

1. ครใู หน้ กั เรยี นจบั กลมุ่ 7 กลมุ่ โดยทส่ี มาชกิ กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ วธิ ีเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ได้แก่
มจี �ำนวนเท่า ๆ กนั 1. วิธกี ารสมั ภาษณ์จากผ้ใู หค้ �าตอบโดยตรง (Personal interview หรอื Face to face interview) เปน็

2. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ เลอื กทำ� แบบสอบถามเกยี่ วกบั วิธีการที่ส่งเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานออกไปสัมภาษณ์ผู้ให้คำาตอบและบันทึกคำาตอบลงในแบบข้อถาม เป็นวิธีการท่ีจะ
การสอบถามเรอื่ งเทคนคิ การเรยี นรแู้ ละเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทาำ ให้ได้ข้อมลู ทีล่ ะเอยี ด ผู้สมั ภาษณ์สามารถชแ้ี จงหรอื อธบิ ายให้ผู้ตอบเข้าใจในคำาถามได้ ทำาใหไ้ ด้รับคาำ ตอบตรงตาม
ด้วยวธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูลทไี่ ม่ซำ�้ กันในแตล่ ะกลุ่ม วัตถุประสงค์ แต่การทีจ่ ะใหไ้ ดค้ ำาตอบทดี่ กี ต็ อ้ งขึน้ อย่กู บั ปจั จัยอื่น ๆ ดว้ ย

3. หลังการเก็บรวบรวมข้อมูล ครูให้นักเรียนวิเคราะห์ 2. วิธีการสมั ภาษณท์ างโทรศัพท์ (Enumeration by telephone) เป็นวธิ กี ารทอี่ าจทำาได้อยา่ งรวดเร็วและ
ความยากและงา่ ยของวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทเี่ ลอื กทำ� ทนุ่ ค่าใชจ้ ่ายเพราะไม่ต้องเดินทาง แตม่ ีขอบเขตจำากดั คอื ใชไ้ ด้เฉพาะผทู้ ี่มโี ทรศัพท์เทา่ น้นั คำาถามที่ถามจะตอ้ งสน้ั และ
เขา้ ใจงา่ ย วธิ ีนี้จึงใช้ในการเก็บรวบรวมท่รี ายการขอ้ ถามไม่มากนัก ประมาณ 1 – 2 รายการ
4. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มน�ำเสนอหน้าช้ันเรียน
5. ครูร่วมอภปิ รายสิ่งท่ีนักเรยี นน�ำเสนอ 3. วธิ กี ารให้พนกั งานไปทอดแบบไวใ้ หผ้ ้ตู อบกรอกข้อมูลเอง (Self-enumeration) วิธีนี้พนกั งานจะนำา
แบบขอ้ ถามไปมอบไว้ให้กับผตู้ อบ โดยอธิบายถงึ วธิ ีการกรอกเทา่ ที่จาำ เปน็ ผู้ตอบจะต้องกรอกแบบข้อถามเอง พนักงาน
ความรูเ้ พิม่ เตมิ จะกลบั ไปรบั แบบขอ้ ถามทก่ี รอกขอ้ มลู แลว้ ในวนั ทกี่ าำ หนด ในขณะเดยี วกนั พนกั งานจะตอ้ งทาำ การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
และความครบถ้วนของข้อมลู ท่กี รอกแล้ว ถา้ ผิดพลาดหรือไม่ครบถ้วนจะต้องสัมภาษณ์เพ่ิมเตมิ
ออนไลน์ (On-line) หมายถึง การเชื่อมอุปกรณ์หรือ
เคร่ืองปลายทาง (Terminal) เข้ากับเครื่องปลายทางด้วย 4. วิธีการส่งแบบข้อถามให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ (Mailed questionnaire) เป็นวิธีที่ส่งแบบข้อถามให้
วิธีใด ๆ ก็ตาม เพื่อใหม้ กี ารทำ�งานรว่ มกัน ผูต้ อบทางไปรษณียแ์ ละใหผ้ ู้ตอบสง่ แบบขอ้ ถามท่ีกรอกขอ้ มลู แล้วกลับคนื มาทางไปรษณีย์เชน่ เดียวกัน

- แบบตอ้ งไมย่ ากและไม่ยาวเกินไป
- ใชใ้ นประเทศท่มี ีบรกิ ารไปรษณียด์ ี
- ผู้ตอบตอ้ งสามารถอ่านคำาถาม และขอ้ คำาชี้แจงได้เข้าใจ
- ต้องใช้เวลาคอยจนกว่าจะได้รบั แบบครบจำานวนทตี่ ้องการและบางทตี ้องมีการทวงถามหลายครัง้
- ถ้าคำาตอบไม่ชดั เจนต้องเสียเวลาถามซำ้าโดยวธิ กี ารอื่น
5. วธิ กี ารสงั เกตการณ ์ (Observation) เปน็ วธิ เี กบ็ ขอ้ มลู โดยการสงั เกตโดยตรงจากปฏกิ ริ ยิ า ทา่ ทาง เหตกุ ารณ์
หรอื ปรากฏการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ ในขณะใดขณะหนง่ึ และจดบนั ทึกไว้โดยไม่มีการสมั ภาษณ์
6. วิธีการบนั ทกึ ข้อมูลจากการวดั หรอื นับ วิธนี ้ีจะมีอุปกรณเ์ พ่ือใช้ในการวดั หรอื นบั ตามความจาำ เปน็ และ
ความเหมาะสม
7. วิธีตอบแบบสอบถามออนไลน์ วิธีนี้จะต้องมีแบบสอบถามอยู่ในอินเทอร์เน็ตแล้วแจ้งให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง
เขา้ ไปตอบแบบสอบถาม ซึง่ ทำาใหไ้ ด้ข้อมูลนาำ ไปประมวลผลต่อหรอื ประมวลผลให้เลยทนั ที

การเกบ็ ขอ้ มูลแบบออนไลน ์

การเกบ็ ขอ้ มลู แบบออนไลน์ คอื การทาำ แบบสอบถาม ความคดิ เหน็ ความสนใจบนแพลตฟอรม์ เวบ็ ไซตข์ อง
Google Form ซง่ึ จะต้องมกี ารสรา้ งแบบสอบถามออนไลนท์ ี่เกิดจากการออกแบบแบบสอบถามทีต่ รงตามวัตถปุ ระสงค์
ของผตู้ อ้ งการใชข้ ้อมูล

หลักการสร้างแบบสอบถามที่ดี
แบบสอบถามที่ดีต้องสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีตั้ง ใช้ภาษาทเี่ ข้าใจได้งา่ ย แตล่ ะคาำ ถามควรมีเพยี งประเดน็
เดียว เล่ียงการใช้ประโยคปฏิเสธ ไม่ควรใช้คำาย่อและคำาท่ีเป็นนามธรรม คำาถามไม่ควรช้ีนำาการตอบทางใดทางหนึ่ง
คำาถามไม่ควรให้ผู้ตอบเกิดความลาำ บากใจ คาำ ตอบทมี่ ีให้เลือกต้องชัดเจนและครอบคลุมคำาตอบท่ีเปน็ ไปได้ ไมค่ วรทำา
แบบสอบถามยาวเกนิ ไป คาำ ถามทตี่ งั้ ขน้ึ ควรกระต้นุ ให้ผู้ตอบสนใจอยากตอบ

20 คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ข้อมลู และสารสนเทศ 19 ความร้เู พมิ่ เตมิ
ขนั้ ตอนการสร้างแบบสอบถาม มีดังนี้
1. กาำ หนดวัตถปุ ระสงค์หรือหวั ข้อของการสร้างแบบสอบถาม วตั ถปุ ระสงค์ คอื ผลท่ปี ระสงคใ์ หบ้ รรลุ หรือส่งิ ทอี่ ยาก
2. ระบเุ น้อื หาหรือประเด็นหลักทจี่ ะถามให้ครอบคลุมวตั ถุประสงค์ท่ีจะวิเคราะหข์ อ้ มูล ใหเ้ กดิ ความสำ� เรจ็ ขนึ้ ตามที่คาดหวัง
3. กำาหนดประเภทของคาำ ถามเป็นปลายเปดิ หรือปลายปิด
4. ร่างแบบสอบถาม โดยมโี ครงสรา้ งแบบสอบถามดงั น้ี

- ตอนที่ 1 ขอ้ มูลเบ้อื งตน้ / ขอ้ มูลท่ัวไป
- ตอนท่ี 2 ข้อมูลหลกั เกย่ี วกับเร่ืองจะถาม
- ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ
5. ตรวจสอบข้อคำาถามวา่ ครอบคลมุ เร่ืองที่จะวัดตามวัตถปุ ระสงค์หรือไม่
6. ให้ผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบความเทีย่ งตรงเนื้อหาและภาษาท่ีใช้
7. ทดลองใชแ้ บบสอบถามเพือ่ ดูความเป็นปรนัย ความเชื่อม่นั และเพอ่ื ประมาณเวลาทใ่ี ช้
8. ปรบั ปรงุ แก้ไข
ตวั อยา่ งการสร้างค�าถามออนไลน์
การออกแบบแบบสอบถามให้สรา้ งความสนใจ หวั ข้อเรือ่ ง การทาำ งานทใ่ี ฝ่ฝนั โดยการตอบคำาถามดงั น้ี
1. ก�าหนดวตั ถปุ ระสงค์
หาแนวโนม้ การทำางานของคนยคุ ใหม่ (เดก็ Gen Y และเด็ก Gen Z)
2. ระบุเน้อื หาหรอื ประเดน็ หลกั
อาชพี ตา่ ง ๆ
3. ก�าหนดประเภทของค�าถาม
เป็นคาำ ถามปลายปิด มตี วั เลอื ก
4. ร่างแบบสอบถาม
ตอนที ่ 1 ข้อมูลเบอื้ งต้น / ขอ้ มลู ทว่ั ไป
- เพศ
- ที่อยู่
- อายุ
- ระดับการศกึ ษา
- สายการเรยี น
ตอนท่ี 2 ข้อมูลหลักเก่ยี วกบั เรอื่ งท่ีจะถามและความต้องการ
- ระยะเวลาการทำางานทต่ี ้องการในแตล่ ะเวลา
- จาำ นวนวนั หยุดต่อสัปดาห์
- สถานที่ทาำ งาน
- รปู แบบสถานท่ีทาำ งาน
- เงินเดอื นทตี่ อ้ งการต่อเดือน
- อาชพี ทสี่ นใจ
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ / ขอ้ คิดเหน็
ไม่มี

ค่มู อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5 21

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

กจิ กรรมเสนอแนะ 20 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5

1. ครูให้นักเรียนวิเคราะห์แบบสอบถามในหนังสือหน้าท่ี ตวั อยา่ งแบบสอบถามการท�างานที่ใฝฝ่ นั
การหาแนวโนน้ การท�างานในปจั จบุ ันและอนาคตของคนรุ่นใหม่
20 โดยแบบส�ารวจจะนา� ไปวิเคราะห์ไดถ้ งึ แนวทางแรงงานไทยการใชช้ วี ติ ของคนไทย

2. ครใู หน้ กั เรยี นปรบั รปู แบบแบบสอบถามในหนงั สอื หนา้ ที่ หัวเรอ่ื งในการเกบ็ ขอ้ มลู แนวโนม้ การทาำ งานในปัจจุบนั และอนาคตของคนรนุ่ ใหม่
20 ใหมโ่ ดยยังคงอ้างองิ ขอ้ ความเดิมไว้ หัวขอ้ แบบสอบถาม การทำางานที่ใฝฝ่ ัน

3. ครูสมุ่ นักเรยี น 3-6 คน น�ำเสนอรูปแบบแบบสอบถาม เพศ หญงิ ภาคใต้
ที่สรา้ งข้นึ ใหม่ของตนเอง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ชาย ภาคเหนอื
4. ครูใชค้ ำ� ถามรว่ มอภิปราย ท่อี ยู่ ภาคตะวันตก
คำ� ถาม :
- เหตใุ ดจงึ เลือกสร้างแบบสอบถามรูปแบบนี้ ภาคกลาง
ภาคตะวันออก

อายุ

21-25 ปี 26-30 ปี 31-35 ปี 36-40 ปี

ระดบั การศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย อ่นื ๆ
ป.ตรี ป.โท ป.เอก
ต่าำ กว่าป.6
ปวช, ปวส ศลิ ป์ ภาษา ชา่ ง
สายการเรยี น 8 ชม. 6 ชม. 4 ชม.

วทิ ย์ 2 วนั 3 วัน 4 วัน
ระยะเวลาทตี่ อ้ งการทาำ งานในแต่ละวัน
รา้ นกาแฟ บา้ น พน้ื ทอี่ ิสระ
12 ชม.
จาำ นวนวันหยดุ ตอ่ สัปดาห์

1 วัน
สถานทที่ ำางาน

ออฟฟศิ
เงินเดอื นท่ตี ้องการต่อเดือน (บาท)

10,000 15,000 20,000 30,000

40,000 50,000 80,000 100,000

อาชีพท่สี นใจ ดไี ซนเ์ นอร์ Youtuber
หมอ นกั กีฬา นกั กฬี า E-Sport
พยาบาล นกั ร้อง เจ้าของเวบ็ เพจ
วศิ วกร ดารา นกั รีววิ
สถาปนกิ นักเขียน Star UP
ทหาร นกั ธุรกจิ เน็ตไอดอล
ตาำ รวจ พ่อค้า ขายของออนไลน์
ครู นักวจิ ัย ติวเตอร์ออนไลน์
นกั บิน อ่ืนๆ
แอรโ์ ฮสเตส

22 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ขอ้ มูลและสารสนเทศ 21 แหลง่ สบื ค้น
หลังจากท่ีออกแบบแบบสอบถามเสร็จแล้ว มีวิธีทำาแบบสอบถามให้อยู่ในรูปแบบของออนไลน์ โดยจะสร้าง
แบบสอบถามในการใชง้ านของ Google Form ดงั นี้ ให้นักเรียนสืบค้นขั้นตอนการสมัคร Google Account
ขั้นตอนที่ 1 ลงช่ือเข้าใช้ Google Account เพ่ือเข้าไปใช้บริการของ Google ซึ่งสามารถ Login ได้ที่
:https //accounts.google.com/ Gmail เพิ่มเติมได้ท่ีเว็บไซต์ Youtube เรื่อง วิธีสมัคร

Google Account Gmail

รูปที่ 1.20 หนา้ ตา่ ง Login google

ที่มา : https://accounts.google.com

ขนั้ ตอนที่ 2 หลังจากลงช่ือเขา้ ใช้เสรจ็ แล้วกลับมายงั หน้า Google Search และเลือกทมี่ ุมบนขวา ให้คลิกไปที่
(APP) แลว้ เลือกไปยงั (ไดรฟ)์ เพื่อไปยงั Google Drive

ท่ีมา : www.google.com รูปที่ 1.21 การเข้าสไู่ ดรฟ์ Google

ในหนา้ ของ Google Drive นนั้ จะเป็นคลังเก็บไฟลอ์ อนไลน์ (เม่ือทำาการสรา้ งฟอรม์ แบบสอบถามเสร็จแลว้
ฟอรม์ ทส่ี รา้ งจะอยู่ใน Google Drive)

คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 23

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

แหล่งสบื คน้ 22 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.5 (ใหม)่ → เพิม่ เติม → Google ฟอร์ม
ข้ันตอนที่ 3 เรมิ่ ต้นสร้างแบบสอบถาม โดยไปท่ี
ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขน้ั ตอนการสรา้ งแบบสอบถามออนไลน์

เพม่ิ เตมิ ไดท้ เ่ี วบ็ ไซต์ Youtube เรอ่ื ง การสรา้ งแบบสอบถาม
ออนไลน์

รปู ที่ 1.22 เร่ิมตน้ สร้างแบบสอบถาม
ที่มา : https://drive.google.com/drive/my-drive

วิธีการใช้เครอื่ งมอื หรอื คาำ ส่งั สรา้ งแบบสอบถามบน Google Form

รูปที่ 1.23 คา� สั่งภายในหน้าต่าง Google Form
ทีม่ า : https://drive.google.com/drive/my-drive

1. ช่อื ฟอร์ม 2. ช่ือฟอร์ม
3. ชอ่ งอธบิ ายวตั ถุประสงคข์ องการจดั ทำาแบบสอบถาม 4. คำาถาม
5. ตวั เลือกของคำาถามผตู้ อบแบบสอบถาม 6. เพมิ่ ช่องตัวเลือกของคำาถาม
7. ตวั เลือกของถาม 8. ทาำ สำาเนาชุดคำาถามอกี หนง่ึ ชุด
9. ลบคาำ ถาม 10. ตัง้ ค่าคำาถามขอ้ น้ีเปน็ ขอ้ สาำ คญั
11. สรา้ งคำาถามขอ้ ต่อไป 12. ปรบั เปล่ียนรปู แบบอักษร
13. เพิ่มรูป 14. เพ่มิ คลิป
15. เพม่ิ ชุดคาำ ถามอีกชุดในแบบสอบถามเดียวกัน

24 คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ข้อมลู และสารสนเทศ 23
ขน้ั ตอนท ี่ 4 เมอ่ื เขา้ สหู่ นา้ การออกแบบฟอรม์ ขนั้ ตอนตอ่ ไปใหต้ งั้ ชอื่ แบบฟอรม์ โดยไปทมี่ มุ ซา้ ยบนตรงคาำ วา่
ฟอร์มไมม่ ีชื่อ

รปู ที่ 1.24 หน้าตา่ งแบบฟอร์มสรา้ งแบบสอบถาม
ท่ีมา : https://drive.google.com/drive/my-drive

โดยหลังจากท่ีใสช่ อื่ แลว้ ช่ือของหวั ขอ้ แบบฟอร์มจะทาำ แบบสอบจะถามขึน้ ดังรูปท่ี 1.24

รปู ที่ 1.25 หน้าตา่ งแบบฟอร์มแบบสอบถามทตี่ ัง้ ชอ่ื ใหม่แลว้
ที่มา : https://drive.google.com/drive/my-drive

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 25

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

ความรเู้ พิ่มเติม 24 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5
ข้ันตอนที ่ 5 ใสว่ ัตถปุ ระสงคใ์ นการทำาแบบสอบครงั้ น้ี เพ่อื อธบิ ายวตั ถุประสงคใ์ นการทาำ แบบสอบถาม
ในการอธิบายรายละเอียดของแบบสอบถามออนไลน์
ควรจะต้องใส่ให้ครบถ้วน โดยที่คาดไม่ได้คือการช้ีแจง
วธิ กี ารตอบแบบสอบถาม จำ�นวนขอ้ และเกณฑก์ ารจดั ลำ�ดบั
หรือให้คะแนนในการตอบแบบสอบถาม

รปู ที่ 1.26 การใสค่ �าอธบิ ายแบบสอบถาม
ทมี่ า : https://drive.google.com/drive/my-drive

ข้ันตอนที ่ 6 เริม่ ใสข่ ้อมูลจากแบบสอบถามที่นกั เรยี นได้ออกแบบก่อนหนา้ นี้ โดยที่ในช่อง คำาถามไมร่ ะบชุ ่อื
ดังรูปท่ี 1.25 เป็นช่องให้ใส่คำาถาม ตอ่ มาในชอ่ งตัวเลือกท่ี 1 ดังรูปที่ 1.2 เป็นช่องคาำ ตอบที่ให้ผทู้ ำาแบบสอบถามเลอื ก
โดยการเพิม่ คำาตอบให้คลกิ ตรง -> (เพ่มิ ตัวเลอื ก หรือเพมิ่ อน่ื ๆ ) จะได้ดังรูปท่ี 1.26

รปู ท่ี 1.27 ใสต่ วั เลอื กในแบบสอบถาม
ที่มา : https://drive.google.com/drive/my-drive

26 ค่มู ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ข้อมลู และสารสนเทศ 25 ความรเู้ พิ่มเตมิ
หลงั จากทใ่ี ส่แบบสอบถามขอ้ ท่ี 1 เสร็จ ต่อไปเปน็ การเพิม่ คำาถามข้อท่ี 2 โดยจะมสี ัญลกั ษณ์ ใหค้ ลิก
ลิงก์ หมายถึง การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์สองเคร่ือง
รูปท่ี 1.28 การเพมิ่ ขอ้ ค�าถาม เข้าด้วยกันโดยผ่านทางโมเด็ม (Modem) หรอื สายไฟหรือ
ข่ายงาน (Networks) หรอื หมายถงึ การเช่อื มโยงแฟ้มข้อมูล
ท่มี า : https://drive.google.com/drive/my-drive สองแฟ้มเขา้ ด้วยกัน เพ่อื ให้ใช้รว่ มกันได้ การเปลยี่ นแปลง
ข้อมูลในแฟ้มหน่ึงจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงข้อมูล
ในอกี แฟม้ หนง่ึ ไปดว้ ยโดยอตั โนมตั ิ วธิ นี ท้ี ำ�ไดใ้ นระบบวนิ โดว์
และโอเอส/ทู
การส่งแบบสอบถามให้ผู้ตอบแบบสอบถามตอบน้ัน
จะสามารถเลอื กคนตอบแบบสอบถามไดโ้ ดยการเลอื กกำ� หนด
ใหเ้ ฉพาะผทู้ ไี่ ดร้ บั ลงิ กต์ อบแบบสอบถามเทา่ นน้ั หรอื สามารถ
กำ� หนดไดว้ า่ ผตู้ อบแบบสอบถามสามารถตอบไดแ้ คค่ รง้ั เดยี ว
โดยผู้ตอบแบบสอบถามจะตอ้ งมี Google Account Gmail

โดยหลังจากกดแล้วจะเห็นช่องให้ใส่คำาถามต่อไป ให้ทำาตามข้ันตอนจนกว่าจะใส่ข้อมูลตามแบบสอบถามที่
ออกแบบเสรจ็
ข้นั ตอนที ่ 7 หลงั จากใส่ขอ้ มูลทาำ แบบสอบถามครบแลว้ ขัน้ ตอนตอ่ ไปคือนาำ ลงิ กห์ รือ URL สง่ ต่อทางอีเมล
หรือชอ่ งทางต่างๆ ในส่อื สังคมออนไลน์ได้ ให้กดคลิกที่ ส่ง

รปู ที่ 1.29 การเลอื กสง่ ออกแบบสอบถาม
ทม่ี า : https://drive.google.com/drive/my-drive

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 27

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

กิจกรรมเสนอแนะ 26 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5
ใหเ้ ลอื ก รปู (โซ)่ จะมี URL ขนึ้ ตามรปู ที่ 1.29 ใหน้ าำ URL นส้ี ง่ ตอ่ ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายในการทาำ แบบสอบถาม
1. ครทู ำ� ใบงานหนา้ เวบ็ ไซตข์ อง Google Form ตามรปู จาก
หนังสือเรียนหนา้ ที่ 26 พรอ้ มกำ� กบั หมายเลขที่ไอคอน
ค�ำสัง่ ต่าง ๆ

2. ครูให้นักเรียนท�ำใบงานโดยให้ระบุว่าแต่ละต�ำแหน่ง
ทตี่ ัวเลขช้ีก�ำกบั คอื อะไร และมหี นา้ ทอี่ ะไร

รูปที่ 1.30 ส่งแบบสอบถามโดยการคดั ลอกลงิ ก์
ท่มี า : https://drive.google.com/drive/my-drive

ขั้นตอนท ่ี 8 การดูผลสาำ รวจจากแบบสอบถาม ข้ันตอนมีดังนี้
ใหก้ ดคลกิ การตอบกลบั ตวั เลขท่ีอยหู่ ลงั การตอบกลบั คอื จำานวนคนท่ที ำาแบบสอบถาม

รปู ท่ี 1.31 การดกู ารตอบกลับ
ทมี่ า : https://drive.google.com/drive/my-drive

28 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ขอ้ มลู และสารสนเทศ 27

โดยในท่ีนสี้ ามารถสรปุ ผลได้วา่

รูปที่ 1.32 การดผู ลการตอบกลับ
ที่มา : https://drive.google.com/drive/my-drive

สีนาำ้ เงนิ แทนจาำ นวนเพศชายทเ่ี ข้ามาทำาแบบสอบถาม 75%
สีแดงแทนจาำ นวนเพศหญงิ ทีเ่ ขา้ มาทาำ แบบสอบถาม 25%
หลงั จากทอี่ า่ นสามารถสรปุ ผลจากแบบสอบถามไดแ้ ลว้ กน็ ำาไปวิเคราะห์ผลต่อไป

การจดั เตรียมขอ้ มลู ให้พร้อมกบั การประมวลผล

การเตรียมข้อมูลเพ่ือการประมวลผล เร่ิมจากการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วตรวจสอบข้อมูลทันทีให้ได้ข้อมูลที่มี
คุณภาพตามคณุ สมบตั ิของขอ้ มลู ทด่ี แี ละการเปลี่ยนสภาพข้อมูลกอ่ นการประมวลผล

1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เปน็ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ แบบสอบถาม แบบทดสอบ
แบบสัมภาษณ์ ทง้ั ที่เป็นขอ้ มูลปฐมภมู ิและทุตยิ ภูมิ

2. การเปลี่ยนสภาพข้อมูล เป็นการเปล่ียนสภาพของข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาได้ให้อยู่ในรูปแบบที่สะดวก
หรือเหมาะสมตอ่ การนาำ ไปประมวลผล ซ่งึ ประกอบดว้ ย

2.1 การลงรหสั (Coding) เป็นการเปลยี่ นรปู แบบขอ้ มูลโดยใช้รหสั แทนขอ้ มูลเพ่ือทาำ ใหส้ ามารถจำาแนก
ลักษณะขอ้ มูลได้ รหัสทีใ่ ช้แทนข้อมลู อาจจะอยูใ่ นรปู ตัวเลข ตวั อกั ษร หรอื ขอ้ ความ ซึง่ โดยปกตนิ ยิ มกำาหนดรหัสขอ้ มูล
ใหเ้ ปน็ ตวั เลข

2.2 การแกไ้ ข (Editing) เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มูลรวมท้งั ข้อมลู ท่ไี ด้แปลงให้อยู่ในรูปรหัส
แล้ว รวมท้งั การตรวจสอบความสมบูรณข์ องขอ้ มลู และแกไ้ ขปรบั ปรุงใหถ้ กู ต้อง

2.3 การเปลี่ยนสภาพ (Transforming) เปน็ การเปลย่ี นรปู แบบของขอ้ มลู เพอ่ื สะดวกในการวเิ คราะห์หรือ
ประมวลผล

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5 29

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

L earning for 21st Century Skills 28 เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ม.5

1. แบ่งกลุ่มนกั เรียน 4 - 5 กลุ่ม เฉลยกิจกรรมในหนา้ 41
2. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ แลกเปลย่ี นกนั ตอบคำ� ถามออนไลน์
กจิ กรรมตรวจสอบก�รเรียนรู้ที่ 1.3
ที่ทุกกลมุ่ ได้สร้างขึน้ จนครบทกุ กลุ่ม

L earning for Metacognition สร้างแบบสอบถามออนไลน์ โดยตั้งวัตถุประสงค์ เก่ียวกับการวิเคราะห์การบริโภคบะหมี่สำาเร็จรูปของ
นกั เรยี นในห้องเรยี นเปน็ อาหารเช้า อาหารกลางวัน และอาหารเยน็ เพอ่ื นาำ มาทาำ แบบสอบถามออนไลน์ คำาถาม
1. ใหน้ ักเรียนใช้สมุดองคค์ วามรู้เล่มเดมิ ของตนเอง ในแบบสอบถามตอ้ งมอี ยา่ งน้อย 10 ขอ้ และต้องมผี ตู้ อบแบบสอบถามจาำ นวน 20 คนขนึ้ ไป โดยแลกเปลย่ี นกนั
2. สรุปเปน็ องคค์ วามร้ทู ี่ได้รับจากการสรา้ งแบบสอบถาม ตอบแบบสอบถามออนไลน์

ออนไลน์ การตอบแบบสอบถามออนไลน์ แลว้ บนั ทกึ ลง 4. การประมวลผลข้อมลู และเคร่อื งมอื
ในสมดุ องคค์ วามรู้

I ntroduction แนวคิดส�ำ คญั การประมวลผลข้อมูล คือ การนำาข้อมูลที่มี
อยู่แล้วหรือข้อมูลท่ีได้จากการเก็บรวบรวมและตรวจสอบ
1. ครนู �ำนักเรยี นเขา้ สู่บทเรียนโดยการใชค้ ำ� ถาม การประมวลผลขอ้ มลู คอื การปฏบิ ตั กิ ารทก่ี ระทาำ มากระทำาเพ่ือให้ข้อมูลเปลี่ยนแปลงไปจนเกิดผลลัพธ์ตามที่
ค�ำถาม : ต่อข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศท่ีมีความหมายและ ต้องการ มกั ใชอ้ ุปกรณเ์ ป็นเครื่องมือช่วย เช่น เครือ่ งคิดเลข
- ขอ้ มูลจะทำ� ใหเ้ กดิ สารสนเทศไดอ้ ยา่ งไร (นกั เรยี นตอบ ประโยชน์ในการใช้งาน หรือคอมพิวเตอร์ ซง่ึ อาจจะกล่าวได้ว่าการประมวลผลข้อมลู
คือ กระบวนการเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่มีความ
ตามความเขา้ ใจของตนเองเพอื่ ครผู สู้ อนนำ� เขา้ สบู่ ทเรยี น) หมายและประโยชนใ์ นการใช้งาน
- ขนั้ ตอนและวธิ กี ารประมวลผลขอ้ มลู มอี ะไรบา้ ง (นกั เรยี น
ขั้นตอนการประมวลผลข้อมลู ให้เปน็ สารสนเทศ
ตอบตามความเข้าใจของตนเองเพื่อครูผู้สอนน�ำเข้าสู่
บทเรยี น) รวบรวมขอ้ มลู การประมวลผลข้อมูล สารสนเทศ
2. ครูสรุปว่าต้องน�ำข้อมูลที่เราเก็บรวบรวมมากระท�ำการ ปจั จัยนาำ เข้า กระบวนการ ปัจจยั นาำ ออก
ประมวลผล
คำ� สำ� คัญ : การประมวลผลขอ้ มูลประกอบด้วยกจิ กรรมขนั้ ตอนใหญๆ่ 3 ขนั้ ตอน คือ
- ประมวลผลขอ้ มลู 1. ปัจจยั นา� เข้า (Input) พจิ ารณาข้อมลู นาำ เขา้ (ส่วนนำาเขา้ ) เป็นการเตรียมข้อมูลเพ่ือการประมวลผล (Input
- ปัจจยั นำ� เขา้ Data) กิจกรรมทีอ่ ยู่ในขัน้ ตอนนี้ ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ดังน้ี
- กระบวนการ
- ปัจจยั น�ำออก 1.1 การรวบรวมข้อมลู (Data Gathering)
1.2 การบันทกึ ข้อมลู (Recording)
I ndesign 1.3 การสอบทานข้อมลู (Review of information)
2. กระบวนการ (Process) พจิ ารณาวิธีการประมวลผล (การดำาเนนิ การ) เปน็ การประมวลผลข้อมลู กจิ กรรม
ที่อยูใ่ นขน้ั ตอนนี้ ประกอบด้วยกจิ กรรมต่าง ๆ ดังนี้

1. ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาขนั้ ตอนการประมวลผลขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ I CT
สารสนเทศ

2. ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกนั สรปุ ขนั้ ตอนการประมวลผลขอ้ มลู
ให้เป็นสารสนเทศ

3. ครอู ธิบายวธิ กี ารประมวลผลขอ้ มูล

I nnovation

ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ นกั เรยี น 4-5 คน เขยี นแผนผงั ความคดิ ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการประมวลผลข้อมูลและ
ขนั้ ตอนการประมวลผลขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ สารสนเทศ และวธิ กี าร เคร่ืองมอื โดยใช้ search engine
ประมวลผลขอ้ มูล แสดงตามท่ีกลมุ่ นำ� เสนอ

30 คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ข้อมลู และสารสนเทศ 29 Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition
2.1 การเรียงข้อมูล (Sorting)
2.2 การจัดหมวดหมู่ (Classification) L earning for 21st Century Skills
2.3 การคดั เลอื ก (Selection)
2.4 การคาำ นวณ (Calculation) ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทดลองทำ� การประมวลผลแบบเชอื่ มตรง
2.5 การสรปุ ผล (Summarization) มา 1 รายการ แล้วบนั ทกึ ผลการทดลองสง่ ครู
2.6 การปรับปรงุ ขอ้ มูล (Updating)
3. ปจั จยั น�าออก (Output) พิจารณาสารสนเทศ (ส่วนนำาออก) เป็นการนาำ เสนอผลลพั ธ์ กิจกรรมทีอ่ ยูใ่ น L earning for Metacognition
ขั้นตอนน้ีประกอบดว้ ยกจิ กรรมตา่ ง ๆ ดงั นี้
3.1 การทำารายงาน (Reporting) 1. ใหน้ กั เรียนใชส้ มดุ องค์ความรู้เล่มเดมิ ของตนเอง
3.2 การจัดเก็บข้อมูล (Storing) 2. สรุปเป็นองคค์ วามรูท้ ี่ได้รับจากการทดลองประมวลผล
การประมวลผลน้ีอาจทำาทกุ กจิ กรรมหรือทำาเพียงบางกจิ กรรมก็ได้แลว้ แตผ่ ลลพั ธห์ รือสารสนเทศทตี่ อ้ งการ
แบบเช่อื มตรง แลว้ บนั ทกึ ลงในสมุดองค์ความรู้
วิธีการประมวลผลขอ้ มูล

การประมวลผลแบ่งตามลักษณะของเคร่ืองมือและเทคนิควิธีการประมวลผลข้อมูลที่ใช้ สามารถแบ่งได้ตาม
เคร่อื งมือการนาำ ขอ้ มูลมาประมวลผลได้ 3 วธิ ี
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual) เป็นการใช้มือและสมองในการประมวลผลเป็นสำาคัญ ใช้กระดาษ
และดนิ สอช่วยในการจดบันทกึ อาจใชเ้ ครอื่ งมือ เช่น ลูกคดิ หรือเครอ่ื งคดิ เลขชว่ ยคำานวณ ใชพ้ ิมพด์ ดี ช่วยพิมพ์รายงาน
ใชโ้ ทรศัพทใ์ นการสือ่ สาร เมอ่ื คาำ นวณเรียบรอ้ ยแล้วกอ็ าจจะมีการจัดเกบ็ โดยการเรียงเข้าแฟ้ม วธิ ีนเ้ี หมาะสำาหรับงานท่ี
มีปรมิ าณขอ้ มลู นอ้ ยและมีวิธีการคำานวณไมซ่ ับซ้อน
2. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) เป็นการประมวลผลขอ้ มูลเป็นครัง้ คราว เช่น การสาำ รวจ
ความนยิ มหรอื ทเ่ี รยี กวา่ โพล (Poll) กม็ กี ารสาำ รวจขอ้ มลู โดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยการสมุ่ ตวั อยา่ งจากผทู้ ส่ี นใจหลายๆ
กลุ่ม เม่ือเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำามาป้อนเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์แล้วนำาข้อมูลน้ันมาประมวลผลตามโปรแกรม
ที่ไดก้ าำ หนดไว้ เพื่อรายงานผลหรอื สรปุ ผลหาคำาตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลมุ่ จงึ กระทำาในลกั ษณะเป็นครง้ั ๆ เพือ่
ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ โดยจะตอ้ งมกี ารรวบรวมข้อมลู ไว้ก่อน วธิ กี ารนเ้ี หมาะกบั ข้อมลู ปานกลาง
3. การประมวลผลแบบเชอ่ื มตรง (Online Processing) เปน็ การประมวลผลโดยตรงกบั เครอื่ งคอมพวิ เตอร์
ระหวา่ งคอมพวิ เตอรก์ บั อุปกรณ์รอบข้างหรือระหวา่ งคอมพิวเตอรก์ ับคอมพวิ เตอร์ดว้ ยกนั การประมวลผลแบบเช่ือมตรง
จึงเปน็ การประมวลผลโดยทันทที ันใด เช่น การจองต๋ัวเครอ่ื งบิน การซ้ือสนิ คา้ ในห้างสรรพสนิ ค้า การฝากถอนเงินผา่ น
ตเู้ อทเี อม็ การประมวลผลแบบเชอื่ มตรงจึงเป็นวิธกี ารทใี่ ช้กันมาก เพราะผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยาำ และรวดเรว็ เหมาะกับ
งานทม่ี ีข้ันตอนซา้ำ ๆ เหมือนเดมิ จาำ นวนมาก
เฉลยกิจกรรมในหนา้ 42

กจิ กรรมตรวจสอบก�รเรยี นร้ทู ่ี 1.4

อธบิ ายความแตกตา่ งของวธิ กี ารประมวลผลดว้ ยมอื การประมวลผลแบบกลมุ่ และการประมวลผลแบบเชอ่ื ม
ตรง มคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งไร

ค่มู อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการคำ� นวณ) ม.5 31

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

I ntroduction 30 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5

1. ครนู ำ� เขา้ สบู่ ทเรียนดว้ ยคำ� ถาม 5. สารสนเทศ
คำ� ถาม :
- สารสนเทศหมายถงึ อะไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ แนวคิดสำ�คัญ สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ผลลพั ธข์ อง
ขอ้ มลู ทผ่ี า่ นการประมวลผลดว้ ยวธิ กี ารทเี่ หมาะสมและถกู ตอ้ ง
ของตนเองเพ่อื ครูผสู้ อนนำ� เข้าสู่บทเรียน) สารสนเทศ คือขอ้ มูลท่ีผ่านการประมวลผลด้วย ตรงกบั ความตอ้ งการของผูใ้ ช้ ซง่ึ สามารถนำาไปใชป้ ระโยชน์
- ระบบสารสนเทศหมายถึงอะไร (นักเรียนตอบตาม วิธีการที่เหมาะสมและถูกต้องซ่ึงตรงกับความต้องการ ได้ในการวางแผน การควบคมุ การพฒั นา การตัดสนิ ใจ
ของผู้ใช้ในรูปแบบท่ีใช้งานได้และอยู่ในช่วงเวลาที่
ความเข้าใจของตนเองเพ่อื ครูผสู้ อนน�ำเข้าสบู่ ทเรยี น) ตอ้ งการ สารสนเทศทดี่ จี ะตอ้ งมคี วามถกู ตอ้ ง ความสมบรู ณ์
- ประเภทสารสนเทศมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตาม ความนา่ เชอื่ ถอื และมคี วามทนั สมยั โดยมรี ปู แบบการนาำ เสนอ
ระบบสารสนเทศ ทส่ี วยงาม เขา้ ใจงา่ ย ชดั เจน และนา่ สนใจ เชน่ เม่ือตอ้ งการ
ความเขา้ ใจของตนเองเพอื่ ครผู ูส้ อนน�ำเขา้ สู่บทเรยี น) สารสนเทศไปใชใ้ นการวางแผนการขาย สารสนเทศทตี่ อ้ งการ
- อะไรคือองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ (นักเรียน กค็ วรจะเปน็ รายงานสรปุ ยอดการขายแตล่ ะเดอื นในปที ผ่ี า่ น
มาทเ่ี พยี งพอแก่การตัดสนิ ใจ
ตอบตามความเข้าใจของตนเองเพื่อครูผู้สอนน�ำเข้าสู่
บทเรยี น) ระบบสารสนเทศ หมายถงึ การจดั การข้อมูลตามข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ านโดยมีบคุ คลเปน็ ผู้ใช้ฮารด์ แวร์และ
- กระบวนการจดั ทำ� ขอ้ มลู และสารสนเทศมวี ธิ ที ำ� แบบใด ซอฟต์แวร์ เพ่ือให้ได้สารสนเทศทตี่ อ้ งการ
(นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเองเพ่ือครูผู้สอน
นำ� เขา้ สู่บทเรียน) ระบบสารสนเทศที่เก่ียวข้องในองค์กรแบ่งการจัดการสารสนเทศได้ตามจำานวนคนท่ีเก่ียวข้อง ตามรูปแบบ
- คุณสมบัติของสารสนเทศท่ีดีและมีคุณค่ามีอะไรบ้าง การรวมกลมุ่ ขององคก์ ร ได้ 3 ระดบั
(นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเองเพื่อครูผู้สอน
น�ำเข้าส่บู ทเรยี น) 1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบท่ีเสริมประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุคคลในหน้าที่
คำ� ส�ำคัญ : ท่ีรับผิดชอบ จะเป็นการท่ีแต่ละบุคคลในองค์กรจะสร้างและใช้สารสนเทศเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำางานส่วนตัว
- สารสนเทศ เทา่ นน้ั
- ระบบสารสนเทศ
- ประเภทสารสนเทศ 2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ ระบบสารสนเทศท่ีช่วยเสริมการทำางานของกลุ่มบุคคลท่ีมีเป้าหมาย
- องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ การทาำ งานร่วมกนั ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ

I ndesign หลักการ คือ นาำ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชอื่ มโยงกนั เปน็ เครอื ข่ายระยะใกลห้ รอื ระยะไกล ทำาให้
มีการใช้ทรัพยากร ได้แก่ ขอ้ มลู และอปุ กรณเ์ ทคโนโลยพี ้ืนฐานรว่ มกัน
1. ครูแบง่ นักเรยี นออกเปน็ กลุม่ จำ� นวน 4 กลุม่
2. ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มศกึ ษาฐานความรจู้ ำ� นวน 4 ฐาน โดย 3. ระบบสารสนเทศระดับองค์กร คือ ระบบสารสนเทศท่สี นับสนนุ การดำาเนินงานขององค์กรในภาพรวม
ระบบจะเก่ยี วขอ้ งกบั การปฏิบตั ิงานร่วมกันของหลายแผนกโดยใช้ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วข้องรว่ มกนั
มกี ารหมนุ เวียนกนั ศกึ ษาให้ครบทกุ กลมุ่
ฐานความรู้ 4 ฐาน มดี งั นี้ หลกั การ คือ นาำ เครอ่ื งคอมพิวเตอรข์ องเเผนกต่าง ๆ มาเชือ่ มโยงกนั เปน็ เครอื ข่ายเพอ่ื ใหเ้ กดิ การใชข้ อ้ มลู
ฐานความรทู้ ี่ 1 ระบบสารสนเทศ ร่วมกัน
ฐานความรทู้ ่ี 2 ประเภทสารสนเทศ
ฐานความรทู้ ี่ 3 องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ ส่ิงท่ีสาำ คัญของระบบสารสนเทศระดับกลมุ่ และระดบั องค์กร คอื การเชอื่ มโยง
ฐานความรทู้ ี่ 4 กระบวนการจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ คอมพิวเตอรเ์ ปน็ เครอื ข่ายท้งั ภายในองคก์ รและการเชื่อมโยงภายนอกองคก์ รเพือ่ ใหม้ กี ารส่อื สารและสง่ ข้อมูล
3. เมื่อศึกษาครบทั้ง 4 ฐานความรู้แล้ว ให้แต่ละกลุ่ม ถงึ กนั ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

น�ำความรู้มาอภิปรายกัน พร้อมทง้ั สรปุ ความรู้ที่ศกึ ษา I nnovation
ใหต้ รงกันเพื่อความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกัน
ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มนักเรียน 4-5 คน ท�ำป้ายนิเทศ
น�ำเสนอแผนผังความคิด องค์ประกอบระบบสารสนเทศ
ตามที่กล่มุ น�ำเสนอ

I CT

ให้นักเรยี นสบื คน้ ข้อมลู เกย่ี วกบั รปู แบบสารสนเทศ โดยใช้

search engine

32 คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ 31 กจิ กรรมเสนอแนะ
สารสนเทศสามารถแบง่ ประเภทตามสภาพความต้องการที่จดั ทาำ ขึน้ ได้ ดงั นี้
1. สารสนเทศท่ีท�าประจ�า เป็นสารสนเทศที่จัดทำาข้ึนเป็นประจำาและมีการดำาเนินการโดยสม่ำาเสมอ เช่น 1. ครใู หน้ กั เรยี นเขยี นแผนผงั ความสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบ
การทาำ รายงานสรปุ จาำ นวนนกั เรยี นทขี่ าดเรยี นในแตล่ ะวนั รายงานเกย่ี วกบั จาำ นวนนกั เรยี นใชห้ อ้ งสมดุ โรงเรยี นประจาำ วนั ของระบบสารสนเทศตามความคดิ ของตัวเอง
รายงานการใช้ยาในหอ้ งพยาบาลประจาำ สปั ดาห์
2. สารสนเทศทต่ี อ้ งทา� ตามกฎหมาย ตามขอ้ กาำ หนดของแตล่ ะประเทศจะมกี ารทาำ รายงานสง่ เพอื่ การตา่ ง ๆ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแผนผังความสัมพันธ์
เชน่ งบดลุ ของบรษิ ทั ทีต่ อ้ งทาำ ขนึ้ เพอื่ ย่ืนต่อทางราชการและใชก้ ารเสยี ภาษี องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
3. สารสนเทศทไี่ ดร้ บั มอบหมายใหจ้ ดั ทา� ขนึ้ โดยเฉพาะ ในการดาำ เนนิ งานตา่ ง ๆ บางครงั้ จาำ เปน็ ตอ้ งทาำ
รายงานขอ้ มูลมาชว่ ยสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ เช่น โรงเรียนตอ้ งการสรา้ งลานอเนกประสงค์และจำาเปน็ ตอ้ งได้ขอ้ มลู เพ่ือ
สนับสนุนว่าจะสร้างหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือสรุปรายงานข้ึนเป็นการเฉพาะ แล้วนำาสารสนเทศน้ัน
มาพจิ ารณาถึงผลดีและผลเสียเพ่อื สนับสนนุ การตดั สินใจ การดำาเนินงานเพื่อให้ไดส้ ารสนเทศเหลา่ นี้จงึ เป็นงานเฉพาะ
ที่จัดทาำ เป็นครง้ั คราวเพ่อื โครงการหนงึ่ ๆ เท่าน้นั
ระบบสารสนเทศเปน็ องค์ประกอบที่สำาคญั ทีช่ ว่ ยขบั เคลื่อนใหก้ ารนาำ ขอ้ มลู มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ ซงึ่ มี 5 ส่วน
ดงั นี้
1. บุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สำาคัญที่สุด มีความรู้ มีความสามารถ และรู้วิธีการที่ทำาให้ได้สารสนเทศ
จะเป็นผ้ดู ำาเนนิ การในการทำางานท้ังหมด บคุ ลากรแบง่ ออกเป็น ระดับผู้ใช้ ผู้บริหาร ผ้พู ัฒนาระบบ นักวเิ คราะห์ระบบ
และนักเขียนโปรแกรม
2. ข้ันตอนการปฏิบัติงาน เป็นระเบียบวิธีในการปฏิบัติงาน ขณะใช้งานต้องนึกถึงลำาดับข้ันตอน
การปฏิบัติของคนและความสัมพันธ์กับเครื่องท้ังในกรณีปกติและกรณีฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ข้ันตอน
การประมวลผล ข้ันตอนปฏิบัติเมื่อข้อมูลชำารุดหรือสูญหาย การทำาสำาเนาข้อมูลเพ่ือความปลอดภัย ส่ิงเหล่านี้ต้องมี
การซักซ้อมมกี ารเตรยี มการและการทาำ เอกสารคู่มอื การใช้งานทช่ี ดั เจน
3. ฮารด์ แวร ์ หมายถงึ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ อปุ กรณร์ อบขา้ ง รวมทงั้ อปุ กรณส์ อื่ สารสาำ หรบั เชอ่ื มโยงคอมพวิ เตอร์
เขา้ เปน็ เครอื ขา่ ย เครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ องคป์ ระกอบหนงึ่ ทส่ี าำ คญั ของระบบสารสนเทศเพราะเปน็ เครอ่ื งมอื ทช่ี ว่ ยจดั การ
หรอื ประมวลผลขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ สารสนเทศตามตอ้ งการ
4. ซอฟตแ์ วร ์ หมายถงึ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ เปน็ ชดุ คาำ สง่ั ทเี่ รยี งลาำ ดบั ขน้ั ตอนเพอื่ สงั่ ใหฮ้ ารด์ แวรท์ าำ งาน
เพอ่ื ประมวลผลให้เกิดสารสนเทศตามความต้องการของการใช้งาน
5. ข้อมูล เป็นวัตถุดิบที่ทำาให้เกิดสารสนเทศ จะต้องมีความถูกต้องและทันสมัย กลั่นกรองและตรวจสอบ
แล้วเท่านัน้ จงึ จะมปี ระโยชน์ ขอ้ มลู ต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เปน็ ระบบ เป็นระเบยี บ เพ่อื การสืบค้นทรี่ วดเรว็ และ
มีประสทิ ธิภาพ
ส่วนประกอบท้ัง 5 ส่วน ทำาให้เกิดสารสนเทศได้ หากขาดส่วนประกอบใดหรือส่วนประกอบใดไม่สมบูรณ์
กจ็ ะทาำ ใหร้ ะบบสารสนเทศไม่สมบรู ณ์

คู่มอื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 33

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

32 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5

กระบวนการจัดการข้อมลู และสารสนเทศ

การทาำ ขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ สารสนเทศจาำ เปน็ ตอ้ งอาศยั เทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยดาำ เนนิ การ เรมิ่ ตงั้ แตก่ ารจดั การสารสนเทศ
รวมถึงข้ันตอนการดำาเนินการ ดงั นี้

1. การรวบรวม บนั ทึก และตรวจสอบข้อมูล
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เริ่มต้นด้วยการจดบันทึก การสอบถามโดยตรง การออกแบบสอบถาม

ส่งไปยงั กลุ่มเปา้ หมายใหก้ รอกข้อความหรือทาำ เคร่อื งหมายลงในแบบสอบถาม
1.2 การบันทึก เป็นกิจกรรมที่ทำาต่อจากการรวบรวมข้อมูล เพื่อสร้างข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ใช้งาน

ได้งา่ ย
1.3 การตรวจสอบข้อมูล เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเมื่อได้รับข้อมูลมาทันที และมี

การตรวจทานหรือแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง ข้อมูลท่ีจัดเก็บต้องถูกต้องและเชื่อถือได้เพราะหากข้อมูลไม่น่าเชื่อถือแล้ว
สารสนเทศทไ่ี ด้จากขอ้ มูลนัน้ กไ็ ม่นา่ เชอื่ ถือด้วย

2. การประมวลผลขอ้ มูลใหเ้ ป็นสารสนเทศ
2.1 การจดั หมวดหมู่ เปน็ การจดั กลมุ่ ขอ้ มลู ทมี่ คี ณุ สมบตั ชิ นดิ เดยี วกนั ไวด้ ว้ ยกนั เปน็ แฟม้ ขอ้ มลู การเกบ็

รวบรวมข้อมลู ไว้เปน็ แฟม้ ข้อมลู น้นั เปน็ ขน้ั ตอนที่สำาคญั ขั้นตอนหน่งึ การไปสำารวจข้อมูลไมว่ า่ ในเรือ่ งอะไร ส่วนใหญ่จะ
รวบรวมข้อมลู มาหลายเรอ่ื ง จำาเปน็ ต้องแบ่งแยกขอ้ มลู ออกเป็นกลุม่ เป็นเรื่องไว้เป็นแฟม้ ข้อมลู เชน่ จดั ตามเพศ อาชพี
เพอ่ื ให้การดาำ เนนิ การในขั้นตอนต่อไปจะไดส้ ะดวกและรวดเรว็ ขึ้น

2.2 การจดั เรยี งขอ้ มลู ขอ้ มลู ทเี่ กบ็ ไวเ้ ปน็ แฟม้ ควรมกี ารจดั เรยี งลาำ ดบั ขอ้ มลู ใหม่ เพอ่ื สะดวกตอ่ การคน้ หา
หรอื อา้ งองิ ในภายหลัง การจัดเรยี งลาำ ดบั ข้อมลู อาจเป็นตัวเลขหรอื ตวั อักษรก็ได้ เชน่ การจัดเรียงชอ่ื ตามอกั ษร

2.3 การคดั เลอื ก เปน็ การคดั เลอื กแฟม้ ขอ้ มลู ทมี่ คี ณุ สมบตั ติ รงกบั ความตอ้ งการจากแฟม้ ขอ้ มลู ทกี่ าำ หนด
เพ่อื อำานวยความสะดวกในการใช้ข้อมลู

2.4 การค�านวณ เป็นกิจกรรมเก่ียวกับการคำานวณ เช่น บวก ลบ คูณ หาร ยกกำาลัง ถอดราก และ
การเปรียบเทียบ ข้อมูลท่ีจัดเก็บมีท้ังข้อมูลท่ีเป็นตัวอักษร ข้อความ และตัวเลข ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลท่ีสามารถ
นำาไปคาำ นวณได้ เชน่ หาค่าเฉล่ีย หาผลรวม หาจุดคมุ้ ทที่ ุน

2.5 การสรุปผล เป็นการกล่ันกรองหรือย่นย่อข้อมูลให้กะทัดรัด โดยแสดงผลรวมหรือส่วนที่สำาคัญ
บางครงั้ ข้อมูลทจ่ี ัดเก็บเปน็ จาำ นวนมากตอ้ งมกี ารสรุปผล ขอ้ มูลที่สรปุ จะสื่อความหมายได้ดีกว่าการดทู ้งั หมด ชว่ ยให้ผูใ้ ช้
ดูเฉพาะส่วนที่เป็นสาระสาำ คัญและช่วยลดเวลาในการดขู ้อมูล

2.6 การท�ารายงาน เป็นการแสดงผลข้อมูลตามรูปแบบที่ต้องการ การสรุปทำารายงานให้ตรงกับ
ความตอ้ งการของการใชง้ านอาจทาำ ดว้ ยมอื โดยใชก้ ระดาษกรอกลงในแบบฟอรม์ สว่ นทร่ี ายงานทจี่ ดั ทาำ โดยคอมพวิ เตอร์
สามารถแสดงผลทางจอภาพหรอื เครอื่ งพมิ พเ์ ปน็ แผนภาพไดด้ ว้ ย ทาำ ใหก้ ารใชส้ ารสนเทศมปี ระสทิ ธภิ าพและรวดเรว็ ขน้ึ

3. การดูแลรกั ษาขอ้ มลู
3.1 การจัดเกบ็ ข้อมูลที่มกี ารสาำ รวจหรอื รวบรวมมาและมีการประมวลผลใหเ้ ป็นสารสนเทศจำาเป็นต้อง

ดาำ เนินการจดั เก็บเอาไวเ้ พอ่ื ใชใ้ นภายหลงั โดยบนั ทึกขอ้ มลู ในอุปกรณจ์ ัดเก็บ เชน่ แผ่นบนั ทกึ หรอื ซดี ีรอม
3.2 การทา� สา� เนา ข้อมูลหรือสารสนเทศควรทำาสาำ เนาไวเ้ พือ่ ปอ้ งกันการเสยี หาย หากตอ้ งการใช้ข้อมลู

ก็สามารถคัดลอกหรือทำาสาำ เนาขน้ึ ใหม่ได้ จงึ ควรคาำ นงึ ถึงความจุและความทนทานของส่อื บันทึกขอ้ มลู

34 คู่มือครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ขอ้ มูลและสารสนเทศ 33 Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition
3.3 การสอื่ สารข้อมลู และการเผยแพรข่ อ้ มลู การทา� สารสนเทศ เมอื่ ตอ้ งการแจกจา่ ยขอ้ มลู ใหผ้ อู้ นื่
ใช้สามารถกระทำาการแจกจ่ายได้โดยง่ายด้วยการพิมพ์เอกสารหรือส่งไปไว้อินเทอร์เน็ตที่เป็นสื่อท่ีช่วยให้การเผยแพร่ L earning for 21st Century Skills
ทาำ ได้กวา้ งขวางมากขึน้
นกั เรยี นออกแบบสารสนเทศของหอ้ งเรยี นและจดั ทำ� สารสนเทศ
3.4 การปรับปรุงข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์เพื่อใช้งาน ดังน้ันจึงควรปรับเปล่ียนข้อมูลให้ คนละ 1 ชิน้
ทันสมัยอยู่เสมอ โดยการเพิ่มข้อมูลใหม่เข้าไปในแฟ้ม ลบข้อมูลเก่าท่ีไม่ใช้แล้วออกจากแฟ้ม การปรับปรุงข้อมูลเป็น
กิจกรรมที่ต้องทำาและสาำ คญั มากตอ่ การประมวลผลข้อมูลเพราะข้อมูลมกั มกี ารเปลย่ี นแปลงอย่เู สมอ L earning for Metacognition

คุณสมบัตขิ องสารสนเทศทีด่ ีและมีคุณคา่ จะต้องมีคุณสมบัติ ดงั นี้ 1. ใหน้ ักเรยี นใช้สมุดองค์ความรเู้ ล่มเดิมของตนเอง
1. มีความถกู ตอ้ งแม่นยำา (Accurate) 2. สรปุ เปน็ องคค์ วามรทู้ ไ่ี ดเ้ รยี นรจู้ ากแตล่ ะฐาน แลว้ บนั ทกึ
2. มคี วามกระชับรัดกมุ (Concise)
3. มีความสมบรู ณใ์ นตวั เอง (Complete) ลงในสมดุ องคค์ วามรู้
4. มีความสัมพนั ธก์ ัน (Relevant)
5. มคี วามทันสมัย (Timely)

เฉลยกิจกรรมในหนา้ 43

กิจกรรมตรวจสอบก�รเรียนรทู้ ี่ 1.5

เขียนผงั ความคดิ สรปุ องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศทง้ั หมด

คูม่ อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 35

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

34 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5

Knowledge ขอ้ มลู
ขอ้ มลู คอื ขอ้ เทจ็ จรงิ ทเี่ ราสนใจ ไมว่ า่ จะ
การเลอื กใช้แหลง่ ขอ้ มลู เป็นเรื่องของคน สตั ว์ ส่งิ ของ หรอื เหตุการณ์
แหล่งข้อมูล หมายถึง สถานที่หรือ ตา่ ง ๆ ซ่งึ ข้อมลู ท่ดี จี ะตอ้ งมีความถูกตอ้ ง โดย
แหล่งท่ีเกิดข้อมูล แหล่งข้อมูลจะแตกต่าง จะแบง่ ไดเ้ ปน็ ขอ้ มลู แบบปฐมภมู แิ ละขอ้ มลู แบบ
กันไปตามข้อมูลท่ีต้องการ ซ่ึงมีท้ังแหล่ง ทุติยภูมิ
ข้อมูลภายนอก แหล่งข้อมูลภายใน และ ข้อมูลและสารสนเทศ
แหลง่ ข้อมลู ออนไลน์

สารสนเทศ การเก็บขอ้ มูลและการจัดเตรยี มขอ้ มูล
สารสนเทศ คือ ผลลัพธข์ องข้อมูลท่ี การเก็บข้อมูลสามารถทำาได้หลายวิธี
ผา่ นการประมวลผลดว้ ยวธิ กี ารทเี่ หมาะสม
และถูกต้องตรงกับความต้องการของผู้ใช้ เพ่ือที่จะให้ได้มาซ่ึงข้อมูลท่ีจะนำาไปใช้ต่อไป
ซงึ่ สามารถนาำ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดใ้ นการวางแผน โดยอาจจะเป็นการทำาแบบสอบถามเพ่ือที่จะ
การควบคุม การพฒั นา การตดั สินใจ ใหไ้ ดผ้ ลมาวเิ คราะห์

รวบรวมขอ้ มูล การประมวลผลข้อมลู สารสนเทศ
ปัจจัยนาำ เข้า ปจั จัยนาำ ออก
การประมวลผลขอ้ มูล
กระบวนการ

Process Attribute

1. จำาแนกประเภทข้อมลู 1. ตง้ั ใจ ใฝเ่ รียนรู้
2. จำาแนกประเภทแหล่งข้อมลู 2. การทำางานร่วมกันเปน็ ทีม
3. ใช้อินเทอรเ์ น็ตสบื คน้ ข้อมลู
4. อธบิ ายวิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
5. จาำ แนกข้ันตอนการประมวลผลขอ้ มูล
6. จาำ แนกองค์ปะกอบของระบบสารสนเทศ
7. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

36 คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมลู และสารสนเทศ 35

เฉลยกจิ กรรมในหน้า 43

กิจกรรมเพ่อื สง่ เสรมิ คว�มคิดสร้�งสรรค์
“ก�รประมวลผลข้อมลู ให้เป็นส�รสนเทศ”

จดุ ประสงค์
เพอ่ื สรปุ วิธกี ารประมวลผลขอ้ มลู เป็นสารสนเทศ

ค�าช้ีแจง
1. ให้นักเรยี นจดั กลมุ่ และตั้งชือ่ กลุ่ม
2. การทำากิจกรรมต้องระดมสมองในการสืบค้นความร้ดู ้านวิทยาศาสตร์และความร้ใู นกล่มุ สาระ
การเรยี นรอู้ น่ื ๆ โดยนาำ มาบรู ณาการสรา้ งผลงาน อภปิ รายเพอ่ื แสดงความคดิ เหน็ โดยใชเ้ หตผุ ลใน
การโตแ้ ยง้ จากประจกั ษพ์ ยานทพ่ี บตลอดการทาำ กจิ กรรมเพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลงานทม่ี คี ณุ ภาพ มคี วามคดิ
สรา้ งสรรค์ โดยคาำ นงึ ถงึ ผลประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ บั จากการทาำ กจิ กรรม

สถานการณท์ ่ีกา� หนด
ทาำ อยา่ งไรจึงจะไดส้ ารสนเทศตามวตั ถุประสงค์ของตนเอง

คมู่ ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5 37

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

36 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5

เฉลยกิจกรรมในหน้า 43

ค�ำ ถ�มท�้ ยหนว่ ยก�รเรยี นรู้

ตอนท่ี 1 ตอบคาำ ถามต่อไปนใ้ี หถ้ กู ตอ้ ง
1. อธบิ ายความหมายของคาำ ตอ่ ไปนี้
1.1 ข้อมูล
1.2 ประมวลผลขอ้ มูล
1.3 สารสนเทศ
2. ข้อมลู ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
3. ขอ้ มลู แตกต่างจากสารสนเทศอยา่ งไร
4. เขียนแผนภาพการแปลงข้อมูลเปน็ สารสนเทศ
5. บอกลกั ษณะของข้อมลู ทีด่ ี
6. ขอ้ มูลปฐมภมู ิแตกต่างจากขอ้ มลู ทตุ ิยภูมิอยา่ งไร
7. อธิบายวิธกี ารสรา้ งคำาถามแบบออนไลน์
8. องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศมอี ะไรบ้าง
9. กระบวนการจดั การข้อมูลและสารสนเทศมกี ีข่ ั้นตอน อะไรบ้าง
10. คุณสมบตั ิของสารสนเทศที่ดเี ปน็ อย่างไร

ตอนท่ี 2 กจิ กรรมเลอื กตั้งประธานห้องเรียน
1. ใหจ้ ดั แบง่ กลมุ่ นกั เรียนในห้องออกเปน็ 5 กล่มุ
2. แตล่ ะกลมุ่ เลอื กตัวแทนจับฉลากลาำ ดบั ทข่ี องกลุ่ม
3. มอบหมายหน้าท่ีให้ดาำ เนินการดงั น้ี
กล่มุ ท่ี 1 รบั สมัครผูท้ ี่จะเป็นประธานนักเรยี น อย่างน้อย 3 คน
กลมุ่ ที่ 2 กำาหนดคุณสมบัตผิ สู้ มัครพร้อมตรวจสอบคุณสมบัติผสู้ มคั ร ใหไ้ ดผ้ ูส้ มคั รมคี ณุ สมบตั คิ รบอย่าง
นอ้ ย 3 คน
กลมุ่ ที่ 3 ดำาเนนิ การเลือกตง้ั
กลมุ่ ท่ี 4 นบั คะแนน
กลมุ่ ที่ 5 ประกาศผลคะแนน
4. หลังประกาศผลคะแนน ใหท้ กุ กลุ่มทำารายงานแสดงสารสนเทศ กิจกรรมเลอื กตั้งประธานนักเรียน พร้อม
ท้ังระบวุ า่ ขนั้ ตอนใดเป็นขัน้ ตอนรวบรวมขอ้ มูล (ปัจจัยนาำ เข้า) การประมวลผลขอ้ มูล (กระบวนการ) และ
สารสนเทศ (ปจั จยั นำาออก)

38 ค่มู ือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

เฉลย

(จากกจิ กรรมในหนา้ 8)
กจิ กรรมตรวจสอบการเรียนรูท้ ่ี 1.1
1. ขอ้ มูลปฐมภมู กิ บั ข้อมลู ทุติยภูมิ มคี วามเหมอื นกัน คอื เป็นข้อมลู เหมือนกัน จะแตกตา่ งกนั ที่แหล่งทีม่ าในการเก็บข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซ่ึงอาจจะได้จาก

การสอบถาม การสมั ภาษณ์ การสำ� รวจ การจดบนั ทกึ การสงั เกตการณห์ รอื ใหต้ อบแบบสอบถาม ตลอดจนการจดั หามาดว้ ยเครอ่ื งจกั ร
อัตโนมัติตา่ ง ๆ ท่ดี ำ� เนินการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ได้ เช่น เครื่องอา่ นรหสั แท่ง เคร่อื งอ่านแถบแมเ่ หลก็ ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์ ขอ้ มลู จาก
การสังเกต ขอ้ มูลจากการทดลอง ขอ้ มูลการรบั นกั เรยี นแตล่ ะปกี ารศกึ ษา ขอ้ มลู ปฐมภมู จิ ึงเปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานทีไ่ ดม้ าจากจดุ ก�ำเนดิ ของ
ขอ้ มูลนน้ั  ๆ เปน็ ข้อมูลท่มี ีรายละเอียดตามทผ่ี ู้ใชต้ ้องการ แตต่ ้องเสยี เวลาและคา่ ใช้จ่ายมาก และขอ้ มูลทไี่ ดย้ งั เปน็ ข้อมูลดบิ (Raw
Data) ซง่ึ เป็นข้อมลู ท่ียังไม่ได้วเิ คราะห์
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลท่ีมีผู้อ่ืนรวบรวมไว้ให้แล้วอย่างเป็นระบบ บางคร้ังอาจจะมีการประมวลผล
เพอื่ เป็นสารสนเทศ ผ้ใู ชข้ อ้ มูลไม่จำ�เป็นต้องไปลงมอื เก็บรวบรวมและสำ�รวจเอง เช่น ขอ้ มลู สถิตจิ ากหนว่ ยงานต่าง ๆ ท้งั ภาครฐั และ
เอกชน สถิติจำ�นวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการส่งสินค้าออก สถิติการนำ�สินค้าเข้า ข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์เผยแพร่เพื่อ
ให้ใช้งานได้ หรือ นำ�เอาไปประมวลผลต่อไดท้ ันที จึงประหยดั เวลาและค่าใช้จา่ ย แต่บางคร้ังข้อมลู ทุติยภูมิจะไม่ตรงกบั ความตอ้ งการ
หรือมีรายละเอียดไม่พอ นอกจากนั้นผู้ใช้จะไม่ทราบถึงข้อผิดพลาดของข้อมูล ซึ่งอาจจะทำ�ให้ผู้ท่ีนำ�มาใช้สรุปผลผิดพลาดไปด้วย
ผู้ท่ีนำ�ข้อมลู ทุติยภมู ิ มาใช้ควรจะตอ้ งระมดั ระวงั เป็นอยา่ งยิง่
2. เรียงลำ� ดบั หนว่ ยของขอ้ มลู จากขนาดใหญ่ที่สดุ ไปหาขนาดเล็กทส่ี ดุ ไดด้ งั นี้

ฐานข้อมลู  แฟม้ ข้อมลู  ระเบยี นข้อมูล  เขตขอ้ มูล  ตัวอักขระ  บติ

3. ขอ้ มลู อักขระ (Character data) เปน็ ข้อมลู ตวั อักษร โดด ทส่ี ามารถนำ� มารวมกัน ไม่สามารถใชค้ �ำนวณได้ เชน่ ตัวอกั ษร ก.ไก่ ตวั อกั ษร
สระ -า น�ำมารวมกนั เป็น กา เป็นคำ� โดด

ขอ้ มูลชนิดขอ้ ความ (Text data) เป็นขอ้ มูลตัวอักขระจ�ำนวนมากๆ เชน่ บทความ ข้อเขยี น ขา่ วในหนงั สอื พมิ พ์
4. ภาพชนดิ GIF มคี วามแตกต่างจากภาพ JPEG ระบบสี ภาพชนดิ GIF ใช้ระบบสเี พียง 256 ส ี ส่วนภาพชนดิ JPEG ใช้ระบบสไี ด้

มากกว่าลา้ นสี
ภาพชนิด GIF (Graphics Interchange Format) แฟ้มชนิดนี้ส�ำหรับภาพบิตแม๊บในเว็บ และเป็นมาตรฐานหน่ึงใน 2 ระบบท่ีใช ้

บนเครอื ขา่ ยโดยไมต่ อ้ งตดิ ต้ังระบบไว้ล่วงหนา้ แต่ภาพชนิดนใี้ ช้ระบบสีเพยี ง 256 สี และเปน็ ภาพทีเ่ ลอื กให้เปน็ แบบฉากหลังโปรง่ ได้
(Transparent)
ภาพชนดิ JPEG หรอื .jpg (Joint Photographic Expert Group) เป็นแฟ้มทถี่ กู บบี อัดมาจากภาพต้นแบบใหเ้ ปน็ รูปแบบทีก่ ระชับมากข้ึน
ท�ำใหข้ นาดของแฟม้ ภาพเล็กลงส่งไปในระบบเครือข่ายไดง้ ่าย เป็นอกี มาตรฐานหนึง่ ในระบบอินเทอรเ์ น็ต และสามารถใช้ระบบสไี ด้
มากกวา่ ล้านสี เปน็ ภาพที่ถกู กำ� หนดให้อยู่ในกรอบส่เี หลย่ี มเท่าน้นั

คมู่ อื ครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำนวณ) ม.5 39

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

(จากกจิ กรรมในหนา้ 18)
กิจกรรมตรวจสอบการเรยี นรูท้ ี่ 1.2
1. แหล่งข้อมูล หมายถึง สถานท่หี รอื แหลง่ ที่เกดิ ขอ้ มลู แหลง่ ขอ้ มลู จะแตกตา่ งกนั ไปตามขอ้ มูลทตี่ อ้ งการ เชน่ บ้านเป็นแหลง่ ข้อมูลที่

เก่ยี วกบั นกั เรยี น โดยบนั ทกึ ข้อมลู ไว้ในทะเบยี นบา้ น, หอ้ งสมดุ เปน็ แหลง่ ข้อมูลเกี่ยวกบั ความรตู้ ่าง ๆ ข้อมูลบางอยา่ งเราอาจจะน�ำ
มาจากแหล่งขอ้ มลู หลายแหล่งได้ เชน่ ราคาของเลน่ ชนดิ เดียวกนั เราอาจจะหาขอ้ มูลจากร้านคา้ หลายรา้ นได้ และข้อมูลหรอื ราคาที่
ไดอ้ าจจะแตกตา่ งกันไป หนงั สือ สิง่ พิมพ์ เป็นแหล่งข้อมลู ที่มที งั้ ขอ้ ความ ตัวเลข รูปภาพ
แหล่งข้อมลู ตามความเขา้ ใจของตนเอง แหล่งข้อมูล คือ สถานทเ่ี กดิ ขอ้ มลู เชน่
- โรงเรียน คือ แหล่งขอ้ มูลเก่ียวกบั การศึกษา ข้อมูลนักเรียน ข้อมลู ผลการเรยี น
- ร้านอาหารคือแหลง่ ข้อมูลทเี่ ก่ยี วกบั อาหาร รายการอาหาร ราคาอาหาร ส่วนประกอบอาหาร
2. ขอ้ มลู ยอดขายรถ งานมอเตอรโ์ ชว์ ระยะเวลา 3 ปี จะหาข้อมูลจากแหลง่ ขอ้ มลู ใด ซึง่ สามารถสืบคน้ ไดจ้ าก www.google.com ไดด้ งั นี้

ยอดขายรถยนต์จากงานมอเตอร์โชว์ 3 ปยี ้อนหลัง

ปี จ�ำนวน แหลง่ ที่มา
2019 37,769 คนั http://www.headlightmag.com/motor-show-2019-booking-all/
2018 36,587 คัน http://www.headlightmag.com/motor-expo-2018-booking-all/
2017 39,832 คัน http://www.headlightmag.com/motor-expo-2017-booking-total/

3. สืบค้นไดจ้ าก www.google.com ได้ดังนี้ และเปรียบเทียบกนั พบวา่
ขอ้ มูลโทรศพั ท์มือถอื ยหี่ อ้ Samsung Galaxy S10+ มีคุณสมบตั ิทันสมัยท่ีสดุ จากการวิเคราะห์ ดังน้ี

รายการ คณุ สมบตั ิ วเิ คราะหค์ ุณสมบัติ

สัดส่วน (ยาว กว้าง หนา) 157.6  74.1  78 มม จอเปน็ รปู แบบ Ultra-Wide มีขนาดใหญ่

น�ำ้ หนกั 175 กรมั มนี �ำ้ หนกั ท่ีเบาถ้าเปรียบเทยี บรุ่นที่ใกล้เคยี งกนั

การป้องกนั น�้ำและฝุ่น IP68 ลงน้ำ� ได้ 1.30 นานสุด 30นาที่

หน้าจอ Dynamic AMOLED HDR เปน็ จอภาพมที ่คี ณุ ภาพสูงสดุ ในตอน

ขนาดจอ 6.4 น้วิ มคี วามกว้างใหญ่พอดีมอื จบั

ความละเอียดหนา้ จอ 3040  1440 พกิ เซล (QHD) จอมคี วามละเอยี ด 4k

กระจกจอภาพ Gorilla Glass 6 กระจกจอภาพมคี วามทนทานสามารถทนตอ่ การขดี ของของแขง็ ได้

CUP Exynos 9820  Mali G76 ระบบประมวนผลท่ดี ที ่สี ุดในตอนน้ี

40 คู่มือครู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) ม.5

Introduction Indesign Innovation ICT

Learning for 21st Learning for
Century Skills Metacognition

รายการ คณุ สมบตั ิ วเิ คราะห์คณุ สมบตั ิ
การเชอ่ื มต่อ
ระบบปฏิบัติการ WiFi 802.11 B/G/N/AC/AX ระบบเช่อื มต่อแบบมาตรฐาน
ระบบความปลอดภยั Bluetooth 5.0, GPS, A-GPS
กลอ้ งหน้า
Android 9.0 Pie  One UI เปน็ ระบบปฏิบัตกิ ารใหม่ลา่ สุด
กล้องหลงั
สแกนนว้ิ บนหน้าจอ สามารถสแกนน้ิวบนหน้าจอเพ่ือปลดล็อคเข้าโทรศพั ท์ได้
แบตเตอร ี่ ระบบจดจ�ำใบหน้า สามารถใช้ใบหน้าเพื่อปลดลอ็ คเขา้ โทรศพั ทไ์ ด้
แรม / ความจุ
สี 2 ตัว การมี 2 กลอ้ งช่วยในการถ่ายภาพใหม้ มี ิติทมี่ ากขน้ึ
10 ล้านพิกเซล (f1.9) สามารถถา่ ยภาพดา้ นหน้าวัตถใุ หม้ คี วามคมชัด
ราคา 8 ล้านพิกเซล (f2.2) สามารถถ่ายภาพด้านหลงั วตั ถุให้มคี วามคมชัด

3 ตวั มี 3 กล้องชว่ ยในการถ่ายภาพให้มมี ิติทีม่ ากขน้ึ และระยะซูมของ
12 ล้านพกิ เซล (f2.4, Telephoto) ภาพไดม้ ากขึน้
12 ลา้ นพิกเซล (f1.5, Wide) สามารถถ่ายภาพดา้ นหลงั วัตถุให้มคี วามคมชัด
16 ลา้ นพกิ เซล (f2.2, Ultra-Wide) สามารถถา่ ยภาพดา้ นหนา้ วตั ถใุ ห้มคี วามคมชดั

สามารถถ่ายภาพระยะไกล

4,100 mAh จำ� นวนความบรรจุของพลังงานมาในระบบมาตรฐาน

12 GB/1 TB ความจุในการบนั ทกึ มีจ�ำนวนท่ีมาก

Prism White สีขาว
Prism Green สีเขยี ว
Prism Black สีด�ำ

55,900 บาท

แหล่งท่ีมา https://www.sanook.com/hitech/1470641/
วเิ คราะห์ขอ้ มลู แสดงการทนั สมยั ถ้าเปรยี บเทยี บขอ้ มูลของโทรศัพทม์ ือถอื ในตอนนี้ วนั ที่ 18/4/2019 เป็นโทรศัพทม์ อื ถือที่มีความสมัย
ทส่ี ุดท้ังในด้านความสวยงาม และด้านเทคโนโลยีท่ีสมัย

(จากกิจกรรมในหนา้ 30)

กจิ กรรมตรวจสอบการเรียนรู้ท่ี 1.3

ขนั้ ตอนที่ 1 ต้งั วัตถุประสงค ์ : การวเิ คราะห์การบรโิ ภคบะหมสี่ �ำเรจ็ รปู ของนกั เรียนในหอ้ งเรียนเปน็

อาหารเช้า อาหารกลางวัน และอาหารเยน็

ขน้ั ตอนท่ี 2 ระบเุ นื้อหา : เพ่ือหาวา่ นักเรยี นในหอ้ งบรโิ ภคบะหมี่สำ� เร็จรูปในเวลาใด

ขัน้ ตอนท่ี 3 กำ� หนดประเภทคำ� ถาม : คำ� ถามแบบปิด

ค่มู อื ครู เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) ม.5 41


Click to View FlipBook Version