The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทบทวนธรรม พท 28-2022

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thipdhara Ph.D, 2022-05-10 18:49:44

ทบทวนธรรม พท 28-2022

ทบทวนธรรม พท 28-2022

ทบทวนธรรม
พระธรรมทูตสายตา่ งประเทศ

รุ่นท่ี ๒๘

สกิ ขา 3 หรอื ไตรสกิ ขา

(ขอ้ ท่จี ะตอ้ งศึกษา, ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นหลกั สาหรบั ศึกษา คอื ฝึกหดั อบรมกาย วาจา จิตใจ และปญั ญา ให้
ย่งิ ข้ึนไปจนบรรลจุ ดุ หมายสูงสดุ คอื พระนิพพาน

— the Threefold Learning; the Threefold Training)

1. อธสิ ลี สกิ ขา (สกิ ขาคอื ศีลอนั ย่งิ , ขอ้ ปฏบิ ตั ิสาหรบั ฝึกอบรมในทางความประพฤตอิ ย่างสูง —

training in higher morality)
2. อธจิ ติ ตสกิ ขา (สกิ ขาคอื จติ อนั ย่งิ , ขอ้ ปฏบิ ตั สิ าหรบั ฝึกหดั อบรมจติ เพอ่ื ใหเ้ กดิ คณุ ธรรมเช่นสมาธอิ ยา่ งสูง —

training in higher mentality)
3. อธปิ ญั ญาสกิ ขา (สกิ ขาคอื ปญั ญาอนั ย่งิ , ขอ้ ปฏบิ ตั สิ าหรบั ฝึกอบรมปญั ญา เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรูแ้ จง้ อยา่ งสูง —

training in higher wisdom)
เรยี กงา่ ยๆ ว่า ศีล สมาธิ ปญั ญา (morality, concentration and wisdom)

ไตรลกั ษณ์

(ลกั ษณะ 3 ประการ แหง่ สงั ขารธรรมทง้ั หลาย — the Three Characteristics)

1. อนิจจตา
(ความเป็นของไม่เท่ยี ง — impermanence; transiency)

2. ทกุ ขตา
(ความเป็นทกุ ข์ — state of suffering or being oppressed)

3. อนตั ตตา
(ความเป็นของไม่ใช่ตน — soullessness; not-self)

ศีล ๕

the Five Precepts; rules of morality

1. to abstain from killing
2. --- stealing
3. --- sexual misconduct
4. --- false speech
5. --- intoxicants causing heedlessness

อรยิ สจั จ์ 4

(ความจรงิ อนั ประเสรฐิ , ความจริงของพระอรยิ ะ, ความจรงิ ท่ที าใหผ้ ูเ้ ขา้ ถงึ กลายเป็ นอรยิ ะ
– The Four Noble Truths)

1. ทกุ ข์ (ความทกุ ข,์ สภาพท่ที นไดย้ าก, สภาวะท่บี บี คน้ั ขดั แยง้ บกพรอ่ ง ขาดแกน่ สารและความเท่ยี งแท้ ไม่ใหค้ วามพงึ
พอใจแทจ้ รงิ , ไดแ้ ก่ ชาติ ชรา มรณะ การประจวบกบั สง่ิ อนั ไม่เป็นท่รี กั การพลดั พรากจากสง่ิ ท่รี กั ความปรารถนาไม่สมหวงั โดยยอ่
วา่ อปุ าทานขนั ธ์ 5 เป็นทกุ ข์ - suffering; unsatisfactoriness)

2. ทกุ ขสมทุ ยั (เหตเุ กดิ แหง่ ทกุ ข,์ สาเหตใุ หท้ กุ ขเ์ กดิ ไดแ้ ก่ ตณั หา 3 คอื กามตณั หา ภวตณั หา และวภิ วตณั หา - the
cause of suffering; origin of suffering)

3. ทกุ ขนิโรธ (ความดบั ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ ภาวะท่ตี ณั หาดบั ส้นิ ไป, ภาวะท่เี ขา้ ถงึ เม่ือกาจดั อวชิ ชา สารอกตณั หาส้นิ แลว้ ไม่
ถกู ตอ้ ง ไม่ติดขอ้ ง หลดุ พน้ สงบ ปลอดโปรง่ เป็นอสิ ระ คือนิพพาน - the cessation of suffering;
extinction of suffering)

4. ทกุ ขนิโรธคามนี ิปฏปิ ทา (ปฏปิ ทาท่นี าไปสูค่ วามดบั แหง่ ทกุ ข,์ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ อรยิ อฏั ฐงั คกิ มรรค
หรอื เรยี กอกี อยา่ งหน่ึงวา่ มชั ฌิมาปฏปิ ทา แปลวา่ ทางสายกลาง มรรคมอี งค์ 8 น้ี สรุปลงในไตรสกิ ขา คอื ศีล สมาธิ ปญั ญา -
the path leading to the cessation of suffering)

ขนั ธ์ 5 หรอื เบญจขนั ธ์

(กองแหง่ รูปธรรมและนามธรรม 5 หมวด ท่ปี ระชมุ กนั เขา้ เป็นหน่วยรวม ซ่งึ บญั ญตั เิ รยี กว่า สตั ว์ บคุ คล
ตวั ตน เรา เขา เป็นตน้ , สว่ นประกอบ 5 อย่างท่รี วมเขา้ เป็นชีวิต

— the Five Groups of Existence; Five Aggregates)

1. รูปขนั ธ์ (กองรูป, สว่ นท่เี ป็นรูป, รา่ งกาย พฤตกิ รรม และคณุ สมบตั ิต่างๆ ของสว่ นท่เี ป็นรา่ งกาย, สว่ นประกอบฝ่ าย
รูปธรรมทง้ั หมด, สง่ิ ท่เี ป็นรา่ งพรอ้ มทง้ั คณุ และอาการ — corporeality)

2. เวทนาขนั ธ์ (กองเวทนา, สว่ นท่เี ป็นการเสวยอารมณ์, ความรูส้ กึ สขุ ทกุ ข์ หรอื เฉยๆ — feeling;
sensation)

3. สญั ญาขนั ธ์ (กองสญั ญา, สว่ นท่เี ป็นความกาหนดหมาย, ความกาหนดไดห้ มายรูใ้ นอารมณ์ 6 เช่นว่า ขาว เขียว ดา
แดง เป็นตน้ — perception)

4. สงั ขารขนั ธ์ (กองสงั ขาร, สว่ นท่เี ป็นความปรุงแต่ง, สภาพท่ปี รุงแต่งจติ ใหด้ ีหรอื ชวั่ หรอื เป็นกลางๆ, คุณสมบตั ติ า่ งๆ
ของจติ มีเจตนาเป็นตวั นา ท่ปี รงุ แตง่ คณุ ภาพของจติ ใหเ้ ป็นกศุ ล อกศุ ล อพั ยากฤต — mental formations;
volitional activities)

5. วญิ ญาณขนั ธ์ (กองวญิ ญาณ, สว่ นท่เี ป็นความรูแ้ จง้ อารมณ์, ความรูอ้ ารมณท์ างอายตนะทง้ั 6 มกี ารเหน็ การไดย้ นิ
เป็นตน้ ไดแ้ ก่ วญิ ญาณ 6 — consciousness)

นิวรณ์ 5

(สง่ิ ท่กี น้ั จติ ไม่ใหก้ า้ วหนา้ ในคณุ ธรรม, ธรรมท่กี น้ั จติ ไม่ใหบ้ รรลคุ ณุ ความด,ี อกศุ ลธรรมท่ที าจติ ใหเ้ ศรา้
หมองและทาปญั ญาใหอ้ อ่ นกาลงั — hindrances.)

1. กามฉนั ทะ (ความพอใจในกาม, ความตอ้ งการกามคณุ — sensual desire)
2. พยาบาท (ความคดิ รา้ ย, ความขดั เคอื งแคน้ ใจ — illwill)
3. ถนี มิทธะ (ความหดหแู่ ละเซ่ืองซึม — sloth and torpor)
4. อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ (ความฟ้ งุ ซ่านและรอ้ นใจ, ความกระวนกระวายกลมุ้ กงั วล — distraction and
remorse; flurry and worry; anxiety)
5. วจิ กิ จิ ฉา (ความลงั เลสงสยั — doubt; uncertainty)

อนิ ทรยี ์ หรอื พละ 5
(ธรรมอนั เป็นกาลงั — power)

1. สทั ธา (ความเช่ือ — confidence)
2. วริ ยิ ะ (ความเพยี ร — energy; effort)
3. สติ (ความระลกึ ได้ — mindfulness)
4. สมาธิ (ความตง้ั จติ มนั่ — concentration)
5. ปญั ญา (ความรูท้ วั่ ชดั — wisdom; understanding)

ภาวนา 4

(การเจรญิ , การทาใหเ้ ป็นใหม้ ขี ้ึน, การฝึกอบรม, การพฒั นา :
cultivation; training; development)

1. กายภาวนา (การเจรญิ กาย, พฒั นากาย, การฝึกอบรมกาย ใหร้ ูจ้ กั ตดิ ต่อเก่ยี วขอ้ งกบั สง่ิ ทง้ั หลายภายนอกทางอนิ ทรยี ท์ ง้ั
หา้ ดว้ ยดี และปฏบิ ตั ติ ่อสง่ิ เหลา่ น้ันในทางท่เี ป็นคณุ มใิ หเ้ กดิ โทษ ใหก้ ศุ ลธรรมงอกงาม ใหอ้ กศุ ลธรรมเสอ่ื มสูญ, การพฒั นา
ความสมั พนั ธก์ บั สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ : physical development)

2. สลี ภาวนา (การเจรญิ ศีล, พฒั นาความประพฤต,ิ การฝึกอบรมศีล ใหต้ ง้ั อยูใ่ นระเบยี บวนิ ยั ไม่เบยี ดเบยี นหรอื กอ่ ความ
เดือดรอ้ นเสยี หาย อยูร่ ว่ มกบั ผูอ้ น่ื ไดด้ ว้ ยดี เก้อื กลู แกก่ นั : moral development)

3. จติ ภาวนา (การเจรญิ จติ , พฒั นาจติ , การฝึกอบรมจติ ใจ ใหเ้ ขม้ แขง็ มนั่ คงเจรญิ งอกงามดว้ ยคณุ ธรรมทง้ั หลาย เช่น มี
เมตตากรณุ า ขยนั หมนั่ เพยี ร อดทนมีสมาธิ และสดช่ืน เบกิ บาน เป็นสขุ ผ่องใส เป็นตน้ : cultivation of the
heart; emotional development)

4. ปญั ญาภาวนา (การเจรญิ ปญั ญา, พฒั นาปญั ญา, การฝึกอบรมปญั ญา ใหร้ ูเ้ ขา้ ใจสง่ิ ทง้ั หลายตามเป็นจรงิ รูเ้ ท่าทนั เหน็
โลกและชีวติ ตามสภาวะ สามารถทาจติ ใจใหเ้ ป็นอสิ ระ ทาตนใหบ้ รสิ ทุ ธ์จิ ากกเิ ลสและปลอดพน้ จากความทกุ ข์ แกไ้ ขปญั หาท่เี กดิ ข้นึ ได้
ดว้ ยปญั ญา : cultivation of wisdom; intellectual development)

สตปิ ฏั ฐาน 4

(ท่ตี ง้ั ของสต,ิ การตง้ั สตกิ าหนดพจิ ารณาสง่ิ ทง้ั หลายใหร้ ูเ้ หน็ ตามความเป็ นจรงิ คอื ตามท่สี ง่ิ น้นั ๆ มนั เป็น
ของมนั เอง - foundations of mindfulness)

1. กายานุปสั สนา สตปิ ฏั ฐาน (การตง้ั สตกิ าหนดพจิ ารณากายใหร้ ูเ้ หน็ ตามเป็นจรงิ วา่ เป็นเพยี งกาย ไม่ใช่สตั วบ์ คุ คลตวั ตนเราเขา - contemplation of
the body; mindfulness as regards the body) ทา่ นจาแนกปฏบิ ตั ไิ วห้ ลายอยา่ ง คอื อานาปานสติ กาหนดลมหายใจ 1 อริ ยิ าบถ กาหนด
รูท้ นั อริ ยิ าบถ 1 สมั ปชญั ญะ สรา้ งสมั ปชญั ญะในการกระทาความเคลอ่ื นไหวทกุ อย่าง 1 ปฏกิ ูลมนสกิ าร พจิ ารณาสว่ นประกอบอนั ไม่สะอาดทง้ั หลายท่ปี ระชุมเขา้ เป็นร่างกายน้ี 1
ธาตมุ นสกิ าร พจิ ารณาเหน็ รา่ งกายของตนโดยสกั วา่ เป็นธาตุแต่ละอย่างๆ 1 นวสวี ถกิ า พจิ ารณาซากศพในสภาพตา่ งๆ อนั แปลกกนั ไปใน 9 ระยะเวลา ใหเ้ หน็ คตธิ รรมดาของ
รา่ งกาย ของผูอ้ น่ื เช่นใด ของตนกจ็ กั เป็นเช่นน้นั 1

2. เวทนานุปสั สนา สตปิ ฏั ฐาน (การตง้ั สตกิ าหนดพจิ ารณาเวทนา ใหร้ ูเ้ หน็ ตามเป็นจรงิ วา่ เป็นแต่เพยี งเวทนา ไม่ใช่สตั วบ์ คุ คลตวั ตนเราเขา -
contemplation of feelings; mindfulness as regards feelings) คอื มีสตริ ูช้ ดั เวทนาอนั เป็นสุขกด็ ี ทกุ ขก์ ด็ ี เฉยๆ ก็ดี ทง้ั ท่ี
เป็นสามสิ และเป็นนิรามิสตามท่เี ป็นไปอยูใ่ นขณะน้นั ๆ

3. จติ ตานุปสั สนา สตปิ ฏั ฐาน (การตง้ั สตกิ าหนดพจิ ารณาจติ ใหร้ ูเ้ หน็ ตามเป็นจรงิ วา่ เป็นแต่เพยี งจติ ไม่ใช่สตั วบ์ คุ คลตวั ตนเราเขา - contemplation of
mind; mindfulness as regards thoughts) คอื มสี ตริ ูช้ ดั จติ ของตนทม่ี ีราคะ ไม่มรี าคะ มโี ทสะ ไม่มีโทสะ มโี มหะ ไม่มีโมหะ เศรา้ หมองหรอื
ผ่องแผว้ ฟ้ งุ ซา่ นหรอื เป็นสมาธิ ฯลฯ อยา่ งไรๆ ตามทเ่ี ป็นไปอยูใ่ นขณะน้นั ๆ

4. ธมั มานุปสั สนา สตปิ ฏั ฐาน (การตง้ั สตกิ าหนดพจิ ารณาธรรม ใหร้ ูเ้ หน็ ตามเป็นจรงิ วา่ เป็นแตเ่ พยี งธรรม ไม่ใช่สตั วบ์ คุ คลตวั ตนเราเขา - contemplation
of mind-objects; mindfulness as regards ideas) คอื มีสตริ ูช้ ดั ธรรมทง้ั หลาย ไดแ้ ก่ นิวรณ์ 5 ขนั ธ์ 5 อายตนะ 12 โพชฌงค์ 7
อรยิ สจั 4 วา่ คอื อะไร เป็นอย่างไร มใี นตนหรอื ไม่ เกดิ ข้ึน เจรญิ บรบิ ูรณ์ และดบั ไปไดอ้ ย่างไร เป็นตน้ ตามทเ่ี ป็นจรงิ ของมนั อยา่ งน้นั ๆ.

สปั ปรุ สิ ธรรม 7

(ธรรมของสตั บรุ ุษ, ธรรมท่ที าใหเ้ ป็นสตั บรุ ุษ, คณุ สมบตั ขิ องคนดี, ธรรมของผูด้ ี

— qualities of a good man; virtues of a gentleman)

1. ธมั มญั ญุตา (ความรูจ้ กั ธรรม รูห้ ลกั หรอื รูจ้ กั เหตุ คอื รูห้ ลกั ความจรงิ รูห้ ลกั การ รูห้ ลกั เกณฑ์ รูก้ ฎแห่งธรรมดา รูก้ ฎเกณฑแ์ ห่งเหตผุ ล และรูห้ ลกั การท่จี ะทาให้

เกดิ ผล เช่น ภกิ ษุรูว้ า่ หลกั ธรรมขอ้ น้นั ๆ คอื อะไร มีอะไรบา้ ง พระมหากษตั รยิ ท์ รงทราบว่าหลกั การปกครองตามราชประเพณีเป็นอย่างไร มีอะไรบา้ ง รูว้ า่ จะตอ้ งกระทาเหตอุ นั น้ีๆ
หรอื กระทาตามหลกั การขอ้ น้ีๆ จงึ จะใหเ้ กดิ ผลท่ตี อ้ งการอนั น้นั ๆ เป็นตน้ — knowing the law; knowing the cause)

2. อตั ถญั ญตุ า (ความรูจ้ กั อรรถ รูค้ วามม่งุ หมาย หรอื รูจ้ กั ผล คอื รูค้ วามหมาย รูค้ วามม่งุ หมาย รูป้ ระโยชนท์ ่ปี ระสงค์ รูจ้ กั ผลท่ีจะเกดิ ข้ึนสบื เน่ืองจากการกระทาหรอื

ความเป็นไปตามหลกั เช่น รูว้ า่ หลกั ธรรมหรอื ภาษิตขอ้ น้นั ๆ มีความหมายวา่ อยา่ งไร หลกั น้นั ๆ มีความม่งุ หมายอย่างไร กาหนดไวห้ รอื พงึ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ประสงคป์ ระโยชนอ์ ะไร การ
ทต่ี นกระทาอยูม่ คี วามม่งุ หมายอย่างไร เม่ือทาไปแลว้ จะบงั เกดิ ผลอะไรบา้ งดงั น้ีเป็นตน้ — knowing the meaning; knowing the
purpose; knowing the consequence)

3. อตั ตญั ญุตา (ความรูจ้ กั ตน คอื รูว้ า่ เราน้นั วา่ โดยฐานะ ภาวะ เพศ กาลงั ความรู้ ความสามารถ ความถนดั และคณุ ธรรม เป็นตน้ บดั น้ี เท่าไร อยา่ งไร แลว้
ประพฤตใิ หเ้ หมาะสม และรูท้ จ่ี ะแกไ้ ขปรบั ปรุงตอ่ ไป — knowing oneself)

4. มตั ตญั ญตุ า (ความรูจ้ กั ประมาณ คอื ความพอดี เช่น ภกิ ษุรูจ้ กั ประมาณในการรบั และบรโิ ภคปจั จยั ส่ี คฤหสั ถร์ ูจ้ กั ประมาณในการใชจ้ ่ายโภคทรพั ย์ พระมหากษตั รยิ ์
รูจ้ กั ประมาณในการลงทณั ฑอาชญาและในการเกบ็ ภาษี เป็นตน้ — moderation; knowing how to be temperate)

5. กาลญั ญุตา (ความรูจ้ กั กาล คอื รูก้ าลเวลาอนั เหมาะสม และระยะเวลาท่จี ะตอ้ งใชใ้ นการประกอบกจิ กระทาหนา้ ท่กี ารงาน เช่น ใหต้ รงเวลา ใหเ้ ป็ นเวลา ใหท้ นั เวลา
ใหพ้ อเวลา ใหเ้ หมาะเวลา เป็นตน้ — knowing the proper time; knowing how to choose and keep time)

6. ปรสิ ญั ญุตา (ความรูจ้ กั บรษิ ทั คอื รูจ้ กั ชมุ ชน และรูจ้ กั ทป่ี ระชมุ รูก้ ริ ยิ าท่จี ะประพฤตติ อ่ ชุมชนน้นั ๆ วา่ ชมุ ชนน้ีเม่อื เขา้ ไปหา จะตอ้ งทากริ ยิ าอยา่ งน้ี จะตอ้ งพดู อย่าง
น้ี ชมุ ชนน้ีควรสงเคราะหอ์ ย่างน้ี เป็นตน้ — knowing the assembly; knowing the society)

7. ปคุ คลญั ญตุ า หรอื ปคุ คลปโรปรญั ญุตา (ความรูจ้ กั บคุ คล คอื ความแตกต่างแห่งบคุ คลว่า โดยอธั ยาศยั ความสามารถ และคุณธรรม เป็นตน้ ใครๆ ยง่ิ หรอื หย่อน
อย่างไร และรูท้ จ่ี ะปฏบิ ตั ติ ่อบคุ คลน้นั ๆ ดว้ ยดี วา่ ควรจะคบหรอื ไม่ จะใชจ้ ะตาหนิ ยกยอ่ ง และแนะนาสงั่ สอนอยา่ งไร เป็นตน้ — knowing the
individual; knowing the different individuals)

วปิ สั สนาญาณ 9 (ญาณในวปิ สั สนา— insight-knowledge) 01

1. อทุ ยพั พยานุปสั สนาญาณ (ญาณอนั ตามเหน็ ความเกดิ และความดบั คอื พจิ ารณาความเกดิ ข้นึ และความดบั ไปแหง่
เบญจขนั ธ์ จนเหน็ ชดั ว่า สง่ิ ทง้ั หลายเกดิ ข้นึ ครน้ั แลว้ กต็ อ้ งดบั ไป ลว้ นเกดิ ข้นึ แลว้ กด็ บั ไปทง้ั หมด — knowledge of
contemplation on rise and fall)

2. ภงั คานุปสั สนาญาณ (ญาณอนั ตามเหน็ ความสลาย คอื เม่อื เหน็ ความเกดิ ดบั เช่นน้ันแลว้ คานึงเด่นชดั ในสว่ นความดบั
อนั เป็นจดุ จบส้นิ กเ็ หน็ วา่ สงั ขารทง้ั ปวงลว้ นจะตอ้ งสลายไปทง้ั หมด — knowledge of contemplation
on dissolution)

3. ภยตูปฏั ฐานญาณ (ญาณอนั มองเหน็ สงั ขารปรากฏเป็นของน่ากลวั คอื เม่ือพจิ ารณาเหน็ ความแตกสลายอนั มีทวั่ ไปแก่

ทกุ สง่ิ ทกุ อย่างเช่นน้นั แลว้ สงั ขารทง้ั ปวงไม่ว่าจะเป็นไปในภพใดคตใิ ด กป็ รากฏเป็นของน่ากลวั เพราะลว้ นแต่จะตอ้ งสลายไป ไม่
ปลอดภยั ทง้ั ส้นิ -- knowledge of the appearance as terror)

4. อาทนี วานุปสั สนาญาณ (ญาณอนั คานึงเหน็ โทษ คอื เม่ือพจิ ารณาเหน็ สงั ขารทง้ั ปวงซ่ึงลว้ นตอ้ งแตกสลายไป เป็นของน่า
กลวั ไม่ปลอดภยั ทง้ั ส้นิ แลว้ ยอ่ มคานึงเหน็ สงั ขารทง้ั ปวงน้ันว่าเป็นโทษ เป็นสง่ิ ท่มี ีความบกพรอ่ ง จะตอ้ งระคนอยู่ดว้ ยทกุ ข์ —
knowledge of contemplation on disadvantages)

5. นิพพทิ านุปสั สนาญาณ (ญาณอนั คานึงเหน็ ดว้ ยความหน่าย คอื เม่อื พจิ ารณาเหน็ สงั ขารวา่ เป็นโทษเช่นน้ันแลว้ ย่อม
เกดิ ความหน่าย ไม่เพลดิ เพลนิ ตดิ ใจ — knowledge of contemplation on dispassion)

วปิ สั สนาญาณ 9 (ญาณในวิปสั สนา— insight-knowledge) 02

6. มญุ จติ กุ มั ยตาญาณ (ญาณอนั คานึงดว้ ยใครจ่ ะพน้ ไปเสยี คอื เม่ือหน่ายสงั ขารทง้ั หลายแลว้ ย่อมปรารถนาท่จี ะพน้ ไปเสยี
จากสงั ขารเหลา่ น้นั — knowledge of the desire for deliverance)

7. ปฏสิ งั ขานุปสั สนาญาณ (ญาณอนั คานึงพจิ ารณาหาทาง คอื เม่อื ตอ้ งการจะพน้ ไปเสยี จงึ กลบั หนั ไปยกเอาสงั ขาร
ทง้ั หลายข้ึนมาพจิ ารณากาหนดดว้ ยไตรลกั ษณ์ เพอ่ื มองหาอบุ ายท่จี ะปลดเปล้อื งออกไป — knowledge of
reflective contemplation)

8. สงั ขารเุ ปกขาญาณ (ญาณอนั เป็นไปโดยความเป็นกลางตอ่ สงั ขาร คอื เม่อื พจิ ารณาสงั ขารตอ่ ไป ยอ่ มเกดิ ความรูเ้ หน็
สภาวะของสงั ขารตามความเป็นจรงิ ว่า มีความเป็นอยู่เป็นไปของมนั อยา่ งน้ันเป็นธรรมดา จงึ วางใจเป็นกลางได้ ไม่ยนิ ดียนิ รา้ ยใน
สงั ขารทง้ั หลาย แต่น้นั มองเหน็ นิพพานเป็นสนั ตบิ ท ญาณจงึ แลน่ ม่งุ ไปยงั นิพพาน เลกิ ละความเก่ยี วเกาะกบั สงั ขารเสยี ได้ —
knowledge of equanimity regarding all formations)

9. สจั จานุโลมกิ ญาณ หรอื อนุโลมญาณ (ญาณอนั เป็นไปโดยอนุโลมแกก่ ารหยงั่ รูอ้ รยิ สจั คอื เม่อื วางใจเป็นกลางตอ่ สงั ขาร
ทง้ั หลาย ไม่พะวง และญาณแลน่ ม่งุ ตรงไปสูน่ ิพพานแลว้ ญาณอนั คลอ้ ยตอ่ การตรสั รูอ้ รยิ สจั ย่อมเกดิ ข้ึนในลาดบั ถดั ไป เป็นขน้ั
สดุ ทา้ ยของวปิ สั สนาญาณ ตอ่ จากน้ันกจ็ ะเกดิ โคตรภญู าณมาคนั่ กลาง แลว้ เกดิ มรรคญาณใหส้ าเรจ็ ความเป็นอรยิ บคุ คลต่อไป —
conformity-knowledge; adaptation-knowledge)

มรรคมอี งค์ 8 หรอื อฏั ฐงั คกิ มรรค

(เรยี กเตม็ ว่า อรยิ อฏั ฐงั คกิ มรรค แปลว่า “ทางมอี งค์ 8 ประการ อนั ประเสรฐิ ”
— the noble Eightfold Path);

1. สมั มาทฏิ ฐิ (เหน็ ชอบ ไดแ้ ก่ ความรูอ้ รยิ สจั จ์ 4 หรอื เหน็ ไตรลกั ษณ์ หรอื รูอ้ กศุ ลและอกศุ ลมลู กบั กศุ ลและกศุ ลมูล หรอื
เหน็ ปฏจิ จสมปุ บาท — Right View; Right Understanding)

2. สมั มาสงั กปั ปะ (ดารชิ อบ ไดแ้ ก่ เนกขมั มสงั กปั อพยาบาทสงั กปั อวหิ งิ สาสงั กปั — Right Thought)
3. สมั มาวาจา (เจรจาชอบ ไดแ้ ก่ วจสี จุ รติ 4 — Right Speech)
4. สมั มากมั มนั ตะ (กระทาชอบ ไดแ้ ก่ กายสจุ รติ 3 — Right Action)
5. สมั มาอาชีวะ (เล้ยี งชีพชอบ ไดแ้ ก่ เวน้ มิจฉาชีพ ประกอบสมั มาชีพ — Right Livelihood)
6. สมั มาวายามะ (พยายามชอบ ไดแ้ ก่ ปธาน หรอื สมั มปั ปธาน 4 — Right Effort)
7. สมั มาสติ (ระลกึ ชอบ ไดแ้ ก่ สตปิ ฏั ฐาน 4 — Right Mindfulness)
8. สมั มาสมาธิ (ตง้ั จติ มนั่ ชอบ ไดแ้ ก่ ฌาน 4 — Right Concentration)

ปฏจิ จสมปุ บาท มอี งคห์ รอื หวั ขอ้ 12 -01

(การเกดิ ข้ึนพรอ้ มแหง่ ธรรมทง้ั หลาย เพราะอาศยั กนั , ธรรมท่อี าศยั กนั เกดิ ข้นึ พรอ้ ม,
การท่สี ง่ิ ทง้ั หลายอาศยั กนั ๆ จงึ เกดิ มขี ้นึ

— the Dependent Origination; conditioned arising)

1/2. อวชิ ฺชาปจฺจยา สงขฺ ารา เพราะอวชิ ชา เป็นปจั จยั สงั ขาร จงึ มี

(Dependent on lgnorance arise Kamma-Formations)
3. สงฺขารปจฺจยา วญิ ญฺ าณ เพราะสงั ขารเป็นปจั จยั วญิ ญาณ จงึ มี
(Dependent on Kamma-Formations arise Consciousness)
4. วญิ ญฺ าณปจฺจยา นามรูป เพราะวญิ ญาณเป็นปจั จยั นามรูป จงึ มี
(Dependent on Consciousness arise Mind and Matter)
5. นามรูปปจฺจยา สฬายตน เพราะนามรูปเป็นปจั จยั สฬายตนะ จงึ มี
(Dependent on Mind and Matter arise the Six Sense-Bases.)
6. สฬายตนปจฺจยา ผสโฺ ส เพราะสฬายตนะเป็นปจั จยั ผสั สะ จงึ มี
(Dependent on the Six Sense-Bases arises Contact)

ปฏจิ จสมปุ บาท มอี งคห์ รอื หวั ขอ้ 12 -02

(การเกดิ ข้ึนพรอ้ มแหง่ ธรรมทง้ั หลาย เพราะอาศยั กนั , ธรรมท่อี าศยั กนั เกดิ ข้ึนพรอ้ ม,
การท่สี ง่ิ ทง้ั หลายอาศยั กนั ๆ จงึ เกดิ มขี ้ึน

— the Dependent Origination; conditioned arising)

7. ผสสฺ ปจฺจยา เวทนา เพราะผสั สะเป็นปจั จยั เวทนา จงึ มี
(Dependent on Contact arise Feeling)
8. เวทนาปจฺจยา ตณฺหา เพราะเวทนาเป็นปจั จยั ตณั หา จงึ มี
(Dependent on Feeling arise Craving.)

9. ตณฺหาปจฺจยา อปุ าทาน เพราะตณั หาเป็นปจั จยั อปุ าทาน จงึ มี
(Dependent on Craving arises Clinging.)
10. อปุ าทานปจฺจยา ภโว เพราะอปุ าทานเป็นปจั จยั ภพ จงึ มี
(Dependent on Clinging arises Becoming.)

ปฏจิ จสมปุ บาท มีองคห์ รอื หวั ขอ้ 12 -03

(การเกดิ ข้นึ พรอ้ มแหง่ ธรรมทง้ั หลาย เพราะอาศยั กนั , ธรรมท่อี าศยั กนั เกดิ ข้ึนพรอ้ ม,
การท่สี ง่ิ ทง้ั หลายอาศยั กนั ๆ จงึ เกดิ มีข้นึ

— the Dependent Origination; conditioned arising)

11. ภวปจฺจยา ชาติ เพราะภพเป็นปจั จยั ชาติ จงึ มี

(Dependent on Becoming arises Birth.)
12. ชาตปิ จฺจยา ชรามรณ เพราะชาตเิ ป็นปจั จยั ชรามรณะ จงึ มี
(Dependent on Birth arise Decay and
Death.) โสกปรเิ ทวทกุ ขฺ โทมนสสฺ ปุ ายาสา สมภฺ วนฺติ ความโศก ความครา่ ครวญ ทกุ ข์
โทมนัส และความคบั แคน้ ใจ กม็ พี รอ้ ม
(There also arise sorrow, lamentation, pain,
grief and despair.) เอวเมตสสฺ เกวลสสฺ ทกุ ขฺ กขฺ นฺธสสฺ สมทุ โย โหติ.

ความเกดิ ข้ึนแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั ปวงน้ี จงึ มดี ว้ ยประการฉะน้ี
(Thus arises this whole mass of suffering.)

กรรม 12 -01

(การกระทาท่ปี ระกอบดว้ ยเจตนาดีกต็ าม ชวั่ กต็ าม,
ในท่นี ้ีหมายถงึ กรรมประเภทต่างๆ พรอ้ มทง้ั หลกั เกณฑเ์ ก่ยี วกบั การใหผ้ ลของกรรมเหลา่ น้ัน
— karma; kamma; action; volitional action)

หมวดท่ี 1 ว่าโดยปากกาล คือ จาแนกตามเวลาท่ใี หผ้ ล (classification according to the
time of ripening or taking effect)

1. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม (กรรมใหผ้ ลในปจั จุบนั คอื ในภพน้ี — kamma to be
experienced here and now; immediately effective kamma)

2. อปุ ปชั ชเวทนียกรรม (กรรมใหผ้ ลในภพท่จี ะไปเกดิ คอื ในภพหนา้ — kamma to be
experienced on rebirth; kamma ripening in the next life)

3. อปราปรยิ เวทนียกรรม (กรรมใหผ้ ลในภพตอ่ ๆไป — kamma to be experienced in
some subsequent becoming; indefinitely effective kamma)

4. อโหสกิ รรม (กรรมเลกิ ใหผ้ ล ไม่มผี ลอกี — lapsed or defunct kamma)

กรรม 12 -02

(การกระทาท่ปี ระกอบดว้ ยเจตนาดีกต็ าม ชวั่ กต็ าม,

ในท่นี ้ีหมายถงึ กรรมประเภทตา่ งๆ พรอ้ มทง้ั หลกั เกณฑเ์ กย่ี วกบั การใหผ้ ลของกรรมเหล่าน้ัน
— karma; kamma; action; volitional action)

หมวดท่ี 2 วา่ โดยกจิ คือจาแนกการใหผ้ ลตามหนา้ ท่ี (classification according to
function)

5. ชนกกรรม (กรรมแตง่ ใหเ้ กดิ , กรรมท่เี ป็นตวั นาไปเกดิ — productive kamma;
reproductive kamma)

6. อปุ ตั ถมั ภกกรรม (กรรมสนับสนุน, กรรมท่เี ขา้ ช่วยสนับสนุนหรอื ซ้าเตมิ ตอ่ จากชนกกรรม —
supportive kamma; consolidating kamma)

7. อปุ ปีฬกกรรม (กรรมบบี คน้ั , กรรมท่มี าใหผ้ ล บบี คน้ั ผลแหง่ ชนกกรรมและอปุ ตั ถมั ภกกรรมน้นั ใหแ้ ปรเปลย่ี น
ทเุ ลาลงไป บนั่ ทอนวบิ ากมใิ หเ้ ป็นไปไดน้ าน obstructive kamma; frustrating kamma)

8. อปุ ฆาตกกรรม (กรรมตดั รอน, กรรมท่แี รง ฝ่ ายตรงขา้ มกบั ชนกกรรม และอปุ ตั ถมั ภกกรรม เขา้ ตดั รอนการใหผ้ ล
ของกรรมสองอยา่ งน้นั ใหข้ าดไปเสยี ทเี ดยี ว เช่น เกดิ ในตระกลู สูง มงั่ คงั่ แต่อายสุ น้ั เป็นตน้ — destructive
kamma; supplanting kamma)

กรรม 12 -03

(การกระทาท่ปี ระกอบดว้ ยเจตนาดกี ต็ าม ชวั่ กต็ าม,

ในท่นี ้ีหมายถงึ กรรมประเภทต่างๆ พรอ้ มทง้ั หลกั เกณฑเ์ กย่ี วกบั การใหผ้ ลของกรรมเหล่าน้ัน
— karma; kamma; action; volitional action)

หมวดท่ี 3 ว่าโดยปากทานปรยิ าย คอื จาแนกตามความยกั เย้อื งหรอื ลาดบั ความแรงในการใหผ้ ล
(classification according to the order of ripening)

9. ครกุ กรรม (กรรมหนัก ใหผ้ ลกอ่ น ไดแ้ ก่ สมาบตั ิ 8 หรอื อนันตรยิ กรรม — weighty kamma)
10. พหลุ กรรม หรอื อาจณิ ณกรรม (กรรมทามากหรอื กรรมชิน ใหผ้ ลรองจากครกุ กรรม — habitual
kamma)
11. อาสนั นกรรม (กรรมจวนเจยี น หรอื กรรมใกลต้ าย คอื กรรมทาเม่อื จวนจะตาย จบั ใจอยู่ใหม่ๆ ถา้ ไม่มี 2 ขอ้ กอ่ น
กจ็ ะใหผ้ ลกอ่ นอน่ื — death threshold kamma; proximate kamma)
12. กตตั ตากรรม หรอื กตตั ตาวาปนกรรม (กรรมสกั ว่าทา, กรรมท่ที าไวด้ ว้ ยเจตนาอนั ออ่ น หรอื มิใช่เจตนาอยา่ งน้ัน
โดยตรง ต่อเม่ือไม่มกี รรมอน่ื ใหผ้ ลแลว้ กรรมน้ีจงึ จะใหผ้ ล — reserve kamma; casual act)

ธุดงค์ 13 -01

(องคค์ ณุ เคร่อื งสลดั หรอื กาจดั กเิ ลส, ขอ้ ปฏบิ ตั ปิ ระเภทวตั รท่ผี ูส้ มคั รใจจะพงึ สมาทานประพฤตไิ ด้

เพ่อื เป็นอบุ ายขดั เกลากเิ ลส ช่วยสง่ เสรมิ ความมกั นอ้ ยและสนั โดษเป็ นตน้
— means of shaking off or removing defilements;

austere practices; ascetic practices)

หมวดท่ี 1 จวี รปฏสิ งั ยตุ (เกย่ี วกบั จวี ร — connected with robes)
1. ปงั สกุ ูลกิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื ทรงผา้ บงั สกุ ลุ เป็นวตั ร คาสมาทานโดยอธิษฐานใจหรอื เปลง่ วาจาว่า

“คหปตจิ วี ร ปฏกิ ขฺ ิปามิ, ปสกุ ูลกิ งฺค สมาทยิ ามิ” แปลว่า “เรางดคฤหบดจี วี ร สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ”

— refuse-rag-wearer’s practice)
2. เตจวี รกิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื ทรงเพยี งไตรจวี รเป็นวตั ร คาสมาทานว่า “จตตุ ถฺ จวี ร ปฏกิ ขฺ ิปามิ, เต

จวี รกิ งฺค สมาทยิ ามิ” แปลว่า “ขา้ พเจา้ งดจวี รผนื ท่ี 4 สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ”

— triple-robe-wearer’s practice)

ธุดงค์ 13 -02

หมวดท่ี 2 ปิณฑปาตปฏสิ งั ยตุ (เก่ยี วกบั บณิ ฑบาต — connected with almsfood)
3. ปิณฑปาตกิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื เท่ยี วบณิ ฑบาตเป็นวตั ร คาสมาทานวา่ “อตเิ รกลาภ ปฏกิ ขฺ ิปามิ, ปิณฺฑปาตกิ งคฺ

สมาทยิ าม”ิ แปลว่า “ขา้ พเจา้ งดอตเิ รกลาภ สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ” — alms-food-eater’s practice)
4. สปทานจารกิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื เท่ยี วบณิ ฑบาตไปตามลาดบั เป็นวตั ร คาสมาทานวา่ “โลลปุ ปฺ จาร ปฏกิ ขฺ ิปามิ, สป

ทานจารกิ งคฺ สมาทยิ ามิ” แปลวา่ “ขา้ พเจา้ งดการเท่ยี วตามใจอยาก สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ” — house-to-house-

seeker’s practice)
5. เอกาสนิกงั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื นงั่ ฉนั ณ อาสนะเดียวเป็นวตั ร คอื ฉนั วนั ละม้ือเดยี ว ลกุ จากท่แี ลว้ ไม่ฉนั อกี คา

สมาทานวา่ “นานาสนโภชน ปฏกิ ขฺ ปิ ามิ, เอกาสนิกงคฺ สมาทยิ ามิ” แปลวา่ “ขา้ พเจา้ งดเวน้ การฉนั ณ ตา่ งอาสนะ สมาทานองคแ์ หง่
ผู—้ ” — one-sessioner’s practice)

6. ปตั ตปิณฑกิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื ฉนั เฉพาะในบาตรเป็นวตั ร คอื ไม่ใชภ้ าชนะใสอ่ าหารเกนิ 1 อยา่ งคอื บาตร คา
สมาทานวา่ “ทตุ ยิ ภาชน ปฏกิ ขฺ ิปามิ, ปตตฺ ปิณฺฑกิ งคฺ สมาทยิ ามิ” แปลว่า “ขา้ พเจา้ งดภาชนะท่สี อง สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ” —

bowl-food-eater’s practice)
7. ขลปุ จั ฉาภตั ตกิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื หา้ มภตั ท่ถี วายภายหลงั เป็นวตั ร คอื เม่อื ไดป้ ลงใจกาหนดอาหารท่เี ป็นสว่ นของตน

ซ่ึงเรยี กว่าหา้ มภตั ดว้ ยการลงมอื ฉนั เป็นตน้ แลว้ ไม่รบั อาหารท่เี ขานามาถวายอกี แมจ้ ะเป็นของประณีต คาสมาทานว่า “อตริ ติ ตฺ
โภชน ปฏกิ ขฺ ิปามิ, ขลปุ จฺฉาภตตฺ ิกงฺค สมาทยิ ามิ” แปลวา่ “ขา้ พเจา้ งดโภชนะอนั เหลอื เฟื อ สมาทานองคแ์ ห่งผู—้ ” —

later-food-refuser’s practice)

ธุดงค์ 13 -03

หมวดท่ี 3 เสนาสนปฏสิ งั ยตุ (เกย่ี วกบั เสนาสนะ — connected with the resting place)
8. อารญั ญกิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื อยูป่ ่าเป็นวตั ร อยู่หา่ งบา้ นคนอยา่ งนอ้ ย 500 ชวั่ ธนู คือ 25 เสน้ คาสมาทานว่า

“คามนฺตเสนาสน ปฏกิ ขฺ ิปามิ, อารญญฺ กิ งคฺ สมาทยิ ามิ” แปลวา่ “ขา้ พเจา้ งดเสนาสนะชายบา้ น สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ” —

forest-dweller’s practice)
9. รกุ ขมลู กิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื อยู่โคนไมเ้ ป็นวตั ร คาสมาทานวา่ “ฉนฺน ปฏกิ ขฺ ปิ ามิ, รกุ ขฺ มูลกิ งคฺ สมาทยิ ามิ” แปลว่า

“ขา้ พเจา้ งดท่มี งุ บงั สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ” — tree-root-dweller’s practice)
10. อพั โภกาลกิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื อยูท่ ่แี จง้ เป็นวตั ร คาสมาทานวา่ “ฉนฺนญจฺ รุกขฺ มูลญฺจ ปฏกิ ขฺ ปิ ามิ, อพฺโภกา

สกิ งฺค สมาทยิ ามิ” แปลว่า “ขา้ พเจา้ งดท่มี งุ บงั และโคนไม้ สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ” — open-air-dweller’s

practice)
11. โสสานิกงั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื อยู่ป่าชา้ เป็นวตั ร คาสมาทานว่า “อสสุ าน ปฏกิ ขฺ ิปามิ, โสสานิกงฺค สมาทยิ ามิ” แปลว่า

“ขา้ พเจา้ งดท่มี ิใช่ป่าชา้ สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ” — charnel-ground-dweller’s practice)
12. ยถาสนั ถตกิ งั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื อยู่ในเสนาสนะแลว้ แต่เขาจดั ให้ คาสมาทานว่า “เสนาสนโลลปุ ปฺ ปฏกิ ขฺ ิปามิ,

ยถาสนฺถตกิ งฺค สมาทยิ ามิ” แปลว่า “ขา้ พเจา้ งดความอยากเอาแตใ่ จในเสนาสนะ สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ” — any-bed-

user’s practice)

13. เนสชั ชิกงั คะ (องคแ์ หง่ ผูถ้ อื การนัง่ เป็นวตั ร คอื เวน้ นอน อยูด่ ว้ ยเพยี ง 3 อริ ยิ าบถ คาสมาทานวา่ “เสยยฺ ปฏกิ ขฺ ิ
ปาม,ิ เนสชฺชิกงคฺ สมาทยิ ามิ” แปลว่า “ขา้ พเจา้ งดการนอน สมาทานองคแ์ หง่ ผู—้ ” — sitter’s practice)

ธรรมนิเทศ-หลกั การหลกั ธรรม
ธรรมทูต
---หวั ใจ---

เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของมวลมหาชน


Click to View FlipBook Version