The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธรณีวิทยากายภาพและปริมาณธาตุโลหะหนัก พื้นทะเลอันดามัน ในแผนที่ระวางอำเภอคุระบุรี และระวางอำเภอตะกั่วป่า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by zeath_junior, 2021-10-14 09:33:27

ธรณีวิทยากายภาพและปริมาณธาตุโลหะหนัก พื้นทะเลอันดามัน ในแผนที่ระวางอำเภอคุระบุรี และระวางอำเภอตะกั่วป่า

ธรณีวิทยากายภาพและปริมาณธาตุโลหะหนัก พื้นทะเลอันดามัน ในแผนที่ระวางอำเภอคุระบุรี และระวางอำเภอตะกั่วป่า

Keywords: ธรณีวิทยา,ธรณีฟิสิกส์,คุระบุรี,ตะกั่วป่า,กองเทคโนโลยีธรณี,กรม,ทรัพยากรธรณี,การสำรวจทางทะเล,สิ่งแวดล้อม,โลหะหนัก

รายงานวิชาการ
ฉบบั ที่ สทธ 5/2558

ธรณีวทิ ยากายภาพและปรมิ าณธาตุโลหะหนกั
พ้ืนทะเลอนั ดามนั ในแผนที่ระวางอำเภอครุ ะบุรี

และระวางอำเภอตะกัว่ ปา่

สำนกั เทคโนโลยธี รณี
กรมทรพั ยากรธรณี

รายงานวิชาการ
ฉบับท่ี สทธ 5/2558

ธรณีวิทยากายภาพและปรมิ าณธาตโุ ลหะหนกั
พ้ืนทะเลอันดามัน ในแผนทรี่ ะวางอำเภอครุ ะบุรี

และระวางอำเภอตะก่ัวปา่

อภิชัย กาญจนพนั ธ์ุ
วเิ ชยี ร อนิ ต๊ะเสน

สำนักเทคโนโลยีธรณี
กรมทรัพยากรธรณี

อธิบดกี รมทรพั ยากรธรณี
นายสมหมาย เตชวาล

ผู้อำนวยการกองเทคโนโลยธี รณี
นายสุวภาคย์ อม่ิ สมุทร

ผ้อู ำนวยการสว่ นพัฒนาและฟื้นฟูพ้ืนทแ่ี หล่งทรัพยากรธรณี
นายวเิ ชียร อนิ ตะ๊ เสน

จดั พมิ พโ์ ดย กองเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี
ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0 2621 9613 โทรสาร 0 2621 9612

พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2 สิงหาคม 2564
จำนวน 30 เลม่

ข้อมูลการลงรายการบรรณานกุ รม

อภชิ ยั กาญจนพันธ์ุ และวิเชยี ร อนิ ต๊ะเสน.
ธรณีวทิ ยากายภาพและปรมิ าณธาตุโลหะหนกั พนื้ ทะเลอนั ดามัน ในแผนที่ระวางอำเภอ

ครุ ะบรุ ี และระวางอำเภอตะก่ัวป่า/ โดย อภิชัย กาญจนพนั ธุ์ และวิเชยี ร อนิ ต๊ะเสน.--
กรงุ เทพฯ : สำนกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี, 2558.
42 หน้า : ภาพประกอบ : แผนที่ : ตาราง ; 30 ซม.
รายงานวชิ าการ ฉบบั ที่ สทธ 5/2558.

-I-

สารบญั

บทคดั ย่อ.................................................................................................................................................................IV
กิตตกิ รรมประกาศ...................................................................................................................................................V
1. บทนา ..................................................................................................................................................................1

1.1 หลักการและเหตผุ ล ...........................................................................................................................1
1.2 วตั ถปุ ระสงค์.......................................................................................................................................1
1.3 เปา้ หมาย............................................................................................................................................1
1.4 พ้ืนท่ีดาเนินงาน..................................................................................................................................1
1.5 ขอบเขตการดาเนินงาน......................................................................................................................2
1.6 งบประมาณ........................................................................................................................................2
1.7 ระยะเวลาดาเนนิ งาน .........................................................................................................................3
1.8 ผลผลติ ...............................................................................................................................................3
1.9 ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั ............................................................................................................................3
1.10 ผปู้ ฏิบัตงิ านสารวจ...........................................................................................................................3
2. อทุ กศาสตร์และธรณสี ัณฐานชายฝง่ั ....................................................................................................................4
2.1 อุทกศาสตรช์ ายฝงั่ ............................................................................................................................4
2.2 วิวัฒนาการของพนื้ ทีช่ ายฝงั่ ..............................................................................................................5
2.3 ชายฝ่ังจงั หวัดพงั งา ...........................................................................................................................6
3. การดาเนนิ งานสารวจ..........................................................................................................................................7
3.1 วิธีการสารวจ......................................................................................................................................7

3.1.1 การสารวจธรณีฟสิ กิ สท์ างทะเล..............................................................................................7
3.1.2 การตรวจวดั ระดบั นา้ ข้นึ -นา้ ลง...............................................................................................9
3.1.3 การเกบ็ ตัวอย่างตะกอนพ้นื ทะเล............................................................................................9
3.2 อปุ กรณก์ ารสารวจ.............................................................................................................................9
4. ผลการสารวจและวจิ ารณ์................................................................................................................................. 12
4.1 ความลกึ นา้ และลกั ษณะภูมปิ ระเทศพืน้ ทะเล ................................................................................. 12
4.2 ลักษณะตะกอนพืน้ ผวิ ท้องทะเล...................................................................................................... 17
4.3 ผลการวเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายข้อมลู ธรณฟี สิ ิกส์ทางทะเล ................................................... 19
4.4 ผลการวเิ คราะห์ธาตุโลหะหนักในตะกอนพื้นผวิ ทอ้ งทะเล.............................................................. 22
5. สรปุ ผลการสารวจ ............................................................................................................................................ 40
5.1 สรุปผลการสารวจ ........................................................................................................................... 40
5.2 การประยุกต์ใชข้ ้อมูลในด้านต่างๆ .................................................................................................. 41
5.3 ปัญหาและอุปสรรค......................................................................................................................... 41
5.3 ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................... 41
6. เอกสารอา้ งองิ .................................................................................................................................................. 42
7. ภาคผนวก ....................................................................................................................................................... 43

สว่ นธรณวี ทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี

-II-

สารบัญรูป

1-1 พื้นท่ดี าเนนิ การสารวจทาแผนทธี่ รณีวทิ ยากายภาพพนื้ ทะเล ในแผนที่ระวางอาเภอตะกั่วปา่
และอาเภอคุระบรุ ี จังหวดั พังงา พ.ศ. 2558...................................................................................................2

2-1 แผนทธ่ี รณีสัณฐานชายฝั่งทะเลอาเภอครุ ะบุรีและตะกวั่ ปา่ .............................................................................6
3-1 ลักษณะการทางานหยั่งนา้ ลกึ และบนั ทกึ ภาพหนา้ ตัดขา้ งดว้ ยคลื่นไหวสะเทอื นแบบสะทอ้ นกลบั

ระดบั ต้นื โดยใช้อปุ กรณก์ ารสารวจแบบ parametric echo sounding ตราเครอื่ งหมาย Innomar
รุ่น SES-2000 light..........................................................................................................................................8
3-2 ภาพหนา้ ตัดขา้ งความลกึ นา้ และภาพหนา้ ตัดขา้ งคลนื่ ไหวสะเทือนแบบสะท้อนกลบั
ระดับตนื้ ของชนั้ ตะกอนและชั้นหนิ ใตพ้ นื้ ทอ้ งทะเล ขณะปฏบิ ตั งิ านในพน้ื ท่สี ารวจโดย
ใชร้ ะบบ parametric echo sounding ตราเครื่องหมาย Innomar รุ่น SES-2000 light ...........................8
3-3 เรือสารวจธรณฟี ิสกิ สท์ างทะเลและเก็บตัวอยา่ งตะกอนพน้ื ทะเลในพื้นที่สารวจ .............................................9
3-4 ตัวส่งและรับสญั ญาณคล่ืนเสียง (ก) และเครอื่ งประมวลผลและแสดงภาพ (ข)
ตราเคร่ืองหมาย Innomar รุน่ SES –2000 Light ...................................................................................... 10
3-5 เครือ่ งตรวจวดั ระดบั นา้ ขึ้น-น้าลง แบบวดั ความดนั ตราเครือ่ งหมาย Valeport รุ่น 740............................ 10
3-6 เครอ่ื งมอื หาพิกัดทางภมู ศิ าสตร์บนพน้ื โลกระบบดาวเทียม ตราเครือ่ งหมาย Garmin
และโปรแกรมควบคุมการเดินเรอื Hydro Pro Navigation ขณะปฏิบัตงิ านสารวจ................................... 10
3-7 เคร่อื งมือเก็บตวั อยา่ งตะกอนพ้ืนทะเลแบบ home-made dredger ......................................................... .11
3-8 การเตรียมตัวอย่างตะกอนพื้นผวิ ท้องทะเลเพ่ือส่งวิเคราะหธ์ าตุโลหะหนัก............................................. ……11
4-1 แผนท่ีแสดงเสน้ ทางเดินเรือสารวจธรณฟี ิสกิ สท์ างทะเลและจดุ เก็บตัวอย่างตะกอนพน้ื ผวิ ทอ้ ง
ระวางอาเภอครุ ะบุรีและระวางอาเภอตะกว่ั ปา่ ………………………………………………………………………………...13
4.2 แผนทแี่ สดงจุดเกบ็ ตวั อย่างตะกอนพ้นื ผวิ ทอ้ งทะเล ในพ้นื ทสี่ ารวจระวางอาเภอครุ ะบุรแี ละ
ระวางอาเภอตะกวั่ ปา่ ..................................................................................................................................... 14
4-3 แผนที่แสดงเสน้ ชน้ั ระดับความลึกนา้ และลกั ษณะภมู ปิ ระเทศพื้นทะเลในพน้ื ทส่ี ารวจ................................. 15
4-4 แผนที่แสดงระดบั ความลกึ น้าและลักษณะภูมปิ ระเทศพน้ื ทะเลในพื้นท่ีสารวจ ในแบบ 3 มติ ิ ..................... 16
4-5 ตัวอย่างลกั ษณะตะกอนพื้นผิวทอ้ งทะเลทพี่ บในพน้ื ทสี่ ารวจ........................................................................ 17
4-6 แผนท่แี สดงชนิดและการสะสมตวั ของตะกอนพน้ื ทะเลในพ้นื ทสี่ ารวจ ......................................................... 18
4-7 แผนทแ่ี สดงเสน้ ชนั้ ระดับความลกึ พื้นผิวชนั้ ตะกอนชุดลา่ งในพ้นื ทสี่ ารวจ .................................................... 20
4-8 แผนที่แสดงเสน้ ชน้ั ระดับความหนาตะกอนชดุ บนในพ้ืนทสี่ ารวจ.................................................................. 21
4-9 แผนทแ่ี สดงปรมิ าณความเขม้ ขน้ ของธาตุโลหะอารเ์ ซนิกในพ้นื ที่สารวจ....................................................... 27
4-10 แผนทแ่ี สดงปรมิ าณความเข้มข้นของธาตโุ ลหะแคดเมยี มในพ้นื ทส่ี ารวจ.................................................... 28
4-11 แผนท่ีแสดงปริมาณความเขม้ ข้นของธาตโุ ลหะโคบอลท์ในพ้ืนทสี่ ารวจ...................................................... 29
4-12 แผนท่ีแสดงปรมิ าณความเขม้ ข้นของธาตุโลหะโครเมียมในพน้ื ทสี่ ารวจ ..................................................... 30
4-13 แผนทีแ่ สดงปรมิ าณความเขม้ ข้นของธาตโุ ลหะทองแดงในพื้นที่สารวจ ...................................................... 31
4-14 แผนที่แสดงปรมิ าณความเข้มข้นของธาตโุ ลหะเหลก็ ในพืน้ ท่ีสารวจ........................................................... 32
4-15 แผนทแ่ี สดงปริมาณความเขม้ ขน้ ของธาตโุ ลหะแมงกานีสในพ้นื ทส่ี ารวจ.................................................... 33
4-16 แผนทแ่ี สดงปรมิ าณความเขม้ ข้นของธาตโุ ลหะนิเกิลในพนื้ ท่ีสารวจ ........................................................... 34
4-17 แผนทแ่ี สดงปรมิ าณความเขม้ ขน้ ของธาตโุ ลหะตะก่วั ในพนื้ ที่สารวจ........................................................... 35
4-18 แผนทแ่ี สดงปริมาณความเข้มขน้ ของธาตโุ ลหะไทเทเนยี มในพ้นื ที่สารวจ................................................... 36

ส่วนธรณีวิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

-III-
4-19 แผนที่แสดงปริมาณความเขม้ ขน้ ของธาตุโลหะวานาเดยี มในพืน้ ท่ีสารวจ................................................... 37
4-20 แผนทแี่ สดงปรมิ าณความเข้มขน้ ของธาตุโลหะสังกะสีในพนื้ ท่ีสารวจ......................................................... 38
4-21 แผนที่แสดงบรเิ วณบา้ นทงุ่ ละอองและบา้ นบางแดด ซง่ึ เปน็ พ้ืนทที่ ม่ี ปี ริมาณความเข้มข้น

อาร์เซนิก, แคดเมียม, ตะกั่วและสังกะสสี งู ................................................................................................. 39

สารบัญตาราง

3-1 พ้นื ทแี่ สดงความถขี่ องคลน่ื เสียงแบบปฐมภมู ิ และ ทตุ ิยภมู ิ ทสี่ ่งลงไปใตท้ อ้ งทะเล
ในระบบ parametric system.........................................................................................................................8

4-1 สรุปขอ้ มลู การเดินเรือสารวจ เกบ็ ตวั อย่างตะกอนพน้ื ผิวทอ้ งทะเลและการวเิ คราะหต์ วั อยา่ ง ..................... 12
4-2 เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพตะกอนดินสาหรบั แหลง่ ทอี่ ยู่อาศยั ของสตั ว์ทะเล................................................... 25
4-3 คา่ เกณฑพ์ ้นื ฐานของการปนเป้ือนของโลหะหนักในดนิ ประเทศไทยและสหภาพยุโรป................................. 26

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี

- IV -

ธรณีวทิ ยากายภาพและปริมาณธาตุโลหะหนักพืน้ ทะเลอนั ดามัน
ในแผนท่รี ะวางอาเภอครุ ะบุรีและระวางอาเภอตะก่ัวป่า

โดย สว่ นธรณีวทิ ยาทางทะเล

บทคดั ยอ่

ส่วนธรณีวิทยาทางทะเล สานักเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี ดาเนินการสารวจจัดทา
แผนท่ีธรณีวิทยากายภาพพื้นทะเล (seafloor mapping) บริเวณพื้นที่ใกล้ชายฝ่ังทะเลและนอกชายฝั่ง ห่าง
จากชายฝั่งไมเ่ กนิ 40 กิโลเมตร ซ่ึงเป็นพ้นื ท่ีที่มคี วามสาคัญมากที่สุดในเชิงการบริหารจัดการพื้นท่ีชายฝ่ังอย่าง
เป็นระบบและมปี ระสิทธิภาพ การสารวจทาแผนทธ่ี รณีวทิ ยากายภาพพน้ื ทะเลฝ่ังทะเลอันดามันในรายงานเล่ม
น้ี ครอบคลุมพื้นทล่ี าคลองต่างๆ ท่ีไหลลงสทู่ ะเลอนั ดามนั พื้นท่อี ่าวเวะและพนื้ ท่ีนอกชายฝั่ง ห่างจากชายฝ่ังไม่
เกิน 10 กิโลเมตร ปรากฎในแผนที่กรมแผนที่ทหาร มาตราส่วน 1:50,000 จานวน 2 ระวาง คือ ระวางอาเภอ
คุระบุรีและระวางอาเภอตะก่ัวป่า จังหวัดพังงา ครอบคลุมพ้ืนท่ีประมาณ 270 ตารางกิโลเมตร ได้ข้อมูลความ
ลึกน้ารวมระยะทาง 1,150 กิโลเมตร ข้อมูลภาพหน้าตัดข้างคล่ืนไหวสะเทือนแบบสะท้อนกลับระดับตื้นรวม
ระยะทาง 1,150 กิโลเมตร เก็บตัวอย่างตะกอนพ้ืนผิวท้องทะเลจานวน 298 ตัวอย่างและวิเคราะห์ธาตุโลหะ
หนัก 12 ธาตุในตวั อยา่ งตะกอนพื้นผิวทอ้ งทะเลจานวน 266 ตัวอยา่ ง พบวา่

ระดับน้าตามแนวเส้นสารวจมีความลึก -1 ถึง -20 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง ความลาด
ชันจากชายฝัง่ ออกสู่ทะเลต่ามาก บรเิ วณทล่ี กึ ท่ีสุดอยทู่ างตะวนั ตกฉียงเหนือของพ้ืนที่สารวจ(ทางด้านตะวันตก
ของเกาะระ) บริเวณที่ตื้นที่สุดเป็นบริเวณสันดอนทรายในลาคลองต่างๆ ลักษณะตะกอนพ้ืนผิวท้องทะเล
ประกอบดว้ ยตะกอนทรายสนี า้ ตาและนา้ ตาลเหลอื ง ส่วนใหญ่มีขนาดละเอียดมากถึงปานกลาง คิดเป็นร้อยละ
73 ตะกอนทรายปนโคลนและทรายปนกรวด ร้อยละ 19 นอกจากนั้นเป็นกรวดปนทราย กรวดขนาดใหญ่ หิน
เศษหินและตะกอนโคลนทะเล

ลักษณะธรณีวิทยาช้ันตะกอนใต้พื้นท้องทะเลในพื้นที่สารวจ สามารถจาแนกออกเป็น 2 ชุด
คือ 1) ตะกอนชุดบนมีความหนาต้งั แต่ 1 เมตร จนถึง 11 เมตร ส่วนใหญ่ประกอบด้วยกรวด, ทราย, ทรายปน
โคลน, ทรายปนดินเหนียวในบริเวณอ่าวเวะและลาคลองต่างๆ โคลนปนทราย, โคลนทะเลในบริเวณนอก
ชายฝ่ัง และดินเหนียวปนพีทในบริเวณใกล้ตลิ่งคลองและปากคลองต่างๆ 2) ตะกอนชุดล่างเป็นชั้นตะกอนที่
สะสมตัวในสมัยไพลสโตซีนในสภาพแวดล้อมแบบบนบก พบปรากฏร่องรอยถูกกัดเซาะเป็นร่องน้าขนาดใหญ่
หลายบริเวณเหมือนทางน้าในปัจจุบัน ประกอบด้วยดินเหนียวแข็งปนทรายและกรวด วางตัวอยู่บนหินดาน มี
ความลกึ ตัง้ แต่ -2 ถึง -23 เมตรจากระดบั น้าทะเลปานกลาง

ธาตุโลหะหนกั ที่ปนเปื้อนในชั้นตะกอนพื้นผิวท้องทะเลในพื้นท่ีสารวจ มีปริมาณความเข้มข้น
สูงบรเิ วณบา้ นทงุ่ ละอองและบ้านบางแดด ซึง่ ธาตโุ ลหะหนักในพ้ืนที่สารวจมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ
ตะกอนดินสาหรับแหลง่ ท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ทะเล ในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และฮ่องกง
แต่ต่ากว่าคา่ เกณฑพ์ นื้ ฐานของการปนเป้ือนของโลหะหนกั ในดนิ บนบกของประเทศไทยและสหภาพยุโรป

คาสาคัญ : อันดามนั อ่าวเวะ พงั งา ธรณีฟิสกิ ส์ทางทะเล การวัดคล่นื ไหวสะเทอื นแบบสะท้อนกลบั ระดบั ตื้น
วิธี Aqua Regia Digestion เคร่อื ง ICP-OES ธาตโุ ลหะหนัก

สว่ นธรณวี ทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรพั ยากรธรณี

-V-

กิตติกรรมประกาศ

คณะผูเ้ ขียนและผู้ปฏบิ ตั ิงานขอขอบคุณ คุณสุพจน์ เจิมสวัสดิพงษ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี
คุณไวยพจน์ วรกนก ผู้อานวยการสานักเทคโนโลยีธรณี ที่ให้การสนับสนุนและคาแนะนาด้านการ
สารวจ

ขอขอบคณุ เจา้ หนา้ ท่ีศนู ยจ์ กั รกล สานักเทคโนโลยีธรณี ที่ได้ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน
สารวจคร้งั นี้

ขอขอบคุณเจ้าหน้าท่ีส่วนวิเคราะห์ดินและตะกอนธารน้า กองวิเคราะห์และตรวจสอบ
ทรัพยากรธรณี ทส่ี นบั สนนุ งานวเิ คราะห์ธาตุโลหะหนกั ในตวั อย่างตะกอนพนื้ ผิวทอ้ งทะเล

-1-

1. บทนา

1.1 หลกั การและเหตุผล

ทะเล มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อทุกคนในประเทศ นอกจากเป็นเส้นทางคมนาคมแล้ว ยังเป็น
แหล่งทรัพยากรมีชีวิต (marine living resources) และทรัพยากรไม่มีชีวิต (marine non-living resources)
อันมหาศาลของโลกอีกด้วย แต่ผลจากการพัฒนาประเทศที่ไม่คานึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึน ทาให้สภาพ
ส่ิงแวดล้อมทางทะเลเส่ือมโทรมลง บางพื้นที่ประสบปัญหาอย่างรุนแรง และบางพ้ืนที่ปัญหาเริ่มก่อตัวข้ึน
หากมีการศึกษาค้นคว้าวิจัยและเก็บบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพแล้ว เชื่อว่าสามารถช่วย
พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ และลดผลกระทบส่งิ แวดลอ้ มได้อย่างมาก

อาจกล่าวได้ว่าในประเทศไทย ยังไมม่ ีหนว่ ยงานใดดาเนินการจัดทาแผนท่ีธรณีวิทยาพ้ืนทะเล
อย่างเป็นระบบมาก่อน ปัจจุบันกรมทรัพยากรธรณี มีบุคคลากรและอุปกรณ์ท่ีสามารถสารวจศึกษาทาแผนที่
ธรณีวิทยาพื้นทะเล เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสนับสนุนเก่ียวกับงานศึกษาธรณีวิทยาส่ิงแวดล้อมในทะเลและ
ชายฝ่ัง ตัวอย่างเช่น สาเหตุหลักของการพังทลายของชายฝั่ง การหาแหล่งทรัพยากรทรายในทะเลเพ่ือถม
ชายฝ่งั ท่ีถกู กดั เซาะ เปน็ ขอ้ มลู พ้ืนฐานในงานวิศวกรรมชายฝ่ังทะเล เช่น การสรา้ งท่าเรือน้าลึก การวางแนวท่อ
ส่งน้ามันและก๊าซธรรมชาติ การวางสายเคเบิลใต้น้า การขุดลอกร่องน้าเดินเรือ นอกจากน้ันข้อมูลและแผนที่
พื้นทะเลยังเป็นประโยชน์ต่อกรมประมง และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ในการวางแผนป้องกันและ
ฟน้ื ฟแู หลง่ ทรัพยากรสตั ว์น้า เชน่ พื้นที่ทีเ่ หมาะสมสาหรับวางแนวปะการงั เทียม เป็นตน้

1.2 วัตถุประสงค์

เพ่ือสารวจศึกษาและทาแผนท่ีธรณีวิทยากายภาพพื้นทะเล บริเวณลาคลองต่างๆ ท่ีไหลลงสู่
ทะเลอันดามัน บริเวณอ่าวเวะ และพ้ืนท่ีนอกชายฝั่ง ห่างจากชายฝั่งไม่เกิน 10 กิโลเมตร ซ่ึงเป็นพื้นที่ท่ีมี
ความสาคญั มากท่สี ุดในเชงิ การบรหิ ารจัดการพ้ืนท่ีชายฝ่งั อย่างเปน็ ระบบและมีประสทิ ธภิ าพ

1.3 เปา้ หมาย

มีระบบฐานข้อมูลธรณีวิทยากายภาพพื้นทะเลที่ทันสมัย เพ่ือใช้ในการวางแผนการจัดการ
ทรัพยากร สงิ่ แวดลอ้ ม และวิศวกรรมทางทะเลและชายฝั่ง ใหม้ ีประสิทธิภาพเพ่ิมขึน้

1.4 พ้นื ทดี่ าเนินงาน

พื้นที่บริเวณลาคลองต่างๆ ที่ไหลลงสู่ทะเลอันดามัน เช่น คลองตะก่ัวป่า คลองบางด้วน
คลองเกาะเสม็ด คลองบางวัน เป็นต้น พื้นที่บริเวณอ่าวเวะและพ้ืนที่นอกชายฝ่ัง ห่างจากชายฝั่งไม่เกิน
10 กิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่ในเขตอาเภอคุระบุรีและอาเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา ปรากฏในแผนท่ีภูมิ
ประเทศ กรมแผนทที่ หาร มาตราสว่ น 1:50,000 จานวน 2 ระวาง ไดแ้ ก่ ระวาง 4626 I (อาเภอตะกั่วป่า) และ
ระวาง 4627 II (อาเภอคุระบรุ ี) ดงั แสดงในรูปที่ 1-1

สว่ นธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี

-2-

รปู ท่ี 1-1 พืน้ ท่ีดาเนนิ การสารวจจัดทาแผนทธ่ี รณีวิทยากายภาพพ้นื ทะเล ในแผนที่
ระวางอาเภอตะก่ัวปา่ และอาเภอคุระบุรี จงั หวัดพังงา พ.ศ. 2558

1.5 ขอบเขตการดาเนนิ งาน

- สารวจธรณีฟิสกิ ส์ทางทะเลด้วยวิธีบันทกึ ภาพหนา้ ตดั ขา้ งคลนื่ ไหวสะเทือนแบบสะท้อนกลบั
ระดบั ต้นื ความละเอยี ดสงู
- สารวจวัดระดับความลกึ นา้ และลกั ษณะภมู ิประเทศพ้นื ทะเล
- สารวจเก็บตัวอย่างตะกอนพ้ืนผิวทอ้ งทะเล
- วเิ คราะห์ชนิดตัวอย่างตะกอนพ้นื ทะเล
- วเิ คราะห์ธาตุโลหะหนัก 12 ชนดิ ในตะกอนพืน้ ทะเล
- จัดทารายงานและแผนทีธ่ รณีวิทยาทางทะเลมาตราส่วน 1:50,000

1.6 งบประมาณ

2 ล้านบาท

ส่วนธรณีวิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี

-3-

1.7 ระยะเวลาดาเนนิ งาน

ตลุ าคม พ.ศ. 2557- มนี าคม พ.ศ. 2558

1.8 ผลผลติ

- ฐานข้อมลู ธรณีวิทยากายภาพพ้ืนทะเล ซึ่งประกอบด้วย ลักษณะภูมปิ ระเทศพ้ืนทะเล ธรณี
สัณฐานวิทยา ธรณีวิทยาช้ันตะกอน โลหะหนกั ในตะกอนพนื้ ทะเล
- แผนท่ธี รณวี ิทยากายภาพพ้ืนทะเล จานวน 2 ระวาง
- รายงานการสารวจ

1.9 ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั

- เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ด้านธรณีวิทยากายภาพพื้นทะเล
แก่ชมุ ชนและหน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ ง เชน่ กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง กรมการขนส่งทางน้าและพาณิชย
นาวี กรมอทุ กศาสตร์ กรมประมง องคก์ รอสิ ระดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทางทะเล และนกั เรยี นนักศึกษาผูส้ นใจ

- หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งสามารถนาข้อมลู ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

1.10 ผู้ปฏิบตั ิงานสารวจ

ประกอบด้วยเจา้ หนา้ ท่ีของสานักเทคโนโลยธี รณี ดงั น้ี:-

1. นายวเิ ชยี ร อนิ ต๊ะเสน นักธรณีวทิ ยาชานาญการพิเศษ

2. นายอภิชัย กาญจนพนั ธุ์ นกั ธรณวี ทิ ยาชานาญการ

3. นายมานพ โลวะกิจ นายช่างสารวจชานาญงาน

4. นายสมศกั ดิ์ บญุ โพธชิ์ า นายชา่ งไฟฟ้าชานาญงาน

5. นายปิยะ คิดประเสริฐ นายชา่ งเคร่อื งกลชานาญงาน

6. นายนพิ นธ์ แก้วด้วง พนักงานบริการ

7. นายอภิชาติ วิรยิ ะจารี ช่างเจาะสารวจ ระดบั ช3

สว่ นธรณวี ทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

-4-

2. อทุ กศาสตรแ์ ละธรณีสัณฐานชายฝ่งั

2.1 อุทกศาสตร์ชายฝง่ั

ตามรายงานของ สิน สินสกุลและคณะ (2545) อุทกศาสตร์ชายฝ่ังหรือกระบวนการชายฝ่ัง
(coastal processes) เป็นกระบวนการต่าง ๆ ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นบนพื้นที่ชายฝั่ง โดยมีคลื่น (wave)
ลม (wind) น้าขึ้นน้าลง (tide) และกระแสน้า (tidal current) เป็นปัจจัยหรือตัวการหลัก ตัวการเหล่าน้ีมี
กระบวนการเกดิ และมกี ารเปลย่ี นแปลงทุกวัน ซึ่งมีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอ้ มชายฝง่ั

ชายฝั่งทะเลอันดามันมีภูมิอากาศแบบป่ามรสุม (tropical monsoon forest climate) อยู่
ภายใต้อิทธพิ ลของลมมรสมุ ท่ีพัดผ่านชายฝ่งั สองชนิดคือ

ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มีแหล่งกาเนิดจากมหาสมุทรอินเดียพัดผ่านพื้นท่ีในกลางเดือน
พฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ลมนี้มีความชื้นสูงและทาให้ฝนตกชุกทางฝั่งนี้มาก ลมจะมีกาลังแรงมาก
ในชว่ งเดอื นสิงหาคมและกนั ยายน

ลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มีแหล่งกาเนิดที่เย็นและแห้งจากประเทศจีน พัดผ่านพ้ืนท่ีในช่วง
กลางเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ์ เนื่องจากเป็นลมที่พัดมาจากทวีปหรือแผ่นดินใหญ่ จึงมักจะไม่มีฝนในบริเวณ
ชายฝั่งอันดามัน

โดยท่ัวไปลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะมีความสาคัญต่อชายฝั่งทะเลอันดามันมาก นอกจาก
จะทาให้เกิดฝนตกชุก โดยจะตกมากที่สุดในเดือนกันยายนและมีพายุหมุนเขตร้อน (tropical cyclone) พัดเข้า
สู่ประเทศไทยสูงสุดในช่วงเดือนกันยายนและตุลาคมเช่นเดียวกัน แต่พายุหมุนเขตร้อนมักจะเข้าสู่ฝั่งอ่าว
ไทยภาคใต้มากกว่าฝั่งอันดามัน ผลกระทบจากพายุหมุนเขตร้อนในชายฝั่งทะเลอันดามันจึงเป็นเพียงการทา
ให้เกดิ คลืน่ ลมแรง ความสูญเสียต่อทรัพย์สินของประชาชนมีน้อย แต่ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางภูมิลักษณ์
ของพ้ืนทช่ี ายฝั่ง

คลื่น (wave) ลมในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ จะมีผลทาให้เกิดคลื่นสาคัญทางชายฝั่ง
ทะเลอันดามัน โดยมีความสูงระหว่าง 0.3-1.5 เมตร และคาบเฉลี่ยของคลื่นแปรผันอยู่ระหว่าง 4.3-7.0 วินาที
โดยคลื่นจะมีทิศทางการเคลื่อนที่จากทิศตะวันตก ตะวันตกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ นอกจาก
ในเดือนกรกฎาคมซึ่งพบว่าคลื่นมักจะเคลื่อนตัวมาทางทิศใต้ นอกจากนั้นลักษณะภูมิประเทศของชายฝ่ัง
ทะเลด้านอันดามัน ซึ่งมีหมู่เกาะและหัวแหลมยื่นออกมาตามแนวชายฝั่งมากก็อาจจะเป็นตัวก้ันขวางการ
เคล่ือนท่ีของคลื่น อาจจะทาให้ทิศทางของคลื่นเปลี่ยนแนวไปจากเดิมได้ ทั้งน้ีเพราะทิศทางการเคลื่อนที่ของ
คล่ืนจะเปล่ียนแปลงตามความลึกของท้องทะเล โดยท่ัวไปเม่ือคลื่นเคลื่อนท่ีเข้าหาฝ่ังท่ีมีน้าต้ืน คล่ืนจะมีแรง
สะท้อนกลับและมักจะมีแนวต้ังฉากกับชายฝั่ง จึงทาให้คล่ืนมีความสูงเพ่ิมข้ึนแต่ความยาวคลื่นจะลดลง
จนกระทั่งคลืน่ กระทบชายฝ่งั กจ็ ะแตกตวั และความสูงของคลื่นจะลดลงหรอื สลายตัวไป

น้าข้ึนน้าลง (tide) เป็นข้อมูลสาคัญอีกประการหน่ึงต่อการเปลี่ยนแปลงชายฝ่ัง การขึ้นลง
ของนา้ ทะเลอย่ภู ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของแรงดึงดูดโลกที่สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ทาให้
น้าขึ้นน้าลงในแต่ละวันแตกต่างกัน ชนิดของน้าขึ้นน้าลงในฝั่งอันดามันเป็นแบบน้าคู่ (semidiurnal tide) คือ
นา้ ข้นึ 2 ครง้ั นา้ ลง 2 คร้ังใน 1 วัน ค่าเฉล่ียของน้าทะเลปานกลางประมาณ 2.5 เมตร และช่วงความแตกต่าง
ระหว่างน้าขึ้นน้าลงหรือเรนจ์น้าเฉลี่ย (tidal range) ในแต่ละท่ีไม่เท่ากัน เช่น บริเวณจังหวัดระนอง ประมาณ
2.5 เมตร ทีภ่ เู กต็ ประมาณ 1.7 เมตร และที่สตลู ประมาณ 2.1 เมตร

สว่ นธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี

-5-

กระแสน้า (tidal current) กระแสน้าเปล่ียนแปลงไปตามฤดูกาล ในฝั่งทะเลอันดามัน
พบวา่ กระแสนา้ ในแนวทศิ เหนอื -ใต้ จะแรงกว่าทศิ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก ท้ังสองฤดู (อัปรสดุ า ศิริพงศ์ และคณะ,
2535) ซึ่งมีผลต่อการพัดพาตะกอนไปสะสมตัวด้วย จะเห็นว่ากระแสน้าในช่วงน้าลง (ebb current) จะมี
ความรุนแรงกว่าชว่ งน้าขึ้น (flood current) จงึ ทาให้ตะกอนในช่วงน้าลงมีมากกว่าช่วงน้าข้ึน และตะกอนเหล่าน้ี
จะถกู พดั พาออกไปสะสมตวั ตามทิศทางของกระแสนา้ ที่เปลีย่ นไปตามฤดกู าลดว้ ย

2.2 ววิ ัฒนาการของพ้ืนที่ชายฝั่ง

พนื้ ทีช่ ายฝ่ังทะเลอันดามันท่ีมีอยู่ในปัจจุบันน้ันเริ่มมีวิวัฒนาการมาเมื่อ 10,000 ปีที่ผ่านมา
หลังจากสิ้นสุดยุคนา้ แข็งทีป่ กคลุมโลก การละลายของธารนา้ แข็งทป่ี กคลุมโลก ทาให้ปริมาณน้าในมหาสมุทร
มีปริมาณเพิ่มข้ึนและมีระดับสูงขึน้ ทาใหน้ า้ ทะเลไหลเข้ามาท่วมพน้ื ทซ่ี ่ึงเคยเปน็ แผ่นดินในอดีต

จากการสารวจชั้นตะกอนที่สะสมตัวอยู่ในพื้นที่ชายฝ่ัง พบว่าน้าทะเลท่ีมีระดับสูงข้ึนน้ีได้
ไหลท่วมเข้ามาในแผ่นดินเม่ือประมาณ 9,000 ปีท่ีผ่านมา และได้ข้ึนถึงระดับสูงสุดเม่ือประมาณ 6,000 ปีท่ี
ผ่านมา ด้วยระดับที่สูงกว่าระดับน้าทะเลปัจจุบันประมาณ 4 เมตร หลังจากนั้นระดับน้าทะเลก็ลดระดับลง
มาโดยมีการแกว่งไกว (fluctuation) ของระดับการขึ้นและลงในช่วงประมาณ 4,000-3,000 ปีที่ผ่านมา
และลดระดับลงมาอยใู่ นระดับปัจจบุ ันเมื่อประมาณ 1,500 ปีทีผ่ ่านมา (Sinsakul, 1992)

เมอื่ ทะเลถอยจนมาอยู่ในระดับปัจจุบัน ทาให้พ้ืนที่เดิมที่น้าทะเลเคยท่วมถึงกลายเป็นพื้นที่
ชายฝั่งทะเล แต่เนื่องจากชายฝั่งทะเลอันดามันมีข้อจากัดทางด้านธรณีโครงสร้าง และธรณีสัณฐานของ
พื้นท่ีเดิมก่อนถูกน้าท่วม จึงทาให้พื้นท่ีชายฝั่งที่เกิดข้ึนมีลักษณะแคบและส้ันกว่าชายฝั่งทางด้านอ่าวไทย

ชายฝ่ังทะเลอันดามันปัจจุบันประกอบด้วยชายฝั่งหิน ชายฝั่งหน้าผา หาดทราย เนินทราย
และท่รี าบน้าข้ึนถึง

2.3 ชายฝ่ังจงั หวดั พังงา

จังหวัดพังงามีชายฝ่ังทะเลสองด้านยาวรวมกันประมาณ 216 กิโลเมตร เป็นความยาวของ
ชายฝั่งด้านตะวันตกที่เปิดสู่ทะเลอันดามันโดยตรงประมาณ 148 กม. ตั้งแต่อ่าวเคย อ.คุระบุรี ลงมาทางใต้
จนถึงบ้านท่านุ่น อ.โคกกลอย และความยาวของชายฝั่งท่ีเป็นอ่าวพังงาทางทิศใต้ของจังหวัด ประมาณ
68 กิโลเมตร จากท่านุ่นไปทางตะวันออกจนถึงคลองบ่อแสน อ.ทับปุด ท่ีเป็นเขตแดนระหว่างจังหวัดพังงากับ
กระบ่ี

ชายฝ่ังด้านตะวันตกของจังหวัดพังงาวางตัวในแนวเหนือใต้ ประกอบด้วยชายฝั่งหิน หาด
ทราย ทร่ี าบนา้ ขึน้ ถึงและเกาะสนั ดอนใหญ่ 2 เกาะ คือ เกาะพระทอง และเกาะคอเขา ส่วนชายฝ่ังท่ีเป็นอ่าวพังงา
วางตัวในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้สัมพันธ์กับแนวรอยเล่ือนคลองมะรุย และเทือกเขาใน
บริเวณนี้ ชายฝั่งของอ่าวพังงาที่เป็นหาดทรายแคบและสนั้ เกิดข้ึนตามเกาะที่กระจัดกระจายอยู่ในอ่าวพังงา
เท่านัน้ ชายฝ่งั ส่วนมากเป็นทีร่ าบนา้ ขน้ึ ถึง จงั หวัดพังงาจึงมีเนื้อที่ป่าชายเลนมากที่สุดในประเทศไทย ประมาณ
487 ตร.กม. สว่ นมากจะอยู่ในบรเิ วณอ่าวพงั งา ส่วนในชายฝ่ังดา้ นตะวันตกจะเกิดอยู่ด้านหลังแนวหาดทราย และ
ตามแม่น้าลาคลองท่ีไม่มีคลื่นลมแรงจดั

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

-6-

รปู ท่ี 2.1 แผนทีธ่ รณสี ัณฐานชายฝง่ั ทะเลอาเภอคุระบรุ แี ละตะกว่ั ป่า (สนิ สนิ สกลุ และคณะ, 2545)

สว่ นธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรพั ยากรธรณี

-7-

3. การดาเนินงานสารวจ

3.1 วิธกี ารสารวจ

3.1.1 การสารวจธรณีฟิสกิ ส์ทางทะเล

ในการปฏบิ ัตงิ านสารวจธรณีฟิสิกส์ทางทะเล ไดก้ าหนดเสน้ ทางเดินเรือสารวจ 3 แนว 1)แนว
ตะวันตก-ตะวันออก มีระยะห่างกันแนวละประมาณ 500 เมตร 2)ในแนวเหนือ-ใต้ มีระยะห่างกันแนวละ
ประมาณ 500-1,000 เมตร 3)แนวขนานลาคลองต่างๆ หา่ งจากริมตลงิ่ ประมาณ 20 เมตร ตลอดลาคลองทั้ง 2
ฝ่งั เท่าทเ่ี รือสารวจจะเขา้ ถงึ ได้

การสารวจธรณีฟิสิกส์ทางทะเลประกอบด้วย การหย่ังน้าลึก (echo sounding) เพ่ือสารวจ
ระดบั ความลึกและลักษณะภูมิประเทศพ้ืนทะเล และการบันทึกภาพหน้าตัดข้างคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อน
กลับระดับตื้น (shallow marine seismic reflection profiling) เพ่ือศึกษาลักษณะธรณีวิทยาใต้พ้ืนท้อง
ทะเล การสารวจทั้งสองแบบจะดาเนินการไปพร้อม ๆ กัน โดยใช้อุปกรณ์การสารวจที่มีระบบการบันทึกและ
ประมวลผล คือ very high resolution parametric (non-linear) echo sounding system ตรา
เคร่ืองหมาย Innomar รุ่น SES-2000 light ซ่ึงจะบันทึกข้อมูลเป็นระบบดิจิตอลที่มีความละเอียดแม่นยาสูง
สามารถประมวลไดข้ ณะสารวจ (real-time processing) และหลังจากสารวจ (post-survey processing)

ลักษณะการทางานของอุปกรณ์ very high resolution parametric (non-linear) echo
sounding system (รูปท่ี 3-1) คือ การส่งชุดสัญญาณคลื่นเสียงท่ีประกอบด้วยสองความถ่ี (dual
frequencies) ซึ่งเป็นคล่ืนเสียงชุดแรก (primary dual-frequency) คือ 102 / 98, หรือ 103 / 97, 104 /
96, 105 / 95, หรือ 106 / 94 กิโลเฮิรทซ์ ที่มีแรงดันสูง ผ่านตัวส่งและรับสัญญาณ (transducer) ลงไปใน
น้าเพื่อหย่ังน้าลึก คลื่นเสียงท่ีสอง (secondary frequency) ซ่ึงเกิดจากการหักล้างกันระหว่างคลื่นเสียงชุด
แรกท่ีถูกเลือกส่งลงไป คือ 4, 6, 8, 10 หรือ 12 กิโลเฮิรทซ์ ตามลาดับ (ตารางท่ี 3-1) สามารถทะลุผ่านลงไป
ในชั้นตะกอนใต้พ้ืนท้องทะเล และสะท้อนกลับขึ้นมายังตัวรับสัญญาณ หลังจากน้ันอุปกรณ์ประมวลผลจะ
แสดงภาพความลกึ น้า และภาพหน้าตัดข้างคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อนกลับของช้ันตะกอนและชั้นหินใต้พื้น
ทอ้ งทะเล (รูปท่ี 3-2) การเลือกความถ่คี ล่ืนเสยี งท่เี หมาะสมในการสารวจธรณีวิทยาช้ันตะกอนใต้พ้ืนท้องทะเล
ขึ้นอยู่กบั พ้นื ท่สี ารวจแต่ละแห่ง ซึ่งก่อนการดาเนินการสารวจจริง จะทาการทดสอบการทางานและตรวจสอบ
ข้อมูลท่ีใช้คล่ืนความถี่ต่าง ๆ กันไป จนได้ความถี่ท่ีเหมาะสมท่ีสุด อย่างไรก็ตาม ลักษณะปรากฏของคล่ืนไหว
สะเทือนภายใน (internal seismic facies) ของอุปกรณ์สารวจระบบน้ีไม่สามารถจาแนกได้ชัดเจน และวัด
ความหนาของช้นั ตะกอนไดส้ งู สดุ ไม่เกิน 50 เมตร

สว่ นธรณีวิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

-8-

รูปท่ี 3-1 ลักษณะการทางานหยัง่ นา้ ลกึ และบนั ทึกภาพหนา้ ตัดขา้ งด้วยคลืน่ ไหวสะเทือน
แบบสะท้อนกลบั ระดับต้นื โดยใช้อปุ กรณ์การสารวจแบบ parametric echo
sounding ยห่ี ้อ Innomar รุ่น SES-2000 light

ตารางที่ 3-1 แสดงความถ่ขี องคลืน่ เสยี งแบบปฐมภูมิ (primary frequency) และ ทตุ ิยภูมิ
(secondary frequency) ท่สี ง่ ลงไปใต้ท้องทะเล ในระบบ parametric system

ความถ่ีปฐมภูมิ 1 (F1) ความถป่ี ฐมภูมิ 2 (F2) ความถีท่ ุติยภูมิ (F1-F2)
102 Kilohertz 98 Kilohertz 4 Kilohertz
103 Kilohertz 97 Kilohertz 6 Kilohertz
104 Kilohertz 96 Kilohertz 8 Kilohertz
105 Kilohertz 95 Kilohertz 10 Kilohertz
106 Kilohertz 94 Kilohertz 12 Kilohertz

ความลึกน้า ภาพหนา้ ตดั ขา้ งคลืน่ ไหวสะเทอื น
แบบสะท้อนกลบั ระดบั ต้ืน

รปู ที่ 3-2 ภาพหน้าตดั ขา้ งความลึกนา้ และภาพหนา้ ตัดข้างคลืน่ ไหวสะเทอื น
แบบสะทอ้ นกลบั ระดับต้ืนของชน้ั ตะกอนและชนั้ หินใต้พ้นื ท้องทะเล
ขณะปฏิบตั ิงานในพ้นื ท่สี ารวจโดยใช้ระบบ parametric echo
sounding ตราเคร่ืองหมาย Innomar รุ่น SES-2000 light

สว่ นธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

-9-

3.1.2 การตรวจวดั ระดับน้าขึ้น-นา้ ลง

การตรวจวัดระดับน้าขึ้น-ลง ประจาวัน (tide measurement) เทียบกับระดับทะเลปาน
กลางในพื้นทสี่ ารวจ ดาเนินการโดยใช้เครื่องมือ Portable Water Level Recorder ย่ีห้อ Valeport รุ่น 740
ซ่ึงเป็นอุปกรณ์ตรวจวัดระดับน้าขึ้น-ลง ระบบดิจิตอล แบบวัดความดัน ซึ่งจะวัดความกดดันของน้าจากใต้น้า
แล้วแปลงเป็นความสูงของน้าเหนืออุปกรณ์วัด โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างความดัน ความหนาแน่นของน้า
อตั ราเรง่ เนอื่ งจากแรงโน้มถ่วง และความสงู ของน้า การตรวจวัดจะบนั ทึกคา่ การเปลยี่ นแปลงระดับน้าเทียบกับ
ระดับทะเลปานกลางในพ้ืนที่สารวจ ทุกๆ 1 นาที อุปกรณ์ตรวจวัดได้ติดต้ังไว้บริเวณท่าเรือในพื้นที่สารวจแต่
ละพื้นท่ี

3.1.3 การเก็บและวิเคราะห์ตัวอยา่ งตะกอนพ้ืนผิวท้องทะเล

การเก็บตัวอย่างตะกอนพ้ืนผิวท้องทะเลเพื่อศึกษาลักษณะ ชนิด และการกระจายตัวของ
ตะกอนท่ีตกสะสมตัวอยู่บนพื้นท้องทะเลในปัจจุบัน และปริมาณการสะสมตัวของธาตุโลหะหนักจานวน
12 ชนิด ได้แก่ อาร์เซนิก (As) แคดเมียม (Cd) โคบอลท์ (Co) โครเมียม (Cr) ทองแดง (Cu) เหล็ก (Fe)
แมงกานีส (Mn) นิเกิล (Ni) ตะก่ัว (Pb) ไทเทเนียม (Ti) วานาเดียม (V) และ สังกะสี (Zn) การเก็บตัวอย่าง
ตะกอนในการสารวจครั้งนี้ได้ใช้เครื่องมือแบบ home-made dredger โดยเก็บทุกลาคลองท่ีเรือสามารถเข้า
ได้ ลาคลองละ 1-4 ตัวอยา่ ง ห่ระยะางกันประมาณ 500 เมตร บริเวณอ่าวเวะและนอกชายฝ่ัง จุดเก็บตัวอย่าง
แต่ละจุด มีระยะห่างกันประมาณ 500-1,000 เมตร ตัวอย่างตะกอนที่เก็บได้จะนามาผึ่งแดดให้แห้ง หลังจาก
นั้นจะทาการบดและรอ่ นผ่านตะแกรงขนาด 100 เมช (mesh) ดังแสดงในรูปท่ี 3-8 แล้วส่งวิเคราะห์ธาตุโลหะ
หนักโดยใช้วิธี Aqua Regia Digestion Inductively coupled plasma-optical emission spectrometry
(ICP-OES)

3.2 อุปกรณส์ ารวจ

รูปท่ี 3-3 เรือสารวจธรณฟี ิสิกส์ทางทะเลและเก็บตัวอย่างตะกอนพน้ื ทะเลในพน้ื ท่ีสารวจ

สว่ นธรณีวิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี

- 10 -

- 11 -

- 12 -

4. ผลการสารวจและวจิ ารณ์

ผลการสารวจทาแผนท่ีธรณีวิทยากายภาพพื้นทะเล ในแผนท่ี 2 ระวาง ต้ังแต่อาเภอคุระบุรี
ถึงอาเภอตะก่ัวป่า จังหวัดพังงา ครอบคลุมพื้นท่ีประมาณ 270 ตารางกิโลเมตร ได้ข้อมูลความลึกน้ารวม
ระยะทาง 1,150 กิโลเมตร ข้อมูลภาพหน้าตัดข้างคล่ืนไหวสะเทือนแบบสะท้อนกลับระดับต้ืนรวมระยะทาง
1,150 กิโลเมตร เก็บตัวอย่างตะกอนพ้ืนผวิ ท้องทะเลจานวน 298 ตัวอย่าง (รูปที่ 4-1 และ 4-2) และวิเคราะห์
ทางเคมีธาตุโลหะหนัก 12 ธาตุ ซึ่งประกอบด้วย อาร์เซนิก (As) แคดเมียม (Cd) โคบอลท์ (Co) โครเมียม
(Cr) ทองแดง (Cu) เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) นิเกิล (Ni) ตะก่ัว (Pb) ไทเทเนียม (Ti) วานาเดียม (V)
และสังกะสี (Zn) ทีอ่ าจปนเปอื้ นในชนั้ ตะกอนพืน้ ผิวทอ้ งทะเลจานวน 266 ตวั อยา่ ง (ตารางที่ 4-1)

ตารางที่ 4-1 สรปุ ข้อมูลการเดนิ เรือสารวจ เกบ็ ตวั อย่างตะกอนพ้ืนผิวท้องทะเลและการวิเคราะหต์ ัวอยา่ ง

ระวาง ชือ่ ระวาง พน้ื ที่ เดินเรอื สารวจ ตวั อยา่ งตะกอน จานวนตวั อยา่ งตะกอน
แผนที่ สารวจ ธรณฟี ิสกิ ส์ทางทะเล พืน้ ผวิ ท่วี เิ คราะหธ์ าตุโลหะหนกั
(ตร. ท้องทะเล
กม.) (กม.) 12 ชนดิ

Seismic Echo
reflection sounding

4627 II อาเภอครุ ะบุรี 180 700 700 149 122
4626 I อาเภอตะก่วั ป่า 149 144
รวม 2 ระวาง 90 450 450
298 266
270 1,150 1,150

4.1 ความลึกน้าและลกั ษณะภมู ิประเทศพื้นทะเล

ระดับนา้ ตามแนวเสน้ สารวจมคี วามลกึ -1 ถึง -20 เมตร จากระดบั ทะเลปานกลาง (รูปที่ 4-3
และ 4-4) ความลาดชนั พืน้ ทอ้ งทะเลจากชายฝ่งั ออกสทู่ ะเลต่า บริเวณลึกสุดอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ
พนื้ ที่สารวจ บริเวณทต่ี ้ืนสุดเป็นบรเิ วณสนั ดอยทรายตามลาคลองต่างๆ ลกั ษณะพ้ืนผิวท้องน้าไม่ราบเรียบ อาจ
มีสาเหตมุ าจากการขดุ แรโ่ ดยเรอื ขุดและแพดนั ในสมยั ก่อน และกาลังมีการปรับสภาพพ้ืนท้องน้าตามธรรมชาติ
จากกระแสน้าขึน้ -นา้ ลง ในอ่าวเวะน้าลึกสุดประมาณ -16 เมตร อยู่บริเวณทางตอนเหนือของเกาะคอเขาก่อน
ถึงปากรอ่ งทงุ่ ดาบ พบแนวร่องนา้ ลึกอย่างชัดเจนในอ่าวเวะก่อนออกสู่ทะเลอันดามัน โดยเกิดจากการที่ช่วงน้า
ข้ึน น้าทะเลจะค่อยๆ ไหลเข้ามาจากทุกทาง แต่ในขณะช่วงน้าลงน้าทะเลส่วนใหญ่จะมารวมและไหลออกสู่
ทะเลทางปากรอ่ งทงุ่ ดาบ ซึ่งเปน็ ปากร่องน้าทกี่ วา้ งทส่ี ดุ ในพนื้ ท่ีสารวจ

ส่วนธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 13 -

รูปท่ี 4-1 แผนที่แสดงเส้นทางเดินเรอื สารวจธรณฟี ิสิกสท์ างทะเล ในพื้นทีส่ ารวจระวาง
อาเภอคุระบุรีและระวางอาเภอตะกั่วปา่

ส่วนธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 14 -

รูปท่ี 4-2 แผนทีแ่ สดงจุดเก็บตัวอยา่ งตะกอนพืน้ ผวิ ท้องทะเล ในพืน้ ที่สารวจระวางอาเภอ
คุระบรุ แี ละระวางอาเภอตะก่ัวป่า

สว่ นธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 15 -

รูปท่ี 4-3 แผนที่แสดงเสน้ ชั้นระดบั ความลึกนา้ และลกั ษณะภูมิประเทศพ้นื ทะเลในพ้นื ท่ี
สารวจ ระวางอาเภอคุระบุรีและระวางอาเภอตะกัว่ ป่า

สว่ นธรณีวิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 16 -

รปู ที่ 4-4 แผนทีแ่ สดงระดบั ความลกึ น้าและลกั ษณะภูมิประเทศพน้ื ทะเลในพ้นื ท่สี ารวจในแบบ 3 มติ ิ

สว่ นธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 17 -

4.2 ลักษณะตะกอนพน้ื ผวิ ทอ้ งทะเล

จากการเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างตะกอนพื้นผิวท้องทะเล ตามมาตรฐานของ Folks (1980)
จานวน 298 ตวั อย่าง พบว่าประกอบดว้ ย (รูปที่ 4-5, 4-6 และภาคผนวก ก) :-

ตะกอนทราย (Sand sediment) สีน้าตาล-น้าตาลเหลอื ง สว่ นใหญ่มขี นาดละเอียดมาก-ปาน
กลาง พบท่ัวบริเวณของพ้ืนที่สารวจ คิดเป็นสัดส่วน ประมาณ 73% นอกจากน้ียังพบตะกอนทรายปนโคลน
และทรายปนกรวด คิดเป็นสดั ส่วนประมาณ 19% (รวมเปน็ 92%) ทเ่ี หลอื เป็นพวกกรวดปนทราย กรวดขนาด
ใหญ่ หิน เศษหินและตะกอนโคลน (รวมกัน 8%)

รปู ที่ 4-5 ตวั อยา่ งลักษณะตะกอนพื้นผิวท้องทะเลที่พบในพืน้ ทีส่ ารวจ AKB066-ตะกอนทรายปนโคลน
AKB101-ตะกอนทราย AKB073-ตะกอนทรายปนกรวด และ ATP041-กรวดปนทราย

ส่วนธรณวี ทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 18 -

รูปที่ 4-6 แผนทแ่ี สดงชนดิ และการสะสมตัวของตะกอนพ้ืนทะเลในพ้นื ที่สารวจ (รายละเอียด
แสดงไว้ในภาคผนวก ก)

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี

- 19 -

4.3 ผลการวเิ คราะห์และแปลความหมายข้อมลู ธรณีฟสิ ิกสท์ างทะเล

จากผลการวิเคราะห์ และแปลความหมายข้อมูลภาพหน้าตัดข้างคล่ืนไหวสะเทือนแบบ
สะท้อนกลับระดับต้ืน (shallow seismic reflection profile) ความละเอียดสูง พบว่าลักษณะธรณีวิทยาช้ัน
ตะกอนใต้พ้ืนท้องทะเลในพ้ืนท่ีสารวจ สามารถจาแนกออกเป็น 2 ชุดหลัก คือ ชั้นตะกอนชุดล่าง (lower
sequence) และชั้นตะกอนชดุ บน (upper sequence)

ชั้นตะกอนชุดล่าง ตามแนวเส้นสารวจอยู่ลึกจากระดับน้าทะเลปานกลางต้ังแต่ -2 ถึง -23
เมตร (ภาคผนวก ง และ จ) เป็นชั้นตะกอนท่ีสะสมตัวในสมัยไพลสโตซีน ในสภาพแวดล้อมแบบบนบก พบ
ปรากฏรอ่ งรอยถูกกัดเซาะเปน็ ร่องน้าขนาดใหญ่หลายบริเวณมีลักษณะเหมือนทางน้าในปัจจุบัน ประกอบด้วย
ดินเหนยี วแขง็ ปนทรายและกรวด วางตวั อยบู่ นหินดาน (รปู ที่ 4-7)

ชั้นตะกอนชุดบน เป็นชั้นตะกอนท่ีสะสมตัวโดยอิทธิพลของน้าทะเลมาตั้งแต่สมัยโฮโล
ซีนตอนต้นจนถึงปัจจุบัน มีความหนาต้ังแต่ 1 เมตร จนถึง 11 เมตร ส่วนใหญ่ประกอบด้วยกรวด, ทราย,
ทรายปนโคลน, ทรายปนดินเหนียวในบริเวณอ่าวเวะและลาคลองต่างๆ โคลนปนทราย, โคลนทะเลในบริเวณ
นอกชายฝั่ง และดนิ เหนียวปนพีทในบรเิ วณใกล้ตลงิ่ คลองและปากคลองต่างๆ (รูปท่ี 4-8)

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 20 -

รปู ท่ี 4-7 แผนที่แสดงเส้นชนั้ ระดับความลึกพนื้ ผวิ ชั้นตะกอนชดุ ล่างในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณีวิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 21 -

รูปที่ 4-8 แผนท่แี สดงเสน้ ชัน้ ระดบั ความหนาตะกอนชดุ บนในพนื้ ทสี่ ารวจ

สว่ นธรณวี ทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 22 -

4.4 ผลการวิเคราะหธ์ าตโุ ลหะหนกั ในตะกอนพืน้ ผวิ ท้องทะเล

โลหะหนัก (Heavy Metals) หมายถงึ ธาตุทม่ี ีความถ่วงจาเพาะต้งั แต่ 5 ข้ึนไป ซึ่งเป็นธาตุใน
ตารางธาตุท่ีมีเลขอะตอม ต้ังแต่ 23-34 และ 40-52 รวมท้ังธาตุในอนุกรมแลนทาไนด์และแอกติไนด์ อยู่ใน
คาบ 5-7 ในตารางธาตุ มีสถานะเปน็ ของแข็ง (ยกเว้นปรอทในสภาวะปกติ) ในสถานะปกติโลหะหนักเมื่ออยู่ใน
รูปของธาตุบริสุทธิ์มีความเป็นพิษเล็กน้อย แต่ถ้าอยู่ในรูปสารประกอบบางตัวจะเป็นอันตรายมาก โลหะหนัก
เป็นสารที่คงตัว ไม่สามารถสลายตัวได้ในกระบวนการธรรมชาติ จึงมีบางส่วนตกตะกอนสะสมอยู่ในดิน ดิน
ตะกอนที่อยู่ในน้ารวมถึงการสะสมอยู่ในสตั ว์นา้

โลหะหนักมีทั้งหมด 68 ธาตุ เช่น ตะก่ัว (Pb) ปรอท (Hg) แคดเมี่ยม (Cd) สังกะสี (Zn)
ทองแดง (Cu) นิเกิล (Ni) โครเมียม (Cr) เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) โคบอลต์ (Co) สารหนู (As) ไทเทเนียม
(Ti) และ วานาเดียม (V) เป็นต้น โลหะหนักท่ีมีบทบาทต่อส่ิงแวดล้อมมากท่ีสุด คือ ปรอท ตะกั่ว แคดเมียม
และสารหนู มนุษย์ได้รับโลหะหนักเข้าไปในร่างกาย อาจจะเนื่องมาจากโลหะหนักสะสมอยู่ในห่วงโซ่อาหาร
และในขบวนการทางชีวภาพมนุษย์อาจจะบริโภคเข้าไปโดยตรงหรือได้สัมผัสหรือได้รับโดยทางอ้อม มักพบ
โลหะหนักปนเป้ือนในตะกอนมากกว่าในน้าเสมอ เพราะตะกอนมีประจุเป็นลบเป็นส่วนใหญ่ ส่วนโลหะหนักมี
ประจเุ ปน็ บวก จึงมคี วามสามารถเกาะยดึ กันไดด้ กี วา่ ในนา้

The Agency for Toxic Substances and Disease Registry (ATSDR :
www.atsdr.cdc.gov) เป็นองค์กรที่ก่อตั้งข้ึนเพื่อศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ลดลงจากสาร
อันตรายต่างๆ ได้รวบรวมรายการสารท่ีเป็นอันตรายจัดอันดับไว้เป็น Top 20 Hazardous Substances ใน
Medical Management Guidelines for Acute Chemical Exposures (1992) ซ่ึงโลหะหนัก 4 ชนิด คือ
อาร์เซนิก ตะก่ัว ปรอท และแคดเมียม จัดอยู่ในกลุ่มนี้ โดยอาร์เซนิกเป็นโลหะในลาดับท่ี 1 ใน Top 20
Hazardous Substances ของ ATSDR ได้จัดอันดับไว้ ความเป็นพิษเฉียบพลันจากโลหะหนักส่วนใหญ่มี
สาเหตุมาจากอาร์เซนิก อาร์เซนิกจะถูกปล่อยสู่ส่ิงแวดล้อมได้จากกระบวนการถลุงแร่จาพวกทองแดง สังกะสี
และตะก่ัว กระบวนการผลิตสารเคมีและแก้ว รวมถึงกระบวนการผลิตยาฆ่าแมลง โดยอวัยวะเป้าหมายที่
อาร์เซนิกเข้าไปทาปฏิกิริยาคือ ในเลือด ไต ระบบประสาทส่วนกลาง และระบบย่อยอาหาร ตะก่ัวเป็นโลหะ
หนกั ในลาดับที่ 2 การไดร้ ับตะก่วั ในปรมิ าณหนง่ึ เป็นสาเหตุใหเ้ กดิ ความเปน็ พิษเฉียบพลันจากโลหะหนักในเด็ก
ในทกุ ๆปมี กี ารใชต้ ะกว่ั ในกระบวนการผลติ ตา่ งๆประมาณ 2.5 ล้านตันท่ัวโลก ซ่ึงส่วนใหญ่ใช้ในแบตเตอรี่ การ
หุ้มสายเคเบิล และกระสุน นอกจากนี้ยังพบในเม็ดสี พลาสติกพีวีซี ดินสอ และยาฆ่าแมลง โดยอวัยวะ
เปา้ หมายหลักทต่ี ะก่ัวเข้าไปทาปฏิกิริยาคือ กระดูก สมอง ไต และต่อมไทรอยด์ ปรอทเป็นโลหะหนักในลาดับ
ท่ี 3 ปรอทที่พบในส่ิงแวดล้อมเกิดจากการปล่อยก๊าซจากภูเขาไฟระเบิด ซ่ึงอยู่ใน 3 รูปแบบ คือ ธาตุปรอท
สารอินทรยี ป์ รอท และสารอนนิ ทรยี ์ปรอท อุตสาหกรรมท่ีใช้ปรอทในการผลิตได้แก่ การทาเหมืองแร่ การผลิต
กระดาษ ปรอทที่อยู่ในอากาศสามารถแพร่กระจายไปได้ท่ัวโลกโดยกระแสลม และกลับสู่ผิวโลกในรูปฝน
รวมทงั้ สะสมในแตล่ ะลาดับช้ันของห่วงโซ่อาหาร ปรอทถูกยกเลิกใช้เป็นส่วนประกอบของสีและยาฆ่าแมลงมา
ตง้ั แตป่ ี 1990 แต่ยังคงใช้ในเทอร์โมมิเตอร์ เทอร์โมสแตทส์ และวัสดุอุดฟัน โดยอวัยวะเป้าหมายหลักที่ปรอท
เข้าไปทาปฏิกิริยาคือสมองและไต แคดเมียมเป็นโลหะหนักในลาดับที่ 7 ใน Top 20 Hazardous
Substances ของ ATSDR ไดจ้ ดั อันดบั ไว้ แคดเมยี มเป็นผลติ ภณั ฑ์ซงึ่ เปน็ ผลพลอยได้จากการทาเหมืองแร่และ
ถลุงแร่ตะก่ัวและสังกะสี แคดเมียมมักถูกใช้ในแบตเตอร่ีนิกเกิล ตะกั่ว พลาสติกพีวีซี และเม็ดสี และสามารถ
พบแคดเมียมในดินเนื่องจากการใช้ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าเชื้อรา และปุ๋ย แคดเมียมถูกดูดซับ 15 – 50% ในระบบ

ส่วนธรณวี ทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 23 -

ทางเดินหายใจ และถูกดูดซับในลาไส้ประมาณ 2 – 7% โดยอวัยวะเป้าหมายหลักที่แคดเมียมเข้าไปทา
ปฏกิ ิรยิ าคอื ตับ ไต สมอง ปอด และกระดกู

เนอื่ งจากประเทศไทยยังไม่มีเกณฑ์มาตรฐานโลหะหนักในดินตะกอนในทะเล จึงได้นาค่าท่ีได้
ไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพดินตะกอนของต่างประเทศได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ฮ่องกง
ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์

สรุปผลการวิเคราะห์ทางเคมีธาตุโลหะหนักจานวน 12 ธาตุ ซึ่งประกอบด้วย สารหนู(อาร์เซ
นิก) แคดเมียม โคบอลท์ โครเมียม ทองแดง เหล็ก แมงกานีส นิเกิล ตะก่ัว ไทเทเนียม วานาเดียมและสังกะสี
ท่ีปนเปื้อนในตะกอนพ้ืนผิวท้องทะเล จานวน 266 ตัวอย่าง โดยวิธี Aqua Regia Digestion ICP-OES
(Inductively Couple Plasma-Optical Emission Spectrometer) (ภาคผนวก ข) ในแผนที่ 2 ระวาง
ดาเนนิ การโดยสว่ นวเิ คราะห์ดินและตะกอนธารน้า กองวิเคราะห์และตรวจสอบทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากร
ธรณี พบว่า (ภาคผนวก ค):

อาร์เซนกิ (As) ในแผนที่ระวางอาเภอครุ ะบรุ ี คา่ สูงสุด 221 mg/kg
แคดเมยี ม (Cd) ค่าสูงสุด 5.2 mg/kg
โคบอลท์ (Co) ค่าตา่ สดุ ต่ากว่า 2 mg/kg ค่าสงู สุด 12 mg/kg
โครเมยี ม (Cr) คา่ ต่าสดุ ตา่ กวา่ 0.3 mg/kg คา่ สงู สดุ 53 mg/kg
ทองแดง (Cu) คา่ ต่าสดุ ต่ากว่า 2 mg/kg ค่าสงู สดุ 13 mg/kg
เหล็ก (Fe) ค่าตา่ สดุ ต่ากว่า 1 mg/kg คา่ สูงสุด 9.62 %
แมงกานสี (Mn) คา่ ตา่ สดุ ต่ากว่า 2 mg/kg ค่าสงู สดุ 730 mg/kg
นิเกลิ (Ni) คา่ ตา่ สดุ 1.03 % คา่ สูงสุด 12 mg/kg
ตะกั่ว (Pb) คา่ ตา่ สดุ 19 mg/kg คา่ สูงสดุ 39 mg/kg
ไทเทเนยี ม (Ti) ค่าต่าสดุ ตากวา่ 1 mg/kg คา่ สูงสุด 542 mg/kg
วานาเดยี ม (V) คา่ ตา่ สดุ ต่ากวา่ 4 mg/kg คา่ สูงสดุ 132 mg/kg
สงั กะสี (Zn) ค่าต่าสดุ 23 mg/kg ค่าสงู สดุ 94 mg/kg
ค่าต่าสดุ 2 mg/kg
คา่ ตา่ สดุ 5 mg/kg

อาร์เซนิก (As) ในแผนทีร่ ะวางอาเภอตะกัว่ ป่า ค่าสูงสุด 74 mg/kg
แคดเมียม (Cd) คา่ สงู สดุ 2 mg/kg
โคบอลท์ (Co) ค่าต่าสดุ ต่ากวา่ 2 mg/kg คา่ สงู สุด 9 mg/kg
โครเมียม (Cr) คา่ ต่าสดุ ต่ากวา่ 0.3 mg/kg คา่ สงู สดุ 53 mg/kg
ทองแดง (Cu) คา่ ตา่ สดุ ตา่ กวา่ 1 mg/kg ค่าสูงสุด 12 mg/kg
เหลก็ (Fe) ค่าต่าสดุ 1 mg/kg คา่ สงู สดุ 8.10 %
แมงกานีส (Mn) คา่ ต่าสดุ ต่ากว่า 2 mg/kg) ค่าสงู สดุ 755 mg/kg
นเิ กลิ (Ni) ค่าต่าสดุ 0.22 % ค่าสูงสุด 9 mg/kg
ตะกั่ว (Pb) ค่าต่าสดุ 24 mg/kg คา่ สงู สุด 39 mg/kg
ไทเทเนยี ม (Ti) คา่ ต่าสดุ ต่ากว่า 1 mg/kg ค่าสูงสุด 425 mg/kg
วานาเดยี ม (V) คา่ ต่าสดุ ต่ากวา่ 4 mg/kg คา่ สงู สุด 71 mg/kg
สงั กะสี (Zn) ค่าต่าสดุ 23 mg/kg คา่ สงู สดุ 48 mg/kg
ค่าต่าสดุ 3 mg/kg
คา่ ตา่ สดุ ตา่ กว่า 7 mg/kg

สว่ นธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 24 -

ธาตุโลหะหนักที่ปนเป้ือนในชั้นตะกอนพ้ืนผิวท้องทะเลในพ้ืนท่ีสารวจทั้ง 2 ระวาง (รูปที่ 4-9
ถึง 4-20) มีปริมาณความเข้มข้นสูงโดยเฉพาะอาร์เซนิก แคดเมียม ตะก่ัวและสังกะสี ในพื้นท่ีบริเวณบ้านทุ่ง
ละอองและบา้ นบางแดด(รูปท่ี 4-21) จึงควรมีการเก็บตัวอย่างตะกอนพ้ืนท้องทะเลเพิ่มเพ่ือศึกษาการกระจาย
ตวั ของธาตุโลหะหนกั ในขัน้ รายละเอียด โดยเฉพาะในบริเวณ 2 พ้ืนท่ีดงั กล่าว

ธาตโุ ลหะหนกั ในพืน้ ทสี่ ารวจมีค่าสงู กว่าเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพตะกอนดินสาหรับแหล่งที่อยู่
อาศัยของสัตว์ทะเล ในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และฮ่องกง (ตารางที่ 4-2) แต่ต่ากว่าค่า
เกณฑ์พน้ื ฐานของการปนเป้ือนของโลหะหนกั ในดนิ บนบกของประเทศไทยและสหภาพยุโรป (ตารางที่ 4-3)

สว่ นธรณีวิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 25 -

ตารางท่ี 4.2 เกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพตะกอนดินสาหรบั แหล่งท่ีอยู่อาศยั ของสตั วท์ ะเล

เกณฑก์ าหนด คา่ ความเข้มข้นของโลหะหนัก (มิลลกิ รมั /กโิ ลกรมั )
As Cd Co Cr Cu Fe Mn Ni Pb Ti V Zn

ค่าความเข้มข้นท่ีไม่เป็นพิษต่อ

ส่ิ ง มี ชี วิ ต ใ น ท ะ เ ล ต า ม

ข้อกาหนดใน

Florida DEP Sediment 0.01 0.00 - 0.05 0.02 - - - 0.03 - - 0.12

Quality Guideline

Threshold effect level

(กรมควบคุมมลพษิ , 2546)

ค่าความเข้มข้นที่ไม่เป็นพิษต่อ

สิ่งมีชีวิตในทะเล ตามร่าง

ขอ้ กาหนดใน

Australia and New 0.02 0.00 - 0.08 0.07 - - - 0.05 - - 0.20

Zealand Draft Sediment

Quality Guideline-lower

(กรมควบคุมมลพิษ, 2546)

ค่าความเข้มข้นท่ีอาจเป็นพิษ

ต่อส่ิงมีชีวิตในทะเล ตาม

ข้อกาหนดใน

Florida DEP Sediment 0.04 0.00 - 0.16 0.11 - - - 0.11 - - 0.27

Quality Guideline

Threshold effect level

(กรมควบคมุ มลพษิ , 2546)

ค่าความเข้มข้นที่อาจเป็นพิษ

ต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล ตามร่าง

ขอ้ กาหนดใน

Australia and New 0.07 0.01 - 0.37 0.27 - - - 0.22 - - 0.41

Zealand Draft Sediment

Quality Guideline-lower

(กรมควบคุมมลพษิ , 2546)

ค่าความเข้มข้นที่สามารถขุด

ลอกตะกอนดินได้ ตามร่าง

ขอ้ กาหนด 0.01 0.00 - 0.08 0.07 - - - 0.08 - - 0.20
Hong Kong Draft Sediment

Quality Guidline-higher

(กรมควบคมุ มลพษิ , 2546)

ค่าความเข้มข้นที่สามารถขุด

ลอกตะกอนดินได้โดยต้องผ่าน

ก า ร ศึ ก ษ า ผ ล ก ร ะ ท บ

สงิ่ แวดล้อม ตามร่างข้อกาหนด 0.00 0.00 - 0.16 0.11 - - - 0.11 - - 0.27

Hong Kong Draft Sediment

Quality Guidline-higher

(กรมควบคุมมลพษิ , 2546)

คา่ ความเข้มข้นธาตโุ ลหะหนัก <3 - <0.3- <1 - <1 - <2 - 0.10- 17 - <1 - <4 - 23 - 2 - <7 -

จากการสารวจฯ 221 5.2 12 53 13 9.62 755 12 39 542 132 94

สว่ นธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี

- 26 -

ตารางท่ี 4-3 คา่ เกณฑพ์ ืน้ ฐานของการปนเป้ือนของโลหะหนักในดินประเทศไทยและสหภาพยโุ รป

เกณฑ์กาหนด คา่ ความเข้มขน้ ของโลหะหนกั (มิลลกิ รมั /กโิ ลกรัม) V Zn
As Cd Co Cr Cu Fe% Mn Ni Pb Ti
- 70
ค่าเกณฑ์พ้ืนฐานของการ -
-
ปนเปื้อนของโลหะหนัก 30 0.15 20 80 45 - - 45 55 - -
ในดินประเทศไทย (กรม - -
-
วชิ าการเกษตร, 2545) 3,000
300
ปริมาณโลหะหนกั สงู สดุ ท่ี
ยอมให้มีได้ในดินเพื่ออยู่ <7 -
อ า ศั ย แ ล ะ ก า ร เ ก ษ ต ร 94

ต า ม ร่ า ง ป ร ะ ก า ศ 3.9 37 300 - - - 1,800 1,600 400 -
คณะกรรมการ

สิ่ง แ ว ด ล้อ มแ ห่ งช า ติ
(2546)

ปรมิ าณโลหะหนักสงู สุดท่ี
ยอมให้มีได้ในดินที่ไม่ได้
ใ ช้ เ พื่ อ อ ยู่ อ า ศั ย แ ล ะ

การเกษตร ตามร่าง 27 810 640 - - - 32,000 41,000 750 -
ประกาศคณะกรรมการ

สิ่ง แ ว ด ล้อ มแ ห่ งช า ติ
(2546)

ค่ากาหนดท่ียอมให้มีได้ - 20 - 1,000 900 - - 400 1,000 -
ใ น ก า ก ต ะ ก อ น ท่ี จ ะ
น า ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร เ ก ษ ต ร

(ก ร ม ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ ,
2546)

ค่าเกณฑ์พื้นฐานของการ
ปนเปื้อนของโลหะหนัก
ในดินของสหภาพยุโรป - 3 100 100 100 - - 50 100 -
(ก ร ม ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ ,
2546)

ค่าควา มเ ข้ม ข้นธา ตุ <3- <0.3- <1 - <1 - <2 - 0.10- 17 - <1 - <4 - 23 - 2-
โ ล ห ะ ห นั ก จ า ก ก า ร 221 5.2 12 53 13 9.62 755 12 39 542 132
สารวจฯ

สว่ นธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี

- 27 -

รูปที่ 4-9 แผนทแ่ี สดงปรมิ าณความเขม้ ข้นของธาตโุ ลหะอารเ์ ซนกิ ทสี่ ะสมในชั้นตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพน้ื ทสี่ ารวจ

สว่ นธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 28 -

รปู ที่ 4-10 แผนท่แี สดงปริมาณความเข้มขน้ ของธาตุโลหะแคดเมยี มที่สะสมในชน้ั ตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 29 -

รปู ที่ 4-11 แผนท่แี สดงปรมิ าณความเขม้ ขน้ ของธาตุโลหะโคบอลท์ที่สะสมในชน้ั ตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 30 -

รปู ท่ี 4-12 แผนทีแ่ สดงปริมาณความเข้มขน้ ของธาตุโลหะโครเมียมที่สะสมในชน้ั ตะกอน
พื้นผวิ ท้องทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 31 -

รปู ที่ 4-13 แผนท่แี สดงปรมิ าณความเขม้ ข้นของธาตุโลหะทองแดงที่สะสมในชนั้ ตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 32 -

รปู ท่ี 4-14 แผนท่แี สดงปริมาณความเข้มขน้ ของธาตุโลหะเหล็กท่ีสะสมในช้นั ตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้ืนท่สี ารวจ

ส่วนธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 33 -

รปู ที่ 4-15 แผนท่แี สดงปริมาณความเข้มขน้ ของธาตุโลหะแมงกานสี ที่สะสมในชน้ั ตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 34 -

รปู ที่ 4-16 แผนท่แี สดงปรมิ าณความเขม้ ขน้ ของธาตุโลหะนิเกลิ ทสี่ ะสมในช้นั ตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 35 -

รปู ที่ 4-17 แผนท่แี สดงปรมิ าณความเขม้ ขน้ ของธาตุโลหะตะก่ัวทสี่ ะสมในช้นั ตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 36 -

รปู ที่ 4-18 แผนท่แี สดงปริมาณความเข้มขน้ ของธาตุโลหะไทเทเนยี มที่สะสมในช้นั ตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 37 -

รปู ที่ 4-19 แผนท่แี สดงปริมาณความเข้มขน้ ของธาตุโลหะวานาเดยี มที่สะสมในช้นั ตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

- 38 -

รปู ที่ 4-20 แผนท่แี สดงปรมิ าณความเขม้ ขน้ ของธาตุโลหะสงั กะสที ี่สะสมในชั้นตะกอน
พน้ื ผวิ ทอ้ งทะเลในพ้นื ที่สารวจ

ส่วนธรณวี ิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี

- 39 -

รปู ท่ี 4-21 แผนทีแ่ สดงบริเวณบา้ นทุ่งละอองและบา้ นบางแดด ซ่ึงเปน็ พ้นื ทีท่ ่ีมีปรมิ าณ
ความเขม้ ข้นอารเ์ ซนิก, แคดเมียม, ตะกั่วและสังกะสีสงู

สว่ นธรณวี ทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 40 -

5. สรปุ ผลการสารวจ

5.1 สรปุ ผลการสารวจ

ผลการสารวจทาแผนที่ธรณีวิทยากายภาพพื้นทะเล ฝั่งทะเลอันดามัน ในแผนท่ี 2 ระวาง
ได้แก่ ระวางอาเภอคุระบรุ ี และระวางอาเภอตะกวั่ ป่า ครอบคลุมพ้นื ทป่ี ระมาณ 270 ตารางกิโลเมตร ได้ข้อมูล
ความลึกน้ารวมระยะทาง 1,150 กิโลเมตร ข้อมูลภาพหน้าตัดข้างคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อนกลับระดับตื้น
รวมระยะทาง 1,150 กิโลเมตร เก็บตัวอย่างตะกอนพ้ืนผิวท้องทะเลจานวน 298 ตัวอย่าง และวิเคราะห์ทาง
เคมีธาตุโลหะหนกั 12 ธาตุ จานวน 266 ตวั อยา่ ง พบวา่

ระดบั นา้ ตามแนวเส้นสารวจมีความลึก -1 ถึง -20 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง ความลาด
ชันพ้ืนทอ้ งทะเลจากชายฝัง่ ออกสทู่ ะเลต่า บริเวณลึกสุดอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพ้ืนที่สารวจ บริเวณ
ทต่ี ืน้ สุดเปน็ บริเวณสันดอยทรายตามลาคลองต่างๆ ลักษณะพ้ืนผิวท้องน้าไม่ราบเรียบ อาจมีสาเหตุมาจากการ
ขุดแร่โดยเรือขุดและแพดันในสมัยก่อน และกาลังมีการปรับสภาพพื้นท้องน้าตามธรรมชาติจากกระแสน้าขึ้น-
น้าลง ในอ่าวเวะน้าลกึ สุดประมาณ -16 เมตร อยู่บริเวณทางตอนเหนือของเกาะคอเขาก่อนถึงปากร่องทุ่งดาบ
พบแนวร่องน้าลึกอย่างชัดเจนในอ่าวเวะก่อนออกสู่ทะเลอันดามัน โดยเกิดจากการที่ช่วงน้าข้ึน น้าทะเลจะ
ค่อยๆไหลเข้ามาจากทุกทาง แต่ในขณะช่วงน้าลงน้าทะเลส่วนใหญ่จะมารวมและไหลออกสู่ทะเลทางปากร่อง
ทุ่งดาบ ซ่งึ เป็นปากร่องน้าที่มีความกว้างมากท่สี ุดในพน้ื ท่ีสารวจ

ตะกอนพื้นผิวท้องทะเลส่วนใหญ่ ประกอบด้วย ตะกอนทราย ซึ่งพบทั่วบริเวณของพ้ืนท่ี
สารวจ คิดเป็นสัดส่วน ประมาณ 73% นอกจากนี้ยังพบตะกอนทรายปนโคลนและทรายปนกรวด คิดเป็น
สดั สว่ นประมาณ 19% ท่เี หลือเป็นพวกกรวดปนทราย กรวดขนาดใหญ่ หิน เศษหินและตะกอนโคลน (รวมกัน
8%)

ลักษณะธรณีวิทยาชั้นตะกอนใต้พ้ืนท้องทะเลในพื้นท่ีสารวจ สามารถจาแนกออกเป็น 2 ชุด
คือ 1) ช้ันตะกอนชุดบนมคี วามหนาตั้งแต่ 1 เมตร จนถึง 11 เมตร ส่วนใหญ่ประกอบด้วยกรวด, ทราย, ทราย
ปนโคลน, ทรายปนดินเหนียวในบริเวณอ่าวเวะและลาคลองต่างๆ โคลนปนทราย, โคลนทะเลในบริเวณนอก
ชายฝ่ัง และดินเหนยี วปนพีทในบรเิ วณใกลต้ ลิง่ คลองและปากคลองตา่ งๆ 2) ชน้ั ตะกอนชดุ ลา่ งเป็นชั้นตะกอนท่ี
สะสมตวั ในสมยั ไพลสโตซนี ในสภาพแวดล้อมแบบบนบก พบปรากฏร่องรอยถูกกัดเซาะเป็นร่องน้าขนาดใหญ่
หลายบริเวณเหมือนทางน้าในปัจจุบัน ประกอบด้วยดินเหนียวแข็งปนทรายและกรวด วางตัวอยู่บนหินดาน มี
ความลึกตัง้ แต่ -2 ถึง -23 เมตรจากระดับน้าทะเลปานกลาง

ผลการวิเคราะห์ปริมาณธาตุโลหะหนัก 12 ชนิด ท่ีสะสมตัวอยู่ในชั้นตะกอนพ้ืนผิวท้องทะเล
ในพื้นท่ีสารวจ พบว่ามีปริมาณความเข้มข้นสูง โดยเฉพาะอาร์เซนิก แคดเมียม ตะก่ัวและสังกะสีในพ้ืนที่
บริเวณบ้านทุ่งละอองและบ้านบางแดด ควรมีการทาการเก็บตัวอย่างเพ่ือศึกษาการกระจายตัวของธาตุโลหะ
หนักเพ่ิมเติม ใน 2 บริเวณนี้ ธาตุโลหะหนักในพ้ืนท่ีสารวจ มีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพตะกอนดิน
สาหรับแหลง่ ท่อี ยอู่ าศัยของสัตว์ทะเล ในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และฮ่องกง แต่ต่ากว่า
ค่าเกณฑ์พืน้ ฐานของการปนเป้อื นของโลหะหนกั ในดินบนบกของประเทศไทยและสหภาพยุโรป

สว่ นธรณีวิทยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยธี รณี กรมทรพั ยากรธรณี

- 41 -

5.2 การประยกุ ต์ใชข้ อ้ มูลในงานด้านต่างๆ

หนว่ ยงานต่างๆ สามารถนาข้อมูลท่ีได้จากการสารวจไปประยุกตใ์ ช้ในงานได้ เช่น
1.กรมประมง สามารถนาขอ้ มูลไปใช้ในการศึกษาหาความสัมพนั ธข์ องสัตวน์ ้าหนา้ ดินกบั การ
กระจายตัวของตะกอนชนดิ ต่างๆ ได้
2.กรมทรัพยากรชายฝ่งั และทะเล เปน็ ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ในการวางแผนวางแนวปะการงั เทยี ม
โดยใช้ความลกึ น้าและความลาดชันของพนื้ ทะเล
3.กรมเจา้ ทา่ เปน็ ข้อมลู ในการขุดลอกแนวร่องน้าหนา้ ทางเขา้ ทา่ เรือน้าลึกและแหล่งตะกอน
ทรายใกล้ชายฝ่งั เพ่ือใช้ในการกอ่ สร้างหรืออุตสาหกรรมในอนาคต
4.การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค การศึกษาเพ่ือหาการวางแนวสายไฟหรือสายเคเบิล้ ใตน้ ้าในชน้ั
ตะกอนชดุ บน
5.สถาบนั การศึกษาและหนว่ ยงานท้องถิ่น ไดเ้ รยี นรู้และศึกษาถึงวิธีการสารวจธรณีฟิสิกส์ทาง
ทะเล การสารวจความลาดชนั และการกระจายตวั ของตะกอน เพ่ืออาจทาการศึกษาต่อเพ่ิมเตมิ เปรยี บเทียบใน
หนา้ มรสมุ และหลังมรสุมได้ โดยเฉพาะบริเวณทางทศิ เหนือของปากรอ่ งทงุ่ ดาบซึง่ มีแนวสนั ทรายสะสมตัว

5.3 ปัญหาและอุปสรรค

ปัญหาและอปุ สรรคท่สี าคัญในการดาเนนิ งานสารวจคือ ความแปรปรวนของสภาพคลื่นลมใน
ทะเลท่ีมผี ลตอ่ ความถกู ตอ้ งของข้อมูลสารวจ สภาพอุปกรณ์สารวจที่ชารุดทรุดโทรมอันเน่ืองมาจากการใช้งาน
หนักอย่างต่อเน่ือง ขาดงบประมาณในซ่อมแซมและบารุงรักษา และความยากในการหาเช่าเรือสารวจที่
เหมาะสมตอ่ การสารวจในแต่ละพ้ืนที่โดยเฉพาะเร่ืองราคาจ้างเหมาและขนาดเรือนาทน่ี ามาใช้งาน

5.4 ขอ้ เสนอแนะ

5.3.1 ควรมีการสนับสนุนใหม้ กี ารสารวจศกึ ษาในพื้นทที่ ่ีมีการดาเนินการไปแลว้ อย่างต่อเนื่อง
อยา่ งน้อย 3 ปี/ครั้ง เพอื่ เปน็ การศึกษาถึงการเปล่ียนแปลงสภาพธรณวี ิทยากายภาพพนื้ ทอ้ งทะเล

5.3.2 ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการสารวจกับหน่วยงานหรือสถาบันการศึกษาอื่นๆ เช่น
ข้อมลู ความเร็วลมในทะเลฝ่งั อา่ วไทย การวดั ทิศทางและความเรว็ ของคลื่นและกระแสนา้ ชายฝั่ง เพื่อเป็นข้อมูล
เสริมในการสารวจศกึ ษา

5.3.3 ปรับปรุงค่าเช่าเรือสารวจให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน เพื่อให้สามารถเช่า
เรอื ที่มีขนาดใหญข่ นึ้ ได้ จะทาให้สามารถทาการสารวจในบรเิ วณที่ห่างจากชายฝ่งั ไกลๆ ได้ในอนาคต

ส่วนธรณีวทิ ยาทางทะเล สานกั เทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี


Click to View FlipBook Version