The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by secrn, 2021-10-27 22:31:53

Sar ระนอง 63

Sar ระนอง 63

Self Assessment Report : SAR

๒๕๖๓

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2563 ศูนย์การศึกษาพิเศษ
ประจาจงั หวัดระนองสังกดั สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ ฉบบั น้ี จดั ทาขึ้นตามกฎกระทรวงการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง
ใหแ้ กห่ นว่ ยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน ท่ีกากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี เพ่ือรายงานผลการ
ดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาทส่ี ะทอ้ นผลการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ซ่ึงเป็นผลสาเร็จจากการ
บริหารจดั การศกึ ษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษ ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 2
กระบวนการบรหิ ารและจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา และระบุแนวทางการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น
เพื่อนาเสนอรายงานผล การจัดการศกึ ษาในรอบปที ผ่ี ่านมาต่อหนว่ ยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก
โดยสานกั รับรองมาตรฐานการศกึ ษาและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง ผู้เรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและ
ผู้ท่มี ีสว่ นเกย่ี วข้องทุกฝุายที่มีส่วนร่วมในการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบับนี้
ทาให้การพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาบรรลุเปูาหมายตามท่ีกาหนดไว้เป็นอย่างดี ซึ่งเป็นประโยชน์
ต่ อกา ร น า ไ ป ใ ช้ ใ น กา ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ กา ร ศึ กษ า ข อง ศู น ย์ กา ร ศึ กษ า พิ เ ศ ษ ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง
ในปีการศึกษา 2564 ต่อไป

ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั ระนอง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2563 ก

เรือ่ ง หนา้

คานา ก
สารบัญ ข
บทสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร ค
สว่ นที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา 1
1
 ข้อมูลทว่ั ไป 2
 ข้อมูลการบรหิ ารจัดการแนวทางการศึกษา 4
 ขอ้ มูลครูและบุคลากร 6
 ข้อมูลผูเ้ รยี น 7
 สรุปขอ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระดบั สถานศึกษา 9
 ขอ้ มลู สภาพชมุ ชนโดยรวม 10
 ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ 11
 สรุปผลงานดีเด่นของสถานศึกษาในรอบปที ่ีผา่ นมา 12
 สรปุ การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาในปที ่ีผ่านมา ปกี ารศึกษา 2562 13
ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 13
 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน 18
 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 23
 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั 27
ส่วนที่ 3 สรปุ ผล และแนวทางการพัฒนา 27
 สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 28
 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพเพ่ือยกระดับให้สงู ขึน้ 29
 ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐานและผู้ทรงคณุ วุฒิ 30
ภาคผนวก 31
 ประกาศการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐานของศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจา
จังหวดั ระนอง 34

 ประกาศการกาหนดค่าเปูาหมายมาตรฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐานของศนู ยก์ ารศกึ ษา 37
พิเศษประจาจงั หวดั ระนอง 40

 คาส่ังแต่งตัง้ คณะกรรมการรบั ผดิ ชอบมาตรฐานการศกึ ษาศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจา
จังหวดั ระนอง

 คาสั่งแตง่ ต้งั คณะกรรมการจดั ทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 2563 ข

ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ได้ดาเนนิ งานดา้ นการสรา้ งความเขม้ แข็งระบบประกันคณุ ภาพภายในอยา่ งต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2563
มคี รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา รวม 45 คน ผเู้ รียนจานวน 189 คน รับบริการรูปแบบไป-กลับท่ีศูนย์

การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนองและหน่วยบริการ จานวน 144 คน และมารับบริการที่บ้าน
จานวน 45 คน

ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ดเี ลศิ

มาตรฐานการศึกษา ค่าเปา้ หมาย ระดับ สรุป
ปกี ารศึกษา 2563 คุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น ดี ดีเลิศ สงู กว่าเปาู หมาย

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลิศ ดีเลศิ ตามเปาู หมาย

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ ดี ดีเลิศ สูงกว่าเปูาหมาย

เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรยี น ระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ
ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ระนอง มีการบริหารงานจัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวกับ

การพัฒนาศักยภาพของเด็กพิเศษ ได้พัฒนาตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการให้บริการ
ช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม (Early Intervention : EI) ตามบริบทความต้องการของชุมชน ครอบครัว
ผ้ปู กครอง ทอ้ งถิ่น และระดับความสามารถการเรียนรู้ของผู้เรียน จากการดาเนินงานในปีการศึกษา
2563 ที่ผ่านมา ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนองได้บริหารงานจัดการเรียนการสอนและ
ที่เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีพัฒนาการตามที่ระบุไว้ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) คิดเป็นร้อยละ 71.73
มีความพร้อมเข้าสู่กระบวนการเปล่ียนผ่าน (Individual Transitional Plan : ITP) หรือส่งต่อเข้าสู่
โรงเรียนเฉพาะความพิการหรือสถานศึกษาที่จัดการเรียนรวม คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้เรียนมีความ
ประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม และจิตสานึกสนองต่อคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตร
สถานศกึ ษากาหนด คิดเป็นร้อยละ 80.22 อีกท้ังการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้ผ่านการมีส่วนร่วมและปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย
ตามศกั ยภาพของผ้เู รียนแต่ละบคุ คล ด้านการสรา้ งความภมู ใิ จในทอ้ งถ่ิน คดิ เป็นร้อยละ 74.40 ส่งผลให้
ดา้ นคณุ ภาพผเู้ รยี นโดยภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 80.13 ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ
ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ระนอง จดั ระบบบรหิ ารงานตามโครงสร้างการบรหิ ารงาน

5 กลุ่มงาน เน้นการมีส่วนรว่ ม มกี ารปฏบิ ตั ิและรายงานผลเชิงคุณภาพด้วยวงจร Demming (P-D-C-A)
มีขับเคลอื่ นระบบงานอย่างมีคุณภาพ มกี ารพฒั นาครูและบุคลากรดว้ ยวธิ กี ารหลากหลาย โดยการแสดง
ผลงานวชิ าการและแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์สู่ความสาเร็จ (Show and share) เพื่อให้ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ได้เสนอผลงานแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศ สร้าง
แรงจงู ใจทาใหเ้ กดิ ความมงุ่ มน่ั ในการพฒั นาสร้างและพฒั นาผลงานดเี ด่นประสบผลสาเรจ็ เปน็ เชงิ ประจักษ์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 ค

ส่งผลตอ่ การยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ของผเู้ รยี น มีการนานวัตกรรม Google Apps มาใชใ้ นการบริหารจัดการ
สารสนเทศ ได้แก่ การนิเทศออนไลน์ ติดตามผู้เรียนโดยใช้ Google form และเก็บข้อมูลใน Google
sheet มีการรายงานผลการปฏิบัติงานในรูปแบบ Info graphic และการเก็บไฟล์เอกสารราชการผ่าน
ระบบออนไลน์ มีการค้นหาผู้เรียนโดยใช้ Google site ปักหมุดบ้านผู้เรียน (Location) พร้อมทั้งเพิ่ม
รายละเอียดขอ้ มูลพื้นฐาน และรปู ภาพของผู้รับบริการลงในระบบ เชื่อมโยงระบบข้อมูลสารสนเทศกับ
หน่วยงานต้นสังกัดผ่านระบบสารสนเทศด้านการศึกษาพิเศษและการศึกษาสงเคราะห์ (Special
Education Technology : SET) และสนับสนนุ การขอรบั การอดุ หนุนสิ่งอานวยความสะดวก เทคโนโลยี
ส่อื บรกิ ารและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศกึ ษาด้วยระบบคปู องผา่ น ระบบโปรแกรม IEP online ส่งผลให้
การบรหิ ารจัดการมีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ รวมทง้ั มีการส่ือสารและติดต่อประสานงานด้วย Application
Line, Facebook, zoom meeting เป็นต้น

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ
ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดระนอง การจัดการเรียนรสู้ าหรับเดก็ พกิ ารทย่ี ึดผเู้ รียนเป็น

สาคญั ตอ้ งเน้นกจิ กรรมการปฏบิ ตั ทิ ่บี รู ณาการ การเรียนรจู้ ากประสบการณ์ตรงและการปฏิบตั ิจริง ซึ่งครู
มกี ารวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา โดยการใชแ้ บบประเมินความสามารถพื้นฐาน เพ่ือนาไปสู่การจัดทา
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(Individualized Education Program : IEP) และแผนการสอน
เฉพาะบุคคลทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ โดยคานึงถงึ ศกั ยภาพลักษณะและสภาพความพิการ ความสามารถ
และความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษของแต่ละบคุ คล วถิ ีชวี ิตของผ้เู รยี นตามสถานการณ์ปจั จุบนั จงึ จาเป็นต้อง
วางแนวทางการจัดการเรยี นการสอนภายใตส้ ถานการณว์ กิ ฤตโควิด-19 จงึ จดั หารูปแบบและวิธีการเพ่ือ
สนองตอ่ การเรียนร้ขู องผเู้ รยี นดว้ ยการเรียนทางไกลรูปแบบต่างๆ โดยการผลิตสื่อการสอนonline มีการ
ประดษิ ฐส์ ื่อทามือ ส่ือภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ มกี ารนาส่ือเทคโนโลยมี าใชป้ ระกอบสือ่ การสอน ส่ือOnline ผ่าน
ระบบ Social Network โดยครูมกี ารออกแบบการจดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) แบบมีส่วนรว่ ม และมกี ารบริหารจัดการช้ัน
เรยี นเชิงบวก ครสู รา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ ความท้าทาย ความสนุกสนานและความเป็นกันเองในช้ัน
เรยี น วิเคราะห์สภาพความเปน็ อยู่ของผู้เรียนผา่ นระบบดแู ลช่วยเหลอื ผเู้ รยี น ครูรจู้ กั ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล
มีการวิเคราะห์การพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน และมีการรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนเชิงประจักษ์ มีการ
ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ ซ่ึงเครอื่ งมอื ท่ใี ชบ้ าบดั ฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผเู้ รียนใหเ้ อ้ือต่อการจัดกิจกรรมเรียนการสอนและสง่ เสรมิ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้สาหรับผู้เรียนและให้มี
ความสอดคลอ้ งกบั การพฒั นาศักยภาพผเู้ รยี น

แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดบั ให้สูงข้นึ
1. ยกระดับระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรยี น ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ
2. การพฒั นาฐานขอ้ มลู ด้วยหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์แบบออนไลน์ (e-book) ท่ีสามารถตอบสนอง

ความตอ้ งการของครูผู้สอน เพอ่ื ลดภาระงานท่ีซ้าซ้อน รวมท้ังพัฒนาการสืบค้นข้อมูลย้อนหลังของการ
ปฏิบตั งิ าน โดยการใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัย รวดเร็ว ซ่ึงสามารถเรียกดูข้อมูล และประมวลผลได้อย่าง
รวดเร็ว

3. ส่งเสริมใหค้ รมู ีความรู้ ความสามารถการจัดทาผลงานทางวชิ าการ (Best Practice) ในการ
ส่งผลงานเข้ารว่ มประกวดระดบั ตา่ งๆ

4. การจดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ
ตามนโยบายของสงั กัดสานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 ง

1.1 ข้อมลู ทัว่ ไป ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา

ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนองตั้งอยู่ที่ อาคารร่มเย็น หมู่ที่ 3 ตาบลบางร้ิน

อาเภอเมือง จังหวัดระนอง สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการ
การ ศึกษ าขั้น พื้นฐ านกระทรวงศึกษาธิการ โทรศัพท์:077-810693 โทรสาร:077-810693
website:www.speranong.com/contact Facebook : ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง
E-mail : [email protected] มเี น้ือทข่ี อใช้ 5 ไร่ 1 งาน 30.7 ตารางวา มีหน่วยบริการประจาอาเภอ 4 หน่วย
ไดแ้ ก่ หน่วยบริการอาเภอละอุ่น อาเภอกะเปอร์ อาเภอสุขสาราญ และอาเภอกระบุรี

ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง ใช้กระบวนการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม
(Early Intervention : EI) และเตรยี มความพร้อม แกเ่ ด็กพกิ ารทุกประเภทในจังหวัดระนอง ให้บริการ
ตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ โดยจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ( Individualized
Education Program : IEP) ตามความต้องการจาเปน็ พิเศษของเด็กพิการแต่ละคน ซึ่งแนวทางในการ
ให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม และต้องได้รับการพัฒนาในส่วนของคุณลักษณะอันพึงประสงค์

และผู้เรียนไดแ้ สดงออกถึงความภูมิใจในท้องถ่ิน และความเปน็ ไทย และหลกั สตู รการให้บริการช่วยเหลือ
ระยะแรกเริ่ม (Early Intervention : EI) รวมท้ังมีการจัดทาแผนการจัดช่วงเช่ือมต่อเฉพาะบุคคล
(Individualized Transition Plan : ITP) ปจั จุบนั ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง ให้บริการ
ช่ ว ย เ ห ลื อ ร ะ ย ะ แ ร ก เ ริ่ ม เ ด็ ก พิ ก า ร ซ่ึ ง แ บ่ ง อ อ ก ต า ม ป ร ะ เ ภ ท ค ว า ม พิ ก า ร ไ ด้ แ ก่
1.บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น 2.บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน 3.บุคคลที่มีความ

บกพร่องทางสติปัญญา 4.บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ
5.บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ 6.บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
7.บคุ คลท่ีมีความบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ 8.บคุ คลออทิสติก และ9.บุคคลพกิ ารซอ้ น

ประวตั ิและความเปน็ มาโดยย่อ

ในปี พ.ศ.2542 กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอมาตรการจัดการศึกษาเพ่ือคนพิการ

ต่อคณะรฐั มนตรี (หนงั สือกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี ศธ 0205/4993 ลงวันท่ี 12 พฤษภาคม 2542)
และได้ ขอความเหน็ ชอบเก่ยี วกับยุทธศาสตร์การดาเนินงานและโครงสร้างการบริหารงานของการจัด
การศึกษาเพื่อคนพิการ โดยกาหนดให้สอดคล้องกับรูปแบบของการบริหารจัดการศึกษาตามร่าง
พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ สาระสาคัญประการหน่ึงในโครงสร้างการบริหารการจัด
การศึกษาเพอ่ื คนพิการ คือ ให้มีศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด ทาหน้าที่เป็นศูนย์เตรียมการนา

นโยบายไปสู่การปฏิบัติ จัดทาและจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษา ประสานงานกับหน่วยงาน
ที่เก่ียวข้องในพื้นท่ีให้บริการการศึกษาบาบัดฟื้นฟูและดาเนินการระบบส่งต่อโรงเรียนและชุมชน
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6
กรกฎาคม พ.ศ.2542 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศต้ังให้เป็นสถานศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
เมื่อวนั ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2543 โดยจัดตัง้ เป็นศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัด เพ่ือจัดการศึกษา

ในลกั ษณะศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริม่ และเตรียมความพร้อมของคนพิการ สนับสนุนการเรียน
การสอน การจัดสื่อ จัดส่ิงอานวยความสะดวก การให้บริการและความช่วยเหลืออื่นใดที่เกี่ยวข้อง
การจัดครูเดินสอนแก่คนพิการและให้บริการบาบัดฟื้นฟู และดาเนินการระบบส่งต่อโรงเรียนหรือ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 1

1.2 ข้อมลู การบริหารจดั การแนวทางการศึกษา

วิสยั ทศั น์ (VISION)

“ยึดหลกั ธรรมาภิบาล เป็นศนู ย์กลางการให้บรกิ ารตามมาตรฐาน แบบมสี ่วนรว่ มบนพืน้ ฐานความ
พอเพียง”

คานยิ ามวสิ ยั ทศั น์
องคก์ รที่มีมาตรฐาน หมายถงึ
 ผ้เู รยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีสถานศกึ ษากาหนด
 สถานศกึ ษามีการบริหารจดั การทีม่ ีประสิทธภิ าพ
 ครูและบคุ ลากรมีความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์ และสามารถจดั การศึกษาสาหรับ
ผู้พิการ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล
 สถานศึกษาใชร้ ะบบประกันคุณภาพการศกึ ษามาเปน็ แนวทางในการพฒั นา
บริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล หมายถึง ผู้บริหารและหัวหน้าฝุาย หัวหน้ากลุ่มงานใช้หลัก

ธรรมาภบิ าลในการบริหารจดั การ ซึง่ ประกอบด้วย
๑. หลกั นิติธรรม
๒. หลักคุณธรรม
๓. หลกั ความโปร่งใส
๔. หลักการมสี ว่ นร่วม
๕. หลกั ความรับผิดชอบ
๖. หลักความคมุ้ คา่

ความพอเพียง หมายถงึ ความพอดีทไ่ี ม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
และผอู้ ่ืน เช่นการผลิตและการบริโภคทอ่ี ยูใ่ นระดบั พอประมาณ

พันธกิจ (MISSION)

๑. พัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาใหก้ ับเดก็ พิการ
๒. พฒั นาอาคารสถานท่ี สง่ิ แวดล้อม และแหลง่ เรยี นรู้
3. พฒั นากระบวนการบริหารจัดการภายในสถานศกึ ษา
4. พัฒนากระบวนการนิเทศ กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ การปฏบิ ตั งิ าน
5. เสรมิ สรา้ งกระบวนการประชาสมั พันธข์ ้อมูลข่าวสาร การดาเนนิ งานสง่ เสริมสนบั สนุนให้

ผปู้ กครอง ชมุ ชน องค์กรเครอื ขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา
6. เสรมิ สร้างความมรี ะเบียบวนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ให้กบั ครแู ละบุคลากร
7. พฒั นากระบวนการเลือกใช้และผลิตสื่อ ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของผูเ้ รียน
8. พัฒนาความรู้ ใหค้ รมู ีทกั ษะ กระบวนการวดั และประเมินผลตามสภาพจริง
9. ส่งเสรมิ สนบั สนุน ใหค้ รแู ละบคุ ลากรนาระบบประกันคุณภาพภายในมาใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน
10. เสรมิ สร้างความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานอ่นื ดา้ นขอ้ มลู คนพกิ าร โดยยึดหลกั การมสี ่วนรว่ ม
11. สง่ เสริมสนบั สนนุ ใหค้ รูและบุคลากรนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการปฏบิ ตั ิ

ตนและปฏิบัติงาน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2563 2

สัญลักษณข์ องศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดระนอง

อักษรยอ่ ตราสญั ลักษณ์ของศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดระนอง
เอกลกั ษณ์

“ผู้พกิ ารอยูร่ ่วมกบั สังคมได้อย่างมคี วามสุข”
อตั ลักษณ์

“กจิ กรรมเดน่ เนน้ พฒั นาการ”

ศกศ.รน. ย่อมาจากคาว่า ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั ระนอง

สีประจาศูนย์

สีเขยี ว หมายถงึ ความเจรญิ งอกงามเตบิ โตของผเู้ รียน
สีเหลือง หมายถึง ความสขุ ความสงบ รม่ เยน็ ของผู้เรียน

เขยี ว-เหลอื ง หมายถงึ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดระนองเปน็ สถานท่ีบม่ เพาะความเจรญิ
งอกงามใหผ้ ้เู รยี น เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถดารงชวี ิตในสงั คมไดอ้ ยา่ งสงบ
และมคี วามสุข

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 2563 3

1.3 ขอ้ มูลบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

ขอ้ มลู ผู้บรหิ าร

นายบัญชา เกตแุ ก้ว ผู้อานวยการศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง วุฒิการศึกษาสูงสุด
ปรญิ ญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑติ (ค.ม.) สาขา การบรหิ ารการศึกษา ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
ตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2562 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา 1 ปี 7 เดือน โทร.081-396-2289
E-mail : [email protected]

นางสาววิไลพร เมตตาจิตร รองผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง
วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ ปรญิ ญาโท ศึกษาศาตร์มหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งรอง
ผู้อานวยการสถานศึกษา ตั้งแต่วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา 7 เดือน
โทร.0810957244 E-mail : [email protected]

ข้อมลู บคุ ลากร

ประเภทบุคลากร ตาแหนง่ เพศ จานวนท้งั หมด
ชาย หญิง (คน)
ผู้บริหาร ผู้อานวยการ
รองผ้อู านวยการ 1- 1

ครู ข้าราชการครู -1 1
5 13 18
พนกั ราชการ 12 3
12 3
ครอู ัตราจ้าง -1 1
2 12 14
บุคลากรสนบั สนุน พนักงานธรุ การ
-1 1
พี่เลีย้ งเดก็ พกิ าร -1 1
1- 1
คนงาน
1- 1
คนครวั 12 33 45

ยาม

ภารโรง

รวม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 4

สาขาวิชาท่ีจบการศึกษา

สาขาวชิ า เพศ จานวน
ชาย หญงิ (คน)
ปริญญาโท
1. บริหารการศกึ ษา 12 3
ปริญญาตรี
1. การศึกษาพเิ ศษ -2 2
2. กายภาพบาบัด 4 4
3. การศกึ ษาปฐมวัย 4
4. คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 13 3
4. คณิตศาสตร์ 21 1
5. สงั คมศกึ ษา -1 1
6. พลศึกษา -1 2
7. การเงินและการบญั ชี 2- 4
8. รฐั ประศาสนศาสตร์ -4 2
9. เกษตรศาสตร์ 11 1
10. พืชศาสตร์ 1- 1
11. ภาษาไทยธรุ กจิ -1 2
12. วิทยาศาสตร์ -2 1
13. สงั คมวิทยาและมานษุ ยวิทยา -1 1
14. ช่างกลโรงงาน -1 1
ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี 1-
15.ตา่ กว่าปรญิ ญาตรี 12
39 45
รวม 12 33

ทม่ี า : งานแผนปฏิบตั ิการและสารสนเทศ (กลุ่มบริหารงานบคุ คล) ข้อมูล ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2564

วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุดของบคุ ลากร

วฒุ ิการศกึ ษา ต่ากว่า ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวมทง้ั หมด
ปริญญาตรี

จานวน 12 30 3 - 45

66.65

286400000 26.7 6.65

ต่ำกว่ำปริญญำตรี ปริญญำตรี ปริญญำโท 5

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563

ขอ้ มูลนกั เรียน

ประเภทการให้บรกิ าร

ที่ ประเภทความพิการ ไป-กลับ ปรับบ้าน หน่วย รวม
บรกิ าร ทงั้ สน้ิ

ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญงิ

1. บกพรอ่ งทางการเห็น 001000 1

2. บกพรอ่ งทางการได้ยนิ 331002 9

3. บกพร่องทางสตปิ ญั ญา 6 15 3 3 11 18 56

4. บกพรอ่ งทางร่างกายหรอื สุขภาพ 10 9 13 14 10 6 62

5. บกพรอ่ งทางการเรียนรู้ 000000 0

6. บกพร่องทางการพดู และภาษา 000000 0

7. บกพร่องทางพฤตกิ รรมหรอื อารมณ์ 1 0 0 0 0 0 1

8. ออทสิ ติก 27 4 1 1 8 5 46

9. ความพกิ ารซอ้ น 1 0 7 1 4 1 14

รวม 48 31 26 19 33 32 189
รวมทง้ั ส้นิ 79 45 65

ทีม่ า : งานแผนปฏบิ ัติการและสารสนเทศ (กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ) ขอ้ มลู ณ วันที่ 30 พฤศจกิ ายน 2563

จากตารางแสดงจานวนผ้เู รียนท่รี ับบริการจาแนกตามสถานทีร่ ับบริการของผู้เรียนศูนย์การศึกษา
พิเศษ ประจาจังหวัดระนอง มีผู้เรียนที่รับบริการท่ีศูนย์การศึกษาพิเศษ (ไป-กลับ) จานวน 79 คน

รบั บริการทหี่ น่วยบรกิ าร จานวน 65 คน และรับบรกิ ารทบ่ี ้าน จานวน 45 คน

7% 5% บกพรอ่ งทางการเหน็
24% 30% บกพร่องทางการไดย้ ิน
บกพร่องทางสติปัญญา
1% บกพรอ่ งทางรา่ งกายหรอื สขุ ภาพ
33% บกพร่องทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์
ออทสิ ติก
ความพกิ ารซอ้ น

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 2563 6

สรุปข้อมูลผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระดับสถานศกึ ษา

สรุปผลพัฒนาผู้เรียนตามท่ีกาหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล และแผนการ
ใหบ้ ริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครวั จาแนกตามทักษะพ้ืนฐาน

ผลการพฒั นาศักยภาพ ร้อยละจดุ ประสงค์ ระดับ

ทกั ษะพ้ืนฐาน ของผ้เู รยี นฯ
ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี 2 เชิงพฤตกิ รรมทผ่ี า่ น คุณภาพ

1.ทักษะกล้ามเนอ้ื มดั ใหญ่ 78.50 71.38 74.94 ดี

2.ทกั ษะกลา้ มเนือ้ มดั เล็ก 68.66 71.53 70.10 ดี

3.ทกั ษะการชว่ ยเหลอื ตนเองในชีวิตประจาวนั 69.04 73.27 71.15 ดี

4.ทักษะการรับร้แู ละการแสดงออกทางภาษา 70.21 73.60 71.91 ดี

5.ทักษะทางสังคม 68.22 71.74 69.98 ปานกลาง

6.ทักษะทางสตปิ ัญญาหรือเตรียมความพร้อม 69.75 73.72 71.74 ดี

ทางวชิ าการ

7.ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กพิการและ 70.30 76.82 72.56 ดี

ความจาเปน็ อ่ืน ๆ

รวมรอ้ ยละของทกุ ทกั ษะท่ผี ่าน 70.30 73.15 71.73 ดี

ทีม่ า : งานแผนปฏบิ ัตกิ ารและสารสนเทศ (กลุ่มบริหารงานวิชาการ) ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2564

จากตารางแสดงผลการพฒั นาศกั ยภาพของผู้เรียนฯ ตามท่ีระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ

บคุ คล และแผนการใหบ้ รกิ ารชว่ ยเหลอื เฉพาะครอบครัว จาแนกตามทักษะพื้นฐานของศูนย์การศึกษาพิเศษ
ประจาจังหวดั ระนอง ปกี ารศกึ ษา 2563 พบวา่ ผลการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนตั้งแต่ผลประเมินผ่าน
เกณฑ์ที่กาหนดคิดเป็นร้อยละ 71.73 ระดับคุณภาพ ดี

แผนภูมิแสดงผลพัฒนาผู้เรยี น ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา 2563

ทักษะกลา้ มเนื้อมัดใหญ่ ค่าเปูาหมาย
ทักษะกล้ามเนื้อมมัดเล็ก ภาคเรียนท่ี 1
ทกั ษะรับรแู้ ละแสดงออกทางภาษา ภาคเรียนท่ี 2

ทกั ษะทางสงั คม
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
ทักษะพน้ื ฐานวชิ าการ/สติปญั ญา
ทกั ษะจาเป็นเฉพาะความพิการ

0 20 40 60 80 100

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 2563 7

สรุปผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประจาปีการศกึ ษา 2563

รายการประเมิน รอ้ ยละของผูเ้ รยี นท่ีมี ระดบั คุณภาพ
ผลประเมนิ ผ่านเกณฑท์ ี่กาหนด

1. รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตและมีสุขนิสัยท่ดี ี 83.80 ดีเลิศ

2. กล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็กแข็งแรงและใช้ได้ 78.00 ดี

อย่างประสานสัมพนั ธ์กัน

3. รา่ เรงิ แจ่มใส มคี วามสขุ และมคี วามร้สู กึ ทด่ี ตี อ่ ตนเองและผ้อู นื่ 83.00 ดีเลิศ

4. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มวี ินยั ในตนเองและมคี วามรับผดิ ชอบ 79.20 ดี

5. ชว่ ยเหลอื ตนเองไดเ้ ต็มศกั ยภาพ 80.60 ดเี ลิศ

6. สนใจต่อการเรยี นรู้สิ่งตา่ งๆ รอบตวั 82.40 ดเี ลศิ

7. เล่นและทากจิ กรรมร่วมกับผ้อู ่ืนไดอ้ ย่างมคี วามสขุ 81.60 ดเี ลิศ

8. ใชภ้ าษาส่อื สารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 79.40 ดี

9. มีความสามารถในการคดิ และการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 75.60 ดี

10. มคี วามสามารถในการดารงชวี ิตประจาวันไดเ้ ต็มศกั ยภาพ 78.60 ดี

เฉลย่ี ร้อยละของผู้เรยี นท่ีมผี ลประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ท่กี าหนด 80.22 ดเี ลศิ

จากตารางแสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประจาปีการศึกษา 2563
พบวา่ ผ้เู รยี นมีผลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์ทก่ี าหนด คดิ เปน็ ร้อยละ 80.22 ระดับคุณภาพ ดีเลศิ

สรปุ ผลการประเมินความภูมใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย ประจาปกี ารศึกษา 2563

รายการประเมิน ร้อยละของผูเ้ รยี นทมี่ ี แปลผล
ผลประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ทก่ี าหนด
ดี
1. แตง่ กายถูกระเบยี บ และมีสัมมาคาราวะตอ่ ผู้มีพระคณุ 76.20 ดี
ดี
2. รว่ มกิจกรรมท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย 75.80
ดี
3. มีมารยาทงดงามแบบไทย แสดงความเคารพด้วยการไหว้ 74.60
ดี
การกราบ วางตนอย่างสุภาพ อ่อนน้อม มีน้าใจ มีความเกรงใจ ดี
ดี
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ดี

4. ดารงตนเรยี บงา่ ย ไมห่ ลงลืมตัวเมอื่ เกดิ ความสาเรจ็ ความดงี าม 74.20 ดี

ตอ้ งยกยอ่ งเชดิ ชบู พุ การี ครู อาจารย์และทกุ คนทมี่ ีส่วนร่วม

5. นาภมู ปิ ัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวถิ ชี ีวติ 73.20

6. รว่ มกิจกรรมท่ีเกีย่ วขอ้ งกับภูมิปัญญาไทย 74.20

7. มีส่วนรว่ มในการสืบทอดภมู ิปญั ญาไทย 72.80

8. ปลูกฝังใหแ้ กผ่ เู้ รยี นมคี วามพอเพียง พอประมาณให้เหมาะสม 74.00

กบั ตนเอง ไมฟ่ ุงู เฟอู และฝึกตนเองให้รู้จกั ความพอดี

เฉลย่ี ร้อยละของผู้เรยี นทม่ี ีผลประเมินผา่ นเกณฑท์ กี่ าหนด 74.37

จากตารางแสดงผลการประเมนิ ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย ประจาปกี ารศึกษา 2563
พบวา่ ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินผ่านเกณฑ์ที่กาหนด คดิ เปน็ ร้อยละ 74.37 ระดบั คณุ ภาพ ดี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2563 8

1.5 ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม

1) สภาพชุมชนรอบบรเิ วณศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดระนอง ตง้ั อยู่ที่ อาคารร่มเย็น ม.3
ตาบลบางร้ิน มีสภาพพ้ืนที่โดยทั่วไปเป็นภูเขาทางด้านทิศตะวันออกและมีที่ราบตอนกลางทางด้านทิศ
ตะวนั ตกเปน็ ทะเลโดยมีพื้นท่ีเป็นภูเขาประมาณ 30% ของพืน้ ที่เปน็ ท่รี าบและปุาชายเลนประมาณ 70%
ของพ้ืนที่ มปี ระชากร 24,891 คน แยกเป็นชาย 13,104 คน เป็นหญิง 11,787 คน บริเวณใกล้เคียง
โดยรอบศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้แก่ ศูนย์ราชการจังหวัดระนอง โรงแรมไอเฟลอินน์ สวนสุขภาพ
เฉลมิ พระเกียรติ อาชีพหลักของชุมชน คือ ทาการประมง และเกษตรกรรมส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ประเพณศี ลิ ปวฒั นธรรมท้องถน่ิ ทีเ่ ปน็ ทีร่ จู้ ักโดยทั่วไป คอื การแข่งเรอื ยาวขน้ึ โขนชิงธงชงิ ถ้วยพระราชทาน

2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 6 มีอาชีพหลัก คือ รับจ้างทั่วไป
ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ตอ่ ปี 50,000 บาท

3) โอกาสและขอ้ จากดั ของศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ระนอง

โอกาส : สถานท่ีต้ังของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง อยู่ใกล้กับศูนย์ราชการ
จงั หวดั ระนอง สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง สถานทสี่ าคัญทางศาสนา และหน่วยงาน
อื่นๆ เชน่ สถานวี ิทยุกระจายเสียง สถานตี ารวจภูธร และอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ ได้แก่บ่อน้าแร่ ศูนย์วิจัยปุา
ชายเลน พิพิธภณั ฑเ์ จา้ เมอื งระนอง พระที่นัง่ รัตนรังสรรค์ สวนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯ
ภูเขาหญ้า ซง่ึ เอือ้ ตอ่ การจัดการเรียนการสอน เปน็ แหล่งเรยี นรู้ช่วยเสรมิ สรา้ งฟ้ืนฟูสมรรถภาพเด็กพิการ การ
ส่งต่อทางการศึกษา เช่น การสง่ ต่อนกั เรียนเขา้ ส่โู รงเรยี นเรียนร่วม และหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนเข้า
มามสี ่วนร่วม และให้การสนับสนุนในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ร่วมกับศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด
ระนองอยา่ งต่อเน่ือง

ขอ้ จากัด : ข้อจากัดตอ่ การบริหารจัดการศึกษา คอื ผู้ปกครองและนักเรยี นท่ีมารบั บรกิ าร ส่วนใหญ่
มีฐานะยากจนและพักอาศัยอยหู่ า่ งไกลจากสถานศึกษา จึงทาให้ไมส่ ามารถนานักเรียนเข้ามารับบริการได้
อย่างต่อเน่ือง ส่งผลกระทบต่อการฟื้นฟูสมรรถภาพนักเรียน ทาให้ไม่เป็นไปตามเปูาหมายของการจัด
การศกึ ษา ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง มีข้อจากัดด้านบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถ
ในการทากายภาพบาบดั ใหก้ บั เดก็ พิการทรี่ บั ผิดชอบ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2563 9

แหล่งเรยี นรู้

1. แหลง่ เรยี นรู้ภายในอาคารเรียนศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ระนอง

แหลง่ เรียนรู้ภายในอาคารเรยี น จานวน 1 ห้อง
จานวน 9 หอ้ ง
ห้องฝึกพดู
ห้องเรยี น เตรยี มความพร้อม EI 1 – EI 9 จานวน 1 ห้อง
ห้องบกพรอ่ งทางด้านร่างกาย หรือการเคล่อื นไหวหรอื สุขภาพ จานวน 1 หอ้ ง
หอ้ งกายภาพบาบัด

2. แหลง่ เรยี นรู้ภายนอกอาคารเรียนศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดระนอง

แหลง่ เรียนรู้ภายนอกอาคารเรยี น
1. ห้องสมดุ มีชวี ิต
2. สนามเดก็ เล่น
3. หอ้ งธาราน้าแร่บาบัด
4. หอ้ งกระตนุ้ พฒั นาการ ( Sensory room )
5. ห้องดนตรบี าบดั
6. สวนกระตุ้นพัฒนาการและประสาทสมั ผสั
7. บลิกซ์ พ็อพ สนามจินตนาการ (Blix Pop)
8. เครื่องเล่นสนามพลาสติก
9. เคร่อื งเล่นสาหรับกระโดด (Trampoline Jumping)

3. แหลง่ เรียนร้ภู ายนอกสถานศกึ ษา

แหลง่ เรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา
1. บอ่ น้าร้อน-สวนรุกขชาตริ ักษะวารนิ
2. บ่อนา้ ร้อนพรร้งั
3. ภเู ขาหญ้า
4. บา้ นเทยี นสอื
5. พระราชวังรัตนรังสรรค์ (จาลอง)
6. จวนเจา้ เมืองระนอง
7. วัดบา้ นหงาว
8. วดั หาดส้มแปนู
9. วัดสวุ รรณคีรวี หิ าร
10. สวนพันธโุ พธิฟ์ ารม์

ที่มา : งานแผนปฏิบัตกิ ารและสารสนเทศ (กล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ) ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2564

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 10

1.6 สรุปขอ้ มลู ผลงานดีเดน่ ของสถานศกึ ษาในรอบปที ผ่ี า่ นมา

ผลงานดีเด่น ระดับรางวัล/ช่ือรางวลั ทไี่ ด้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล

ชือ่ -สกลุ ครูดไี ม่มอี บายมขุ ปีการศึกษา สคล., สสส. ร่วมกับ สพฐ.
ผบู้ ริหาร 2563 ปี 10 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, เครอื ข่าย
นายบญั ชา เกตุแก้ว โรงเรยี นคาพอ่ สอน, เครือข่ายครดู ไี ม่

ครู มีอบายมขุ
นางสาวขวัญเดือน ชยุติ
นางสาวกลั ยารัตน์ นยิ มไทย ครูดีไมม่ ีอบายมุข ปกี ารศึกษา สคล., สสส. ร่วมกับ สพฐ.
นางสาวธารินี ฐืตนิ นั ท์
นางสาวรัตตกิ าล ชว่ ยเชิด 2563 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, เครอื ข่าย
นางสาวณฐั ฐากร ตาสีแดง ปี 10 โรงเรียนคาพอ่ สอน, เครือข่ายครูดไี ม่
นางสาวรงุ่ นภา โพธิ
นายมวลชน มงุ คณุ มอี บายมุข
นางสาวขวญั เดอื น ชยุติ
นายเอกสิทธิ์ ใจดี รางวลั ครูดีของแผน่ ดนิ ขัน้ พน้ื ฐาน องคก์ รเครอื ข่ายครูดีของแผ่นดิน
นางสาวสราวดี สุขหม่ืน
นายกติ ติร์ ัฐ ภู่เสม โครงการเครอื ข่ายครดู ีของแผ่นดนิ
นางสาวกลั ยารตั น์ นยิ มไทย เจรญิ รอยตามเบื้องพระยุคลบาท
นางสาวรุง่ นภา โพธิ
นางสาวรตั นาภรณ์ หาญพรม
นายนัฐการ อปุ มัย
นางสาวพัชรียา ปาระมี
นางสาวนัฐฐากร ตาสแี ดง
นางสาวกมลวรรณ พรมสะอาด
นางสาวฤดี บวั หลวง
นายประสิทธิ์ ผมไผ
นายมวลชน มุงคณุ
นางสาวธารินี ฐติ ินนั ท์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2563 11

ชื่อ-สกุล ระดบั รางวัล/ชือ่ รางวลั ท่ีไดร้ ับ หนว่ ยงานที่มอบรางวลั
ครู
นางสาวอิสรยิ า สุทธพิ นั ธ์ รางวัล ครูดีของแผน่ ดนิ ขั้น องคก์ รเครือข่ายครดู ีของแผน่ ดิน
นางสาวชญั ญานชุ สุวรรณนติ ย์ พ้นื ฐาน โครงการเครือขา่ ยครดู ี
นางสาวรตั ติกาล ช่วยเชดิ ของแผ่นดนิ เจริญรอยตามเบ้ือง
นายไกรสร ยโุ ซะ
นางสาวปทุมมา จรรยา พระยุคลบาท

ผู้เรียน เขา้ ร่วม โครงการ TO BE NUMBER จงั หวัดระนอง
นางสาวเมษินี แชต่ นั ONE IDOL จังหวดั ระนอง
นางสาวเจเซเ้ ว้ พม่า
เด็กหญิงเยนาตาเล พมา่ เข้ารว่ มแข่งขนั โครงการรณรงค์ สมาคมสภาสงั คมสงเคราะห์แหง่
เดก็ หญงิ ทศั นันท์ ตะนาวศรี การป้องกนั ความพกิ าร การ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
นายณฐั วฒุ ิ มานพ ประกวด “รอ้ ง เลน่ เต้น เพลง
พีห่ วั ดี”
เด็กหญิงเอกจติ ตรา คงตะโก
เดก็ หญิงณิชานันท์ พง่ึ สุธาดล
เด็กหญิงทศั นันท์ ตะนาวศรี
นางสาวนฤมล เดชนนุ่

ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาในปีทผี่ ่านมา ปีการศกึ ษา 2562
สรุปผลการประเมินภาพรวมของสถานศกึ ษา

กาลังพฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลศิ ยอดเย่ียม

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น ดี
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ดี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 12

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง ดาเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา

ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ตามกฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 มีผลการประเมิน

ตามมาตรฐานการศกึ ษาของศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดระนอง ดังนี้

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น
กระบวนการพฒั นา

ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั ระนอง มุง่ พฒั นาการตามศกั ยภาพของผู้เรียนตามหลกั สูตร
สถานศึกษา โดยใช้กระบวนการใหบ้ ริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม (Early Intervention : EI) ดังนี้ ทักษะ
กลา้ มเน้อื มดั ใหญ่ ทักษะกล้ามเน้ือมัดเล็ก ทักษะการชว่ ยเหลอื ตนเองในชวี ิตประจาวัน ทักษะการรับรู้และ
แสดงออกทางภาษา ทักษะทางสังคม และทักษะทางสติปัญญาและการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ
เนน้ การพฒั นาการทางานและอาชีพ เพ่อื เตรียมความพร้อมให้ผู้เรยี นออกสูส่ งั คม และพงึ่ พาตนเองได้ โดยมี
การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล (Individualized Education Program : IEP) แผนการสอน
รายบุคคล (Individual Implementation Plan : IIP) และแผนให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว
(Individualized Family Service Plan : IFSP) จดั แหลง่ เรียนรูท้ เี่ น้นทักษะการดาเนินชีวิตที่หลากหลาย
เพิม่ เติมเพื่อใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏบิ ัตจิ ริง เน้นใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง จัดหาส่ืออุปกรณ์ท่ีเหมาะสม
และสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นทางการศึกษาการประเมินความก้าวหน้า สรุปพัฒนาการตาม
แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และการส่งต่อเด็กพิการไปรับบริการ
ทีเ่ หมาะสม เพอื่ พัฒนาและเตรียมความพร้อมผ้เู รียนเข้าสู่ช่วงเชอื่ มตอ่ และสงั คมในอนาคต

ปีการศกึ ษา 2563 ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดระนอง มีผ้เู รยี น รวม 189 คน รับบริการที่
ศนู ย์ฯรูปแบบไป-กลับ จานวน 79 คน รับบรกิ ารที่หน่วยบรกิ าร จานวน 65 คน และรับบริการท่ีบ้าน 45 คน
(ข้อมลู 10 พฤศจิกายน 2563) โดยแบง่ ตามรปู แบบการจัดบริการดังน้ี

1. ประเภทรบั บรกิ ารท่ศี นู ยฯ์ รูปแบบไป-กลับ
ผูเ้ รียนท่ีมารับบริการภายในศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง โดยให้บริการ

ช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม จานวน 79 คน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยแบ่งห้องเรียนตามช่วงอายุ
พัฒนาการของผูเ้ รียน จานวน 4 ห้อง ได้แก่ 1) ห้องแรกรับ 2) ห้องเตรียมความพร้อม สาหรบั เด็กพกิ ารทกุ
ประเภท 3) หอ้ งเตรียมความพร้อมสาหรับเดก็ ท่มี คี วามบกพร่องด้านร่างกายหรอื การเคล่อื นไหวหรือสุภาพ
และ 4) หอ้ งกายภาพ

2. ประเภทรับบริการที่หน่วยบริการ
ผเู้ รยี นท่ีมารับบรกิ ารทหี่ นว่ ยบริการประจาอาเภอ รับบริการการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม

และเตรียมความพร้อม จานวน 65 คน ท้ังหมด 4 หน่วยบริการประจาอาเภอของจังหวัดระนอง
ประกอบด้วย หน่วยบริการประจาอาเภอกระบรุ ี อาเภอละอุ่น อาเภอกะเปอร์ และอาเภอสขุ สาราญ

3. ประเภทรบั บรกิ ารท่ีบา้ น
ผู้เรียนท่ีรบั บริการที่บ้าน ในโครงการ “ปรับบ้านเป็นห้องเรียน เปล่ียนพ่อแม่เป็นครู”

ผู้เรียนรับบริการจัดการศึกษาร่วมกับผู้ปกครองและครอบครัว ท้ังหมด 5 อาเภอ ภายในจังหวัดระนอง
จานวน 45 คน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 2563 13

ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดระนอง มีการบรกิ ารชว่ งเชื่อมตอ่ (Transitional services) และ
มกี ระบวนการการส่งต่อสาหรับผเู้ รียน โดยรปู แบบการจดั บรกิ ารช่วงเช่ือมต่อและส่งต่อของศูนย์การศกึ ษา
พิเศษประจาจงั หวัดระนอง มี 2 รูปแบบ ดงั นี้

1. ช่วงเชื่อมต่อ (Transitional Services) หมายถึง การวางแผนส่งต่อ ถ่ายโอนผู้เรียนจาก
โปรแกรมหน่ึงไปสอู่ ีกโปรแกรมหน่ึง หรอื ระดับหน่งึ สอู่ กี ระดบั หนงึ่ ในสถานศึกษาเดมิ

2. การสง่ ตอ่ (Referral) หมายถึง การวางแผนประสบการณ์ในการสอนหรอื การจัดกิจกรรมเพ่ือ
เข้าสู่การส่งต่อสู่สถานศึกษาเรยี นรว่ มหรือหอ้ งเรยี นคขู่ นาน สถานศึกษาเฉพาะความพกิ ารหรือสถานศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน เขา้ สกู่ ารศกึ ษาในระดับที่สูงข้ึน หรอื การอาชพี หรอื การดาเนินชีวิตในสงั คมไดต้ ามศักยภาพของ
แต่ละบคุ คล

ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดระนอง ได้น้อมนาหลักการบริหารจัดการตามแนวคิดหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้วยรูปแบบและกระบวนการ
ทหี่ ลากหลายผ่านกิจกรรมท่ีเหมาะสมกบั ศกั ยภาพและพัฒนาการ โดยกาหนดคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของ
ผเู้ รยี น ซง่ึ เป็นเปาู หมายหลักในการพฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี น ในหลักสูตรของสถานศึกษา 10 ประการ ดังน้ี

1. รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตและมีสขุ นสิ ัยทด่ี ี
2. กล้ามเนอ้ื มัดใหญ่ และกล้ามเน้ือแข็งแรงใช้ไดอ้ ยา่ งสัมพันธก์ นั
3. ร่าเรงิ แจ่มใส มีความสุขและมีความรสู้ กึ ทีด่ ตี อ่ ตนเองและผู้อนื่
4. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวนิ ยั ในตนเองและมีความรับผิดชอบ
5. อยู่อย่างพอเพยี งและช่วยเหลือตนเองไดเ้ ต็มศักยภาพ
6. สนใจตอ่ การเรยี นรูส้ ่งิ ตา่ ง ๆรอบตวั และม่งุ มัน่ ในการทางาน
7. เลน่ และทากิจกรรมร่วมกบั ผู้อน่ื ได้อย่างมีความสุข และรกั ความเปน็ ไทย
8. ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดอ้ ย่างเหมาะสม
9. มคี วามสามารถในการคดิ และแก้ปัญหาได้อยา่ งเหมาะสม
10. มีความสามารถในการดารงชีวิตประจาวนั ไดเ้ ตม็ ศักยภาพ

ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั ระนอง จัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนสง่ เสริมให้ผเู้ รยี นมีความภูมิใจ

ทไ่ี ด้เรยี นรู้ผ่านการมีส่วนร่วมและปฏิบัติจริง ตามโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ กิจกรรมทัศนศึกษา

กจิ กรรมสาคญั ทางชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และกจิ กรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย กิจกรรม

กฬี าสสี มั พนั ธ์ เปน็ ต้น เพอ่ื พฒั นาผูเ้ รียนให้มที กั ษะการเรียนรูท้ ง้ั 4 ด้าน คือด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคมและ

สตปิ ัญญา ผูเ้ รยี นสามารถนาความรจู้ ากการปฏบิ ตั จิ รงิ และพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ รวมทัง้ สร้างจติ สานึกใน

การรกั ท้องถิน่ พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นให้เป็นไปตามศักยภาพให้ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ

สามารถพงึ่ พาตนเองได้ และมีคุณภาพชวี ติ ที่ดีขึ้น

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 2563 14

สรปุ ผลการประเมนิ

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดระนอง มีผลการดาเนินงานตามมาตรฐานท่ี 1
ด้านคุณภาพผู้เรียนโดยภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 80.13 ระดับคุณภาพ ดีเลิศ สูงกว่าค่าเป้าหมาย
ท่สี ถานศกึ ษากาหนด ทั้งนไี้ ด้สรปุ ผลการดาเนินงานตามประเด็นพจิ ารณา ดงั น้ี
1. ผลการพัฒนาผู้เรียน

ผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนตามที่ระบุไวใ้ นแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคลทแ่ี สดงออกถึงความรู้ ความสามารถทักษะตาม
ที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล และแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว
ตามชนั้ เตรยี มความพรอ้ ม มีผ้เู รยี นมารับบริการที่ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง จานวน 189 คน
ผู้เรยี นมผี ลการพัฒนาตามศักยภาพฯ จานวน 178 มีผลการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป
คดิ เปน็ ร้อยละ 71.73 ระดบั คณุ ภาพ ดี
ผู้เรียนมคี วามพรอ้ มสามารถเข้าสูบ่ รกิ ารช่วงเช่อื มตอ่ และการส่งต่อ
ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง มีผเู้ รยี น 189 คน ผเู้ รยี นไดร้ บั การบริการช่วงเชื่อมต่อ
และการส่งต่อ จานวน 178 คน มีจัดทาแผนการเปล่ยี นผ่านเฉพาะบุคคล (Individual Transition Plan :
ITP) คดิ เป็นร้อยละ 94.17 ไดแ้ ก่

1. ผู้เรียนได้รับบริการช่วงเชื่อมต่อ (Transitional Services) จานวน 170 คน
คิดเป็นร้อยละ 95.51 ของผู้เรยี นที่จัดทาแผนการเปลี่ยนผา่ นเฉพาะบุคคล

2. ผู้เรียนได้รับการส่งต่อ (Referral) จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 4.49 ของผู้เรียน
ทจ่ี ัดทาแผนการเปลีย่ นผ่านเฉพาะบุคคล
* หมายเหตุ ผเู้ รยี นท่ไี ม่มผี ลการพัฒนาตามศักยภาพฯ จานวน 11 คน เนื่องจาก ๒ สาเหตุ ได้แก่ เสียชีวิต
ระหว่างปีการศกึ ษา และมารับบรกิ ารไม่ตอ่ เน่ืองจนไม่อาจประเมินผลได้ (สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019)
2. ผลการประเมนิ คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์

คณุ ลกั ษณะอันท่ีประสงคต์ ามหลกั สตู รสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 ผู้เรียนมีความประพฤติ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม จิตสานึกตามที่สถานศึกษา กาหนดปรากฏชัดเจนโดยไม่ขัดกับกฎหมายและ
วัฒนธรรมอันดขี องสังคม ผู้เรียนจานวน 178 คน มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ
80.22 จากการดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีหลากหลาย ผู้เรียนมคี วามประพฤตดิ ้านคุณธรรม จริยธรรม และ
จติ สานึกตามท่ีสถานศึกษากาหนด

ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย ตามศกั ยภาพของผู้เรยี นแต่ละบุคคล ผูเ้ รยี นมีส่วนร่วม
ในการอนุรกั ษ์ วัฒนธรรมในท้องถ่ินหรือแสดงออกที่จะส่งเสริมความเป็นไทยและเห็นคุณค่าเกี่ยวกับภูมิ
ปัญญาไทย การจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการมีส่วนร่วมและปฏิบัติจริง
ผู้เรยี นเข้าร่วมกจิ กรรม 8 กจิ กรรม เพ่ือให้ผู้เรยี นมีความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย ตามศักยภาพ
ของผู้เรียนแต่ละบุคคล ผู้เรียนจานวน 178 คน มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ
74.40 จากการดาเนนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ภายใตโ้ ครงการ/กจิ กรรมตา่ ง ๆ ซ่ึงผ้เู รยี นให้ความสนใจและ
ให้ความร่วมมอื ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ เปน็ อยา่ งดี ผเู้ รียนสนใจกิจกรรมประเพณีท้องถน่ิ และของไทย
สามารถนาศิลปวฒั นธรรมและประเพณีมาพัฒนาเอกลักษณ์ความเป็นไทยได้มีคุณลักษณะที่แสดงออกถึง
ความภาคภูมิใจ การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สืบทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี
ศิลปะและวัฒนธรรมไทย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 15

ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทส่ี นบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง
๑. หลกั สูตรสถานศึกษา การช่วยเหลือระยะแรกเริ่มสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ

(Early Intervention)
๒. หลกั สตู รสถานศึกษาศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดระนอง และแนวทางการจัดกิจกรรม

ของแต่ละประเภทความพิการเพือ่ เปน็ แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
3. แบบประเมินความสามารถพน้ื ฐาน (Based Assessment) โดยการมีส่วนรว่ มของผ้ปู กครอง
4. แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP)

แผนการให้บรกิ ารเฉพาะครอบครัว (Individualized Family Service Plan : IFSP) แผนการเปลี่ยนผ่าน
เฉพาะบุคคล (Individual Transition Plan : ITP) แผนการสอนเฉพาะบุคคล ( Individual
Implementation Plan : IIP) แบบประเมินและทบทวนแผน ๑ คร้ัง/ปีการศึกษา เพื่อให้เหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียน เอกสารการศึกษาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล

5. สมุดรายงานผลการพฒั นาผ้เู รยี น

6. แฟมู รวบรวมผลงานนกั เรยี น
7. เอกสารรายงานการจัดการศึกษาตามหลักสตู ร ปีการศกึ ษา ๒๕๖3
8. แผนการเปลีย่ นผา่ นเฉพาะบคุ คล (Individual Transition Plan : ITP)
9. รายงานสรุปผลการส่งตอ่ นกั เรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖3
10. รายงานโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปีทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาผเู้ รยี นแต่ละคน ดังน้ี

10.1 โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิข์ องผู้เรียน
กจิ กรรมที่ 1 พัฒนาหลักสตู ร
กจิ กรรมท่ี 2 พัฒนาศกั ยภาพเด็กพกิ ารโดยศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง
กจิ กรรมที่ 3 ส่งเสรมิ สนับสนุนจัดหาส่ือ อุปกรณ์เพ่ือให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคน

พิการโดยครอบครวั และชุมชน (CBR)

กิจกรรมท่ี 4 งานลงทะเบยี นและวัดผลประเมนิ ผล
กิจกรรมท่ี 5 งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
10.2 โครงการงานบริการ ส่งิ อานวยความสะดวก สอ่ื บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทาง
การศึกษา
10.3 โครงการกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

10.4 โครงการส่งเสริมสนับสนุนส่ือ อุปกรณ์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพสาหรับเด็กพิการ
หอ้ งกายภาพบาบดั ศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั ระนอง

- กจิ กรรมรณรงค์การปอู งกนั ความพกิ าร การประกวด “ร้อง เลน่ เต้น เพลงพ่ีหัวดี”
สมาคมสภาสงั คมสงเคราะหแ์ หง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

- กจิ กรรม TO BE NUMBER ONE IDOL จงั หวดั ระนอง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 16

ผลการดาเนินงานมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น ระดับคุณภาพ : ระดับดีเลศิ

จากการดาเนินงานในปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านมา ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง

ไดบ้ รหิ ารงานจดั การเรยี นการสอนและที่เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ปรากฏผลเชิงประจักษ์

ดงั ต่อไปนี้

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายท่ี ผลการประเมิน
กาหนดไว้ รอ้ ยละ ระดับคณุ ภาพ

1.1 ผลการพัฒนาผู้เรียน

1.1.1 ผเู้ รียนมีพัฒนาการ ทแี่ สดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ดี
ตามท่รี ะบุไว้ในแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล หรอื แผนการให้บรกิ าร รอ้ ยละ 75 71.73
ช่วยเหลือเฉพาะครอบครวั ตามศักยภาพ

1.1.2 ผู้เรียนมีพรอ้ มสามารถเข้าสู่บริการชว่ งเชื่อมตอ่ หรือการส่งตอ่ เขา้ สู่ ดีเลิศ
การศกึ ษาในระดบั ท่ีสงู ข้ึน หรือการอาชพี หรอื การดาเนนิ ชวี ิตในสังคมได้ รอ้ ยละ 75 94.17
ตามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล

1.2 คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรียน

1.2.1 ผเู้ รยี นมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด รอ้ ยละ 75 80.22 ดีเลศิ

1.2.2 ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย ตามศักยภาพ ร้อยละ 75 74.40 ดี
ของผู้เรียนแตล่ ะบุคคล รอ้ ยละ 75 80.13 ดเี ลศิ

สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผูเ้ รียน

จุดเดน่

1. ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดระนอง มกี ารพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับเด็กพิการ

ของสถานศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการพัฒนาศักยภาพตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล

(Individualized Education Program : IEP) และแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว

(Individualized Family Service Plan : IFSP) อยา่ งต่อเนอื่ ง
2. ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั ระนอง มกี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและส่งเสริมให้

ผู้เรียนมีความกล้าแสดงออกในการดาเนินชีวิตประจาวันผ่านโครงการ TO BE NUMBER ONE IDOL

จังหวัดระนอง และเขา้ ร่วมแขง่ ขนั โครงการรณรงค์การปูองกันความพิการ การประกวด “ร้อง เล่น เต้น

เพลงพห่ี วั ดี” สมาคมสภาสังคมสงเคราะหแ์ หง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

3. มีการสรปุ ผลและรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนประจาปี และการรายงานผลการจัดกจิ กรรม/งาน

โครงการอย่างหลากหลายเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รยี นตามมาตรฐานด้านคณุ ภาพผู้เรียน ใชแ้ หล่งเรยี นรแู้ ละภูมปิ ัญญา

ทอ้ งถิน่ จากท้งั ภายในและภายนอก

จุดทคี่ วรพฒั นา
1. การจัดทาหลักสตู รสถานศกึ ษาการศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เด็กท่ีมคี วามตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ ตาม

นโยบายของสังกัดสานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 17

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
กระบวนการพฒั นา

การนาองค์กรของศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง มีเปูาหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ
ไว้อย่างชดั เจน นาไปสู่การปฏิบัตไิ ด้จริงผา่ นโครงการ หรือกิจกรรมต่างๆ เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากร
รว่ มคิด ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินการตามหลักการบริหารจัดการ การกาหนดทิศทางการบริหารองค์กร,
วเิ คราะหบ์ ริบทองคก์ ร SWOT Analysis, ร่วมคดิ รว่ มทาดว้ ยกจิ กรรมกระบวนการวางแผนงานการปฏิบัติ
และรายงานผลเชงิ คุณภาพดว้ ยวงจร Demming (P-D-C-A) ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทีเ่ นน้ คุณภาพผูเ้ รยี น

รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และครอบคลุม
สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี ยทุ ธศาสตรแ์ ผนการศึกษาชาติ นโยบายสานกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน นโยบายและจดุ เน้นสานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ

มีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 5 ปี พ.ศ.2560 - 2564 แผนปฏิบัติการ
ประจาปี 2563 มงี านตามโครงสร้างบริหาร 5 ฝุาย มีปฏิทินการปฏิบัติงานที่กาหนดระยะเวลาไว้ มีการ

ขับเคล่อื นภารกิจของสถานศึกษา ผ่านโครงการ/กิจกรรม มกี ารจัดระบบการนิเทศ กากบั ติดตามตรวจสอบ
การปฏบิ ตั งิ านมีการสรุปรายงานผลการปฏิบัตงิ าน และใช้ผลการดาเนินงานมาเป็นแนวทางในการพัฒนา
ซง่ึ ปกี ารศึกษา ๒๕๖3 มี ๑6 โครงการ/กจิ กรรม สนองยุทธศาสตรข์ องสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐานและกลยุทธข์ องสานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ ทุกยุทธศาสตร์ ทุกกลยุทธ์ สนองมาตรฐาน
การศึกษาของศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั ระนอง มาตรฐานที่ ๑ ดา้ นคุณภาพผู้เรียน จานวน 4 โครงการ

มาตรฐานท่ี ๒ ด้านการบรหิ ารจดั การ จานวน 10 โครงการ และมาตรฐานท่ี ๓ ด้านกระบวนการจัดการ
เรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั จานวน 3 โครงการ นอกจากนน้ั ทกุ ฝาุ ยบริหารงานจัดทาสารสนเทศ
ฝาุ ยอย่างเป็นระบบ

จากการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาด้วยรูปแบบการบริหารจัดการ ภายใต้กระบวนการ
ตรวจสอบคุณภาพ PDCA ทาให้คณะครูและบุคลากรภายในสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง

หลักสตู รสถานศึกษาและร่วมการจดั ทาและปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษา โดยครูผู้สอนได้จัดทาหน่วยการ
เรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา/จัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ( IEP) /แผนการ
ใหบ้ รกิ ารช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว (Individualized Family Service Plan : IFSP) แผนการสอนเฉพาะ
บุคคล (Individual Implementation Plan IIP) พร้อมทั้งปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(Individualized Education Program : IEP) แผนให้บรกิ ารช่วยเหลอื เฉพาะครอบครัว (Individualized

Family Service Plan : IFSP) ภาคเรียนละ 1 คร้ัง รวมท้งั การมสี ่วนรว่ มของ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ครผู ู้สอน
นักสหวชิ าชีพ ผู้เรียน ผูป้ กครอง และผมู้ ีส่วนเกยี่ วขอ้ ง ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ
ผเู้ รยี นรายบคุ คล ใช้ส่ือเทคโนโลยีสงิ่ อานวยความสะดวกท่ีสอดคล้องกับสภาพของผู้เรียน นิเทศ ติดตาม
ปรบั ปรุงการจดั การเรียนการสอน ประเมินความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่ช่วงเช่ือมต่อหรือการส่งต่อเข้าสู่
การศึกษาในระดับท่สี ูงขึ้นหรือการดาเนินชีวิตในสังคมได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล รวมท้ังส่งเสริม

ศกั ยภาพของผเู้ รียนสูค่ วามเปน็ เลศิ ทางด้านวิชาการ
การพัฒนาครูและบุคลากร ให้มีคุณภาพและมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ได้รับ

มอบหมายเพื่อประโยชนส์ ูงสดุ ตลอดปีการศึกษา 2563 ไดจ้ ดั อบรมเพือ่ พฒั นาความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
เรียนการสอน การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ี มีพัฒนาครูในรูปแบบท่ีหลากหลายตามสภาพความ
ตอ้ งการจาเปน็ ของสถานศกึ ษาและความต้องการของครูอย่างต่อเน่ือง โดยการแสดงผลงานวิชาการและ

แลกเปลย่ี นเรยี นรูป้ ระสบการณ์สคู่ วามสาเร็จ (Show and share) เพ่ือให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ได้เสนอผลงานแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศ สร้างแรงจูงใจทาให้เกิดความ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2563 18

มุง่ มัน่ ในการพฒั นาสรา้ งและพฒั นาผลงานดีเด่นประสบผลสาเรจ็ เป็นเชิงประจักษ์ และบุคลากรให้มีความ
เชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ เพอ่ื ส่งเสริมผลงานเข้าประกวดรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS

สาหรับในเร่ืองของการจัดสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน สถานศึกษามีการ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา มีมาตรการลดใชพ้ ลงั งานภายในสถานศกึ ษา ดว้ ยวิธีท่ีเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม สนับสนุนการน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่วิถีชีวิตของ ผู้เรียนและบุคลากรใน
สถานศึกษาให้มากขนึ้ จัดสร้างพฒั นาและปรับปรงุ สถานท่ตี ่างๆใหม้ ีความม่ันคง ปลอดภัย สะดวกต่อการ
จัดงานหรอื จัดกิจกรรมต่างๆ ม่งุ เนน้ ใหเ้ กดิ ความสะอาดและพร้อมใชง้ านอยูเ่ สมอ จากสถานการณ์การแพร่
ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) มีความจาเป็นอย่างย่ิงในการปฏิบัติตนของผู้เรียนและ
บุคลากรในสถานศกึ ษา เพือ่ ลดโอกาสการติดเช้ือและปูองกนั ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั แกท่ กุ คน

นอกจากนี้การพัฒนาระบบเทคโนโลยีเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการการทางานของกลุ่ม
บริหารงาน มีการนา Google Apps มาใช้ในการบริหารจัดการ ได้แก่ การนิเทศ ติดตามผู้เรียนโดยใช้
Google form และเก็บข้อมลู ใน Google sheet มีการรายงานผลการปฏิบัติงานในรูปแบบ Info graphic
และการเก็บไฟล์เอกสารราชการ Google drive มีการค้นหาผู้เรียนโดยใช้ Google site ปักหมุดบ้าน
ผู้เรียน (Location) พร้อมทั้งเพ่ิมรายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน และรูปภาพของผู้รับบริการลงในระบบ
เชอื่ มโยงกบั ระบบข้อมลู สารสนเทศกบั หน่วยงานต้นสังกัดผ่านระบบสารสนเทศด้านการศึกษาพิเศษและ
การศกึ ษาสงเคราะห์ (Special Education Technology : SET) และสนับสนุนการขอรับการอุดหนุนส่ิง
อานวยความสะดวก เทคโนโลยี สอื่ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาด้วยระบบคูปองผ่าน
ระบบโปรแกรม IEP online ส่งผลให้การบริหารจัดการมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้ึน รวมทั้งใช้เทคโนโลยีเพื่อ
การสื่อสารและตดิ ตอ่ ประสานงาน ดว้ ยช่องทาง Line, Facebook, zoom meeting เปน็ ต้น

สรปุ ผลการประเมนิ

1. ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง มีเปูาหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีสอดคล้องกับ
บริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่นิ วตั ถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบาย
ของรัฐบาล และของต้นสงั กดั รวมทั้งทันต่อการเปล่ียนแปลงตามยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแนวทางการ
ปฏิรปู ตามแผนการศกึ ษาชาติ มแี ผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาระยะ 5 ปี พ.ศ.2562 - พ.ศ.2566
และแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ 2563 ทีส่ อดคล้องกับการพฒั นาผเู้ รียนทกุ กลุ่มเปาู หมาย

2. ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั ระนอง มีขับเคลอื่ นระบบงานอย่างมีคุณภาพ และรายงานผล
เชงิ คุณภาพด้วยวงจร Demming (P-D-C-A) โดยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝุาย มีการนาข้อมูลสะท้อน
กลับมาใชใ้ นการปรบั ปรุงพฒั นางานอย่างตอ่ เนอ่ื ง

3. ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดระนอง มรี ูปแบบการจดั การเรียนการสอน โดยใช้หลักสูตร

การช่วยเหลือระยะแรกเริ่มสาหรับ เด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ (Early Intervention) กิจกรรม

พฒั นาผู้เรยี น กิจกรรมธาราบาบดั กายภาพบาบัด ท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนทุกกลุ่มเปูาหมายอย่างรอบด้าน

ตามศักยภาพและประเภทความพิการ ผู้เรียนสามารถนาไปใช้กับชีวิตจริงได้ ซึ่งในปีการศึกษา 2563

สง่ ผลให้ผู้เรียนมีการพฒั นาเป็นไปตามเปาู หมายทร่ี ะบไุ ว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล หรือแผนการ

ใหบ้ รกิ ารช่วยเหลือเฉพาะครอบครวั คดิ เปน็ ร้อยละ 71.73 ผเู้ รียนไดร้ บั บรกิ ารชว่ งเช่ือมต่อหรือการส่งต่อ

คิดเปน็ รอ้ ยละ 94.17 ผู้เรียนมีการมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกับ

กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสงั คม คิดเปน็ ร้อยละ 80.22 ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถ่ิน และความ

เปน็ ไทย ตามศักยภาพของผูเ้ รยี นแต่ละบคุ คล คิดเปน็ รอ้ ยละ 74.40 อกี ทั้งยังส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2563 19

ความกล้าแสดงออกในการดาเนินชีวิตประจาวันและสามารถถ่ายทอดออกทางการแสดงมากมาย
ผ่านโครงการ TO BE NUMBER ONE IDOL จังหวัดระนอง และเข้าร่วมแข่งขัน โครงการรณรงค์การ
ปูองกนั ความพกิ าร การประกวด “รอ้ ง เล่น เต้น เพลงพ่ีหัวดี” สมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศ
ไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์

4. มีการพัฒนาครูและบุคลากรด้วยวิธีการหลากหลาย โดยการแสดงผลงานวิชาการและ
แลกเปล่ยี นเรยี นรปู้ ระสบการณส์ ู่ความสาเร็จ (Show and share) เพ่ือให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ได้เสนอผลงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศ สร้างแรงจูงใจทาให้เกิดความ
ม่งุ มั่นในการพัฒนาสร้างและพฒั นาผลงานดีเดน่ ประสบผลสาเร็จเป็นเชิงประจักษ์ ส่งผลต่อการยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ส่งผลครูได้รับการอบรมและพัฒนาตนเองไม่น้อยกว่า 20 ช่ัวโมง คิดเป็นร้อยละ
100 นอกจากนี้ครูผู้สอนได้แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan)
และรายงานการพัฒนาตนเองตามแผนคิดเป็นร้อยละ 100 มีการเตรียมความพร้อมและการพัฒนา
อยา่ งเข้มสาหรับผู้ดารงตาแหน่ง ครูผูช้ ่วย และใหค้ รผู ู้สอนทุกคนได้รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR)
รวมท้ังการประเมินผลการปฏบิ ัติงานของครู ตลอดทงั้ มีการนิเทศ กากบั ตดิ ตาม และประเมินผลการบรหิ าร
อย่างต่อเน่อื ง

5. มสี ภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ดี ี โดยจดั ใหม้ ีการจัดทาโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
ของศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง ทั้งภายในและภายนอก ด้านกายภาพให้มีทัศนียภาพที่
สวยงาม มีความสะอาด รม่ รนื่ ปลอดภยั และถูกสขุ อนามัยทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้สาหรบั ผู้เรยี น มีการปรับปรุง
แหล่งเรยี นรูภ้ ายในอาคารเรียน แหลง่ เรียนรู้ภายนอกห้องเรียน และแหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา มีการ
ปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมหน่วยบริการทงั้ 4 หนว่ ยบริการ ใหม้ สี ภาพพรอ้ มใช้งานและเอ้อื ต่อการเรียนรู้ จาก
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) เพ่ือลดโอกาสการติดเชื้อและปูองกันให้
เกดิ ความปลอดภยั แกท่ ุกคน

6. สถานศึกษามีเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ในการบริหารจัดการที่ครอบคลุมการ
ดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา การนา Google Apps ทาให้การบริหารจดั การมีประสทิ ธิภาพลดการจัดเก็บที่
ซ้าซ้อน รกั ษาความถกู ตอ้ งของข้อมลู การปอู งกนั และรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลทาได้อย่างสะดวก
ชว่ ยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผน การควบคุม และการสั่งการได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งใช้
เทคโนโลยีเพ่อื การสื่อสารและติดต่อประสานงาน ด้วยชอ่ งทาง Line, Facebook, zoom meeting เป็นตน้

ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
1. มีการวเิ คราะห์บรบิ ทองคก์ ร SWOT Analysis ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
(External Environment) และภายในของสถานศึกษา (Internal Environment)
2. แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดระนอง 5 ปี
(พ.ศ. ๒๕62 – พ.ศ. ๒๕๖6)
4. แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี 2563
5. โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี 2563 มีจานวน ๑6 โครงการ
6. รายงานสรุปโครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี ๒๕๖3

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 20

ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทส่ี นับสนุนผลการประเมินตนเอง (ต่อ)
7 ข้อมลู สารสนเทศสถานศกึ ษา
8. รายงานผลการอบรมทบี่ คุ ลากร
9. รายงานผลการอบรมหลักสูตรการพฒั นาข้าราชการครูดว้ ยระบบคปู องครู
10. รายงานการนเิ ทศภายในศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ
11. รายงานการนเิ ทศ ตดิ ตามโรงเรยี นจัดการเรียนรวม
12. ทะเบียนแหล่งเรียนรทู้ เี่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้
13. ทะเบียนภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ สาหรบั การจดั การเรยี นรู้
14. ระบบสารสนเทศการศึกษาพเิ ศษและการศกึ ษาสงเคราะห์
(Special Education Technology : SET)
15. การสื่อสารและตดิ ต่อประสานงาน ดว้ ยช่องทาง Line, Facebook, zoom meeting เปน็ ต้น
16. โครงการพัฒนาและยกระดบั คุณภาพฝุายบรหิ ารงานบคุ คล
17. โครงการพฒั นาครูและบคุ ลากร
18. โครงการนเิ ทศการเรียนการสอน
19. โครงการพัฒนาอาคารสถานทแี่ ละสิ่งแวดล้อม
20. โครงการเสรมิ สร้างพัฒนาอย่างย่งั ยนื ด้วยศาสตร์พระราชา
21. โครงการพฒั นาระบบงานการเงนิ การบญั ชี งานพสั ดุ และสนิ ทรัพย์
22. โครงการสมั พันธ์ชมุ ชน
23. โครงการบรหิ ารจัดการลดความเสี่ยงภัยในสถานศึกษา

ผลการดาเนนิ งานมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับคณุ ภาพ : ระดับดีเลิศ

จากการดาเนินงานในปกี ารศึกษา 2563 ที่ผ่านมา ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง

ได้มกี ระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดงั นี้

วธิ ีการพฒั นา ผลการดาเนินงาน

สรปุ โครงการของศูนย์

การศึกษาพเิ ศษประจา 10
จังหวดั ระนอง ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2563 5 10
43
ท่สี อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน
ของศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ 0
มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานที่ 3

ประจาจังหวัดระนอง มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานที่ 3

จดั ทาสารสนเทศออนไลน์
Google site

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 2563 21

มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เป้าหมายท่ี ผลการประเมิน
กาหนดไว้ ระดับ แปลผล

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา 4 ดีเลศิ
4 ดีเลศิ
1) มเี ปูาหมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกิจท่สี ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน ระดบั 4 4 ดีเลิศ
4 ดีเลิศ
2) มีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ระดบั 4 4 ดเี ลศิ

3) ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้าน ระดับ 4 4 ดเี ลิศ
ตามหลกั สตู รสถานศึกษา และ ทุกกลุ่มเปาู หมาย 4 ดีเลศิ

4) พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี ระดบั 4

5) จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจัด ระดับ 4
การเรยี นรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ

6) จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การบริหารจัดการ ระดบั 4
และการจัดการเรยี นรู้

รวม ระดบั 4

จุดเดน่
1. ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ระนอง มรี ะบบการบรหิ ารจัดการโดยมีวิสัยทัศน์ร่วมกันท้ัง

คณะผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการกาหนดความสาเร็จและดาเนินงานต่าง ๆ
และมกี ารกระจายอานาจมอบหมายงานตามหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบตามโครงสรา้ งการบริหารงานอย่างชัดเจนและ

เหมาะสมกับความร้คู วามสามารถของบุคลากร บรหิ ารจัดการโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาลควบคกู่ บั หลกั ปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียง

2. มีการพัฒนาครูและบุคลากรด้วยวิธีการหลากหลาย โดยการแสดงผลงานวิชาการและ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์สู่ความสาเร็จ (Show and share) ภายในสถานศึกษา เพื่อให้ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ได้เสนอผลงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศ

(Best Practice)
3. ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดระนอง มีสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่เี อ้ือต่อการ

จดั การเรียนรูอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ มคี วามพร้อมในเรื่องอาคารสถานท่ี มีแหล่งเรียนรู้ ร่มรื่น ปลอดภัย สะดวก
ตอ่ การใชง้ าน มแี หลง่ เรียนรภู้ ายนอกอาคารและนอกห้องเรยี นในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน

4. มกี ารจัดระบบสารสนเทศทม่ี ีความถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบันทันสมัย สะดวกต่อการเข้าถึง

และการใหบ้ รกิ ารและสามารถเช่ือมโยงกบั เครือข่ายกับหน่วยงานตน้ สงั กัด และหน่วยงานอ่นื ๆ

จดุ ทคี่ วรพฒั นา
1.การพัฒนาฐานข้อมูลด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบออนไลน์(e-book) ที่สามารถตอบสนอง

ความตอ้ งการของครูผู้สอน เพ่ือลดภาระงานที่ซ้าซ้อน รวมท้ังพัฒนาการสืบค้นข้อมูลย้อนหลังของการ

ปฏิบัตงิ าน โดยการใชเ้ ทคโนโลยีที่ทันสมัย รวดเร็ว ซ่ึงจะสามารถเรียกดูข้อมูล และประมวลผลได้อย่าง
รวดเรว็

2. สง่ เสริมใหค้ รูมีความรู้ ความสามารถการจัดทาผลงานทางวิชาการ (Best Practice) ในการ
ส่งผลงานเข้าร่วมประกวดระดับตา่ งๆ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 22

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสาคญั
กระบวนการพัฒนา

ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดระนอง มกี ารจดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
(Active Learning) ด้วยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มคี วามรเู้ กีย่ วกับหลักสูตรและแนวทางการจัดการศึกษา โดยครูมีการวิเคราะห์
หลักสูตรสถานศึกษา ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยการใช้แบบประเมินความสามารถพื้นฐาน
ประเมนิ ผูเ้ รยี นเปน็ รายบคุ คลร่วมกับคณะกรรมการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล มุ่งเน้นให้

ผเู้ รียนไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งสาคัญและรอบด้าน ครูมีการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ
บุคคลทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั มกี ารจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมวันสาคัญทาง
ศาสนาและประเพณีไทย กายภาพบาบดั กจิ กรรมบาบดั และธาราบาบัด มีการใชภ้ ูมิปัญญาท้องถ่ินในการ
ผลิตสอ่ื ทีห่ ลากหลาย การจดั ห้องเรียนใหเ้ หมาะสมเอ้ือต่อการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ การตรวจสอบผู้เรียน
อย่างเปน็ ระบบ ครูมกี ารจัดทาแผนการสอนเฉพาะบคุ คลโดยใช้วิธีการเทคนิคการสอนที่หลากหลาย โดย

เน้นให้ผ้เู รยี นไดล้ งมือฝกึ ปฏิบัติจริงผ่านกระบวนการคดิ ฝกึ การแกป้ ัญหา และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตได้ โดยครูมีการวัดประเมินผลเป็นตามกระบวนการของ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(Individualized Education Program : IEP)

สง่ เสรมิ การใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งการเรยี นรทู้ ่เี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ ครูทุกคนมีการผลิต
สื่อและนวัตกรรมในการจดั การเรียนการสอน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ทาใหผ้ เู้ รียนไดเ้ กดิ กระบวนการเรียนรู้ที่

ง่ายต่อความเขา้ ใจและช่วยเสรมิ สรา้ งกระต้นุ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความสนใจในการเรียนมากยิ่งข้ึน นอกจากน้ีได้
สง่ เสริมสนบั สนุนการใช้แหล่งเรียนรู้/ภายในอาคารเรยี น ภายนอกอาคารเรียน และแหล่งเรียนรู้ภายนอก
สถานศึกษา คดิ เปน็ ร้อยละ 80 (ในปนี ้ีมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 การใช้
แหล่งเรียนรู้นอกสถานทีจ่ งึ ไมส่ ะดวกตอ่ ผูเ้ รียน)

ศนู ย์การศกึ ษาประจาจงั หวัดระนอง มกี ารบริหารจัดการช้นั เรยี นเชิงบวก มีการบริหารจัดการช้ัน

เรยี นโดยเนน้ ปฏสิ ัมพันธ์เชิงบวก ครูรักเดก็ เด็กรกั ครแู ละรักทจ่ี ะเรยี นรู้ ห้องเรียนสะอาด เด็กสะอาด โดย
การสร้างบรรยากาศภายในห้องเรียนให้เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รยี น โดยคานึงถึงความต้องการจาเปน็ พิเศษ
ของผเู้ รยี น สนับสนนุ สอ่ื และส่ิงอานวยความสะดวกทีพ่ ร้อมสาหรบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

ครูจัดทาแผนการสอนเฉพาะบุคคล เลือกเครื่องมือวัด ออกแบบการวัดและประเมินผลผู้เรียน
ด้วยวธิ กี ารท่ีหลากหลายเหมาะสมกับศักยภาพและประเภทความพิการของผู้เรียน มีการประเมินผู้เรียน

ก่อนและหลงั การจัดการเรียนรู้ นาผลการประเมนิ การจัดการเรยี นรมู้ าใชใ้ นการพัฒนาและแก้ปัญหาให้กับ
ผู้เรียนดว้ ยกระบวนการวจิ ัยในชน้ั เรยี น ครูนาผลการประเมินการจัดการเรียนรู้ การจดบันทึกพฤติกรรม
ผู้เรยี นรายบุคคล การบนั ทึกหลังการสอนและปัญหาท่ีพบระหว่างการจัดการเรียนการสอนมาใช้ในการ
พฒั นาและแกป้ ัญหาใหก้ บั ผ้เู รียนด้วยกระบวนการวิจยั ในชัน้ เรยี น มกี ารตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่าง
เปน็ เพื่อรายงานผลการเรยี น และรวบรวมขอ้ มลู สะท้อนกลับจากผปู้ กครองเพื่อใหค้ รมู ีการใช้ข้อมูลสะท้อน

กลับ และนามาพฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรใู้ ห้ดียง่ิ ขนึ้
ครูเข้าร่วมกิจกรรมการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ตามกลุ่มห้องเรียนทุกวันจันทร์

และวนั พธุ ตั้งแต่เวลา 15.00 – 17.00 น. ตามกระบวนการของชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ มีผู้พบ
ปัญหา ผ้รู ่วมอภิปราย ผนู้ าอภิปราย และรว่ มกันเสนอความคิดเห็นร่วมกันในการแก้ปัญหาผู้เรียน มีการ
ค้นหาหลักการความรู้ที่นามาใช้แก้ปัญหา มีการออกแบบเครื่องมือ/นวัตกรรมสาหรับแก้ปัญหา ผู้เรียน

รว่ มกนั มกี ารบนั ทกึ การเข้าร่วมกจิ กรรมการสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชพี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 23

สรุปผลการประเมนิ

3.1 ครูจัดทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคลที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สอดคล้องกับหลักสูตร
สถานศกึ ษา มแี ผนการสอนเฉพาะบุคคลสอดคล้องกับความความตอ้ งการของผู้เรียน ร้อยละ 100 ส่งผลให้
ผู้เรียนมีพัฒนาการตามท่ีระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล คิดเป็นร้อยละ 71.73 มีครู
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงของผู้ปกครอง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวันได้ตามศกั ยภาพของผเู้ รยี น การมีสว่ นร่วม คิดเปน็ รอ้ ยละ 75 สง่ ผลในผเู้ รียนมีคุณลักษณะที่
พงึ ประสงคต์ ามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 80.22 และผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถ่ิน และ
ความเปน็ ไทย ตามศักยภาพของผ้เู รยี นแต่ละบคุ คล คดิ เป็นรอ้ ยละ 74.40

3.2 ครูมีการใช้เทคโนโลยี ส่ิงอานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใดทาง
การศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้ รวมทั้งภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ โดยนามาใช้
ในการจัดการเรียนรู้ และสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ตามศักยภาพของผู้เรียนจากสื่อที่
หลากหลายดังนี้ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน
คิดเป็นร้อยละ 100 ศูนย์การศึกษาพิเศษจังหวัดระนอง จัดหาสื่อสิ่งอานวยความสะดวกและความ
ช่วยเหลอื อนื่ ใดทางการศกึ ษาครบ คิดเป็นรอ้ ยละ 100

3.3 ครูมีการจัดสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ออื้ ต่อการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น โดยการสรา้ งบรรยากาศในช้นั เรยี น
ให้นา่ เรยี น มีการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก เอื้อต่อการจัดการ
เรียนรู้และบริหารจัดการช้ันเรียน ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกครูรักเด็กและเด็กรักครู
คิดเป็นร้อยละ 80 ดงั น้ี

- ส่งเสรมิ สนับสนุนการใช้แหล่งเรียนรู้/ภายในอาคารเรียน ภายนอกอาคารเรียนศูนย์
การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดระนอง

- ส่งเสริมสนบั สนุนการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา (ในปีนี้มีสถานการณ์การแพร
ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรน่า 2019 การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้นอกสถานท่จี ึงไม่สะดวกต่อผูเ้ รียน)

- มกี ารปรบั ปรุงและ จดั สภาพแวดล้อมหนว่ ยบริการใหเ้ หมาะสม เออื้ ตอ่ การเรียนรู้
สาหรบั ผู้เรียนทีม่ าขอรบั บริการหน่วยบริการ จานวน 4 หน่วยบรกิ าร

3.4 มีการตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รียนอยา่ งเป็นระบบ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย มีเคร่ืองมือวัด
และประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน สง่ ผลใหผ้ ู้เรียนไดร้ ับการพัฒนาให้มศี ักยภาพดีข้นึ ครูมีการศึกษาวิจัย
และพัฒนาการจดั การเรียนรูท้ ีต่ นรบั ผดิ ชอบและใชผ้ ลในการปรับการสอน โดยมกี ารวิเคราะห์สภาพปัญหา
ของผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล เพื่อหาวิธีการแก้ปญั หาในรูปแบบรายงานการวจิ ัยในชั้นเรยี น โดยในปีการศึกษา
๒๕๖3 ครูมรี ายงานวจิ ัย จานวน 24 เร่ือง คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ให้ข้อมลู ย้อนกลบั แก่ผู้ปกครองและมีการ
เผยแพรผ่ ลงานวิจัย คดิ เปน็ ร้อยละ 60

3.5 ครูมีการให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการ
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี ทกุ คน ครูได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเวทีแลกเปล่ียน
(Show & Share)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 24

ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง

๑. หลกั สูตรสถานศกึ ษา

๒. แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล (Individualized Education Program : IEP)

๓. แผนการสอนเฉพาะบคุ คล (Individual Implementation Plan : IIP)

๔. ภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

5. กาหนดการสอนและแผนหน่วยการจดั การเรียนรู้

6. แฟมู สะสมผลงานนกั เรียน

7. ทะเบียนการขอยืมใช้สื่อ/นวัตกรรม

8. รายงานวจิ ยั ในช้ันเรยี น

9. กจิ กรรมเสริมทักษะการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่

- กิจกรรมเสริมทกั ษะธาราบาบัด

- กจิ กรรมกายภาพบาบัด

- กจิ กรรมเสรมิ ทักษะศลิ ปะบาบัด

- ภาพการจัดกจิ กรรมเสรมิ ทักษะ

10. โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น

11. โครงการพธิ มี อบทนุ การศกึ ษาคณุ พมุ่

11. กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน

ผลการดาเนนิ งานมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ระดับคุณภาพ : ระดับดีเลิศ

ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กพิการท่ียึดผู้เรียน
เป็นสาคัญ เนน้ กจิ กรรมการปฏบิ ตั ทิ ีบ่ ูรณาการ การเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ตรงและการปฏิบัติจริง ซึ่งครูมี
การวเิ คราะห์หลักสูตรสถานศึกษา โดยการใช้แบบประเมินความสามารถพื้นฐาน เพื่อนาไปสู่การจัดทา
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) และแผนการสอนเฉพาะ
บุคคลท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยคานงึ ถงึ ศักยภาพลักษณะและสภาพความพกิ ารความสามารถและความ
ต้องการจาเป็นพิเศษของแต่ละบุคคลวิถีชีวิตของผู้เรียนตามสถานการณ์ปัจจุบัน จึงจาเป็นต้องวางแนว
ทางการจดั การเรยี นการสอนภายใตส้ ถานการณ์วิกฤตโควดิ -19 จึงจัดหารูปแบบและวิธีการเพ่ือสนองต่อ
การเรยี นรู้ของผู้เรยี นดว้ ยการเรียนทางไกลรปู แบบตา่ งๆ โดยการผลิตสอ่ื การสอนonline มีการประดิษฐ์ส่ือ
ทามือ สื่อภูมิปัญญาท้องถ่ิน มีการนาสื่อเทคโนโลยีมาใช้ประกอบสื่อการสอน เช่น ส่ือโปรแกรม
PowerPoint บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เป็นต้น ครูมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ผ่าน
กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และมีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ครูสร้าง
บรรยากาศการเรียนรู้ ความท้าทาย ความสนุกสนานและความเป็นกนั เองในช้นั เรียน วเิ คราะห์สภาพความ
เปน็ อยูข่ องผเู้ รยี นผ่านระบบดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียน ครูรู้จกั ผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการวิเคราะห์การพัฒนา
ผเู้ รยี นรว่ มกนั และมกี ารรายงานผลการพัฒนาผูเ้ รียนเชิงประจกั ษ์ มีการตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการ
จัดการเรียนรอู้ ย่างเปน็ ระบบ ซง่ึ เครื่องมอื ทใี่ ชบ้ าบัดฟื้นฟสู มรรถภาพผเู้ รียนใหเ้ อ้ือต่อการจัดกิจกรรมเรียน
การสอนและส่งเสรมิ ประสบการณ์การเรยี นรสู้ าหรับผู้เรยี นและใหม้ คี วามสอดคล้องกับการพัฒนาศักยภาพ
ผู้เรยี น

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 2563 25

มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายที่ ระดบั คุณภาพ
กาหนดไว้ ร้อยละ ระดับ แปลผล

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั 75 3 ดี

1) จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและ รอ้ ยละ 75 100 4 ดีเลศิ
สามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้ 80 4 ดเี ลศิ
80 4 ดเี ลศิ
2) ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อ ร้อยละ 75
การเรยี นรู้ 75 3 ดี
82 4 ดีเลิศ
3) มกี ารบริหารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก รอ้ ยละ 75

4) ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนา ร้อยละ 75
ผลมาพฒั นาผู้เรยี น

5) มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อ รอ้ ยละ 75
พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้

รวม ร้อยละ 75

จุดเด่น
1. ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั ระนองมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ

โดยการมีส่วนร่วมของผู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง มกี ารตรวจสอบ กากับ นเิ ทศติดตาม ประเมินผล และนาผลมาปรับปรุง
พฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง มกี ารจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ครูมีการพัฒนาตนเอง และมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ
จัดการเรียนรู้ ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นได้รบั การพัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพ

2. ครูมีการจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ให้ผเู้ รยี นสามารถได้ฝกึ ปฏิบตั ิจริงและเป็นไปตามแผนการ
จดั การเรียนรู้ และมีการวัดและประเมนิ ผลผู้เรียนจากการฝึกปฏบิ ตั ทิ ุกครงั้

3. จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศภายในห้องเรียนเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ตรงกับความ
ตอ้ งการจาเปน็ พิเศษของผู้เรียน มสี ือ่ และสิ่งอานวยความสะดวกท่ีพร้อมสาหรับการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน สง่ ผลให้ผูเ้ รยี นมพี ัฒนาการตามศกั ยภาพและเกิดความสุขในการเรยี นรู้

4. มีแผนการจัดการเรยี นรทู้ เี่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญและมีการบริหารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก สง่ เสริม

ใหผ้ เู้ รียนมคี วามกลา้ แสดงออกในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวันและสามารถถา่ ยทอดออกทางการแสดงมากมาย

ผ่านโครงการ TO BE NUMBER ONE IDOL จังหวัดระนอง และเข้าร่วมแข่งขัน โครงการรณรงค์

การปอู งกันความพกิ าร การประกวด “ร้อง เล่น เต้น เพลงพหี่ ัวดี”

5. ครูทุกคนได้เขา้ รว่ มการแลกเปลีย่ นเรียนรเู้ พ่ือสะท้อนปัญหาของผู้เรียนและร่วมกันแก้ไขปัญหา

มีการรว่ มกนั คดิ คน้ และสรา้ งส่อื นวตั กรรมเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาให้กบั ผูเ้ รยี นเป็นไปตามกระบวนการของ

กจิ กรรมการสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี และมกี ารนเิ ทศติดตามจากผบู้ รหิ ารสถานศึกษา

จุดทค่ี วรพฒั นา
ยกระดับระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2563 26

สรปุ ผล และแนวทางการพฒั นา

สรุปผลการประเมนิ ภาพรวมของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ดงั นี้

มาตรฐานการศึกษา ค่าเป้าหมาย ระดับ
ทีก่ าหนด คณุ ภาพ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รยี น
๑.๑ ผลการพัฒนาผูเ้ รียน ดี ดีเลศิ

1) ผ้เู รียนมีพัฒนาการ ที่แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทกั ษะตามท่ี ดีเลิศ ดีเลิศ
ระบุไวใ้ นแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผนการให้บรกิ ารชว่ ยเหลือ
เฉพาะครอบครัว ตามศกั ยภาพ ดี ดีเลิศ

2) ผู้เรียนมีความพร้อมสามารถเขา้ สบู่ ริการช่วงเช่ือมต่อหรือการส่งตอ่ เข้าสู่ ดี ดเี ลศิ
การศึกษาในระดบั ท่สี ูงขึ้น หรอื การอาชีพหรอื การดาเนินชีวติ ในสงั คมได้ตาม
ศกั ยภาพของแต่ละบุคคล
๑.๒ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ของผ้เู รยี น

1) ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีหลักสตู รสถานศกึ ษากาหนด
2) ผูเ้ รียนสามารถเข้ารว่ มกจิ กรรมในท้องถน่ิ หรือแสดงออกทส่ี ง่ เสริมความ
เปน็ ไทยตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มเี ปาู หมายวสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ กลยุทธ์ และเปาู ประสงคท์ ่ีครอบคลุม ชัดเจน
2.2 มีระบบการบรหิ ารจัดการทีด่ ี ผเู้ กย่ี วข้องทกุ ฝาุ ยมสี ่วนร่วมรับผิดชอบตอ่ ผล
การจดั การศกึ ษา
2.3 พัฒนางานวิชาการ ท่ีครอบคลุมทุกประเภทความพกิ ารที่สอดคลอ้ งกบั
หลักสตู ร
2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่ปลอดภยั เอือ้ ต่อการจดั การ
เรยี นรู้ อยา่ งมคี ณุ ภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการ
จดั การเรยี นรู้ใหก้ บั ผู้เรยี น

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสาคญั
3.1 จัดการเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงและสามารถนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตได้
3.2 ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ีเ่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรยี นเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรียน
3.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรูแ้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพือ่ พัฒนาและปรบั ปรุง
การจัดการเรียนรู้

ภาพรวม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 27

สรุปผลการประเมนิ ภาพรวมของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ดเี ลิศ

กาลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม

แนวทางการพัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดับให้สงู ขนึ้
1. ยกระดับระบบดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี น ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ
2. การพฒั นาฐานข้อมลู ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบออนไลน์(e-book) ที่สามารถตอบสนอง

ความต้องการของครูผู้สอน เพื่อลดภาระงานที่ซ้าซ้อน รวมท้ังพัฒนาการสืบค้นข้อมูลย้อนหลังของการ

ปฏิบัตงิ าน โดยการใชเ้ ทคโนโลยที ท่ี ันสมัย รวดเรว็ ซงึ่ สามารถเรียกดขู อ้ มลู และประมวลผลไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
3. ส่งเสริมใหค้ รูมคี วามรู้ ความสามารถการจดั ทาผลงานทางวชิ าการ (Best Practice) ในการ

สง่ ผลงานเขา้ ร่วมประกวดระดับต่างๆ
4. การจดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ทีม่ ีความต้องการจาเป็นพิเศษ ตาม

นโยบายของสงั กดั สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 28

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 29

ภาคผนวก

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 2563 30

ประกาศการกาหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 31

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 32

มาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐานเพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ระนอง

--------------------------------------------------------------

มาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานเพื่อการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาของศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจา
จงั หวดั ระนอง มีจานวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น
๑.๑ ผลการพฒั นาผูเ้ รยี น
๑.๒ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั

มาตรฐานมรี ายละเอียดดงั น้ี
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผ้เู รียน

๑.๑ ผลการพัฒนาผ้เู รียน
1) ผ้เู รยี นมีพฒั นาการ ทแี่ สดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะตามทีร่ ะบไุ วใ้ น

แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล หรือแผนการใหบ้ ริการช่วยเหลอื เฉพาะครอบครวั ตามศักยภาพ
2) มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บรกิ ารชว่ งเชื่อมตอ่ หรือการส่งตอ่ เข้าสู่การศกึ ษาในระดบั

ท่สี ูงขึน้ หรอื การอาชีพหรือการดารงชีวติ ในสงั คมไดต้ ามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล
๑.๒ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผ้เู รียน
1) ผเู้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามที่สตู รสถานศกึ ษากาหนด
2) ผ้เู รยี นสามารถเขา้ รว่ มกิจกรรมในท้องถ่ิน หรอื แสดงออกที่สง่ เสริมความเป็นไทยตาม

ศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มเี ปูาหมายวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ กลยทุ ธ์ และเปาู ประสงค์ที่ครอบคลมุ ชัดเจน
2.2 มรี ะบบการบริหารจัดการที่ดี ผเู้ กีย่ วข้องทุกฝาุ ยมีสว่ นร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจัดการศึกษา
2.3 พัฒนางานวชิ าการ ทค่ี รอบคลมุ ทุกประเภทความพิการทส่ี อดคลอ้ งกบั หลักสตู ร
2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทป่ี ลอดภยั เอื้อตอ่ การจดั การเรยี นรู้ อย่างมีคณุ ภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรใู้ หก้ บั
ผู้เรียน

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ
3.1 จดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้
3.2 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้
3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น
3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพอื่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2563 33

ประกาศการกาหนดคา่ เป้าหมายมาตรฐานการศึกษาขน้ึ พ้นื ฐาน

ของศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดระนอง
เพ่อื การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 34

การกาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดระนอง
ปี 2563

มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา ค่าเป้าหมาย รอ้ ยละ
ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี น ปี ๒๕๖3
๑.๑ ผลการพัฒนาผเู้ รยี น
๑ มพี ฒั นาการตามศักยภาพของแต่ละบคุ คล ทีแ่ สดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ 75 ขึ้นไป
ตามท่ีระบไุ วใ้ นแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการใหบ้ ริการชว่ ยเหลือเฉพาะ
ครอบครวั 75 ขน้ึ ไป
๒ มีความพรอ้ มสามารถเขา้ สบู่ ริการชว่ งเชอ่ื มต่อหรอื การส่งต่อเขา้ สู่การศึกษาในระดบั ที่
สูงขน้ึ หรอื การอาชพี หรือการดาเนนิ ชวี ิตในสังคมไดต้ ามศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล 75 ขึน้ ไป
๑.๒ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น 75 ขึ้นไป
1.มคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงคต์ ามทส่ี ถานศึกษากาหนด
2.มีความภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเป็นไทย ตามศักยภาพของผูเ้ รยี นแต่ละบคุ คล ดี

ระดบั คณุ ภาพ ระดบั 4
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การของผ้บู ริหารสถานศึกษา ระดบั 4
1.มีเปูาหมาย วิสัยทศั น์ และพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนดชัดเจน ระดับ 4
2.มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ระดบั 4
3. ดาเนินงานพัฒนาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพของผ้เู รยี นรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั 4
และ ทกุ กล่มุ เปาู หมาย ระดบั 4
4.พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี ดีเลศิ
5.จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้ือต่อการจดั การเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ
6.จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้ 75 ขน้ึ ไป
75 ข้นึ ไป
ระดบั คณุ ภาพ 75 ขึน้ ไป
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั 75 ขนึ้ ไป
1.จดั การเรยี นรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้ 75 ขน้ึ ไป
2.ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู เี่ อื้อตอ่ การเรียนรู้
3.มกี ารบริหารจดั การชัน้ เรียนเชงิ บวก ดี
4.ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผูเ้ รียน ดี
5.มีการแลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการ
เรยี นรู้

ระดับคณุ ภาพ
โดยภาพรวม 3 มาตรฐาน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 35

การกาหนดค่าเปา้ หมายของศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั ระนอง

1. ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการดาเนนิ งานในรอบปที ี่ผ่านมา และผลการประเมินต่าง ๆ เพ่อื เปน็
ฐานข้อมูลในการกาหนดคา่ เปาู หมาย

2. การกาหนดคา่ เปูาหมายแต่ละมาตรฐาน กาหนดเปน็ เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ 5 ระดบั เพอ่ื ให้
สอดคล้องกับการประเมินระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ดงั นี้

4.50-5.00 หมายถงึ ตารางเทียบเคียง
3.50-4.49 หมายถงึ
2.50-3.49 หมายถึง ยอดเยี่ยม (มผี ลการปฏบิ ัติร้อยละ 90 ขึ้นไป)
ดีเลศิ (มีผลการปฏบิ ตั ริ อ้ ยละ 80-89)
1.50-2.49 หมายถึง ดี (มีผลการปฏบิ ตั ริ ้อยละ 70-79)
0.00-1.49 หมายถงึ
ปานกลาง (มีผลการปฏบิ ตั ริ ้อยละ 60-69)
กาลังพัฒนา (มีผลการปฏิบัติต่ากวา่ ร้อยละ 60)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 36

แต่งตั้งคณะทางานดาเนินการงานประกนั คุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 37

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 38

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 39

คาส่งั แตง่ ตง้ั คณะกรรม
การจัดทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 40

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2563 41

รายช่ือคณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษา
ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั ระนอง ปีการศึกษา 2563

คณะกรรมการอานวยการ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา ประธานกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๑.นายนติ ย์ อ่ยุ เตก็ เคง่ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการ
๒.นายณัฐพงศ์ บารงุ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ
3.นางสุธาทิพย์ จูงศิริ
4.นายพูนศักด์ิ จนิ าเหตุ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ
5.นายมนสั ลักขาพรม ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร
6.นายบัญชา เกตุแก้ว ประจาจงั หวดั ระนอง

คณะกรรมการดาเนินงาน ครู คศ.๒ กรรมการ
นางสาวขวัญเดอื น ชยุติ ครู คศ.1 กรรมการ
นายเอกสิทธ์ิ ใจดี
ครู คศ.1 กรรมการ
นางสาวกลั ยารตั น์ นยิ มไทย ครู คศ.1 กรรมการ
นายนฐั การ อปุ มัย ครูผู้ชว่ ย กรรมการ
นางสาวร่งุ นภา โพธิ ครผู ชู้ ่วย กรรมการ
นางสาวรัตนาภรณ์ หาญพรม ครผู ู้ช่วย กรรมการ
นางสาวพัชรียา ปาระมี
ครผู ู้ช่วย กรรมการ
นายประสทิ ธ์ิ ผมไผ ครูผู้สอน กรรมการ
นางสาวฤดี บัวหลวง ครผู ู้สอน กรรมการ
นายมวลชน มงุ คุณ ครผู ู้สอน กรรมการ
นางสาวกมลวรรณ พรมสะอาด ครูผสู้ อน กรรมการ
นางสาวนฐั ฐากร ตาสีแดง
ครูผู้สอน กรรมการ
นางสาวอสิ รยิ า สุทธพิ ันธ์ ครูผสู้ อน กรรมการ
นางสาวชัญญานุช สวุ รรณนติ ย์ ครผู สู้ อน กรรมการ
นายมานพ สรวิทยศ์ ริ ิกลุ ครูผ้สู อน กรรมการ
นางสาวรัตตกิ าล ชว่ ยเชดิ ครผู สู้ อน กรรมการ
นางสาวธารินี ฐติ ินนั ท์
ครูผู้สอน กรรมการ
นางสาวปทมุ มา จรรยา ครูผสู้ อน กรรมการ
นายไกรสร ยโุ ซะ พนักงานธรุ การ กรรมการ
นางสาวนฐั ตยา นาวาลอ่ ง ครู คศ.1 กรรมการและเลขานกุ าร
นางสาวสราวดี สขุ หมื่น

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2563 42


Click to View FlipBook Version